SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
ถอดความจากการนําเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสําเร็จ" จัดโดยโครงการ
คลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 14 กรกฎาคม 2558 เวลา 15.00 – 18.00 น. ณ
ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ
มูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
นายอิศรา เหลาธรรมทัศน
ผูชวยวิจัยสาขาวิชา CIRCADIAN
BIOLOGY,UNIVERSITY OF TEXAS
เมื่อกล่าวถึงการเรียนวิทยาศาสตร์ อาจเป็นเรื่องที่ยากสําหรับเด็กไทยหลายคน แต่ในอีก
แง่มุมหนึ่งก็มีเด็กไทยจํานวนไม่น้อยที่เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างสนุกและสร้างสรรค์จนประสบ
ความสําเร็จในการเรียนและการประกอบอาชีพได้ อิศรา เหล่าธรรมทัศน์ เป็นตัวอย่างของ
นักเรียนไทยที่ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ในต่างประเทศและมีโอกาสได้ร่วมงานกับ
นักวิทยาศาสตร์ระดับโลก ซึ่งประสบการณ์ด้านการเรียนและการทํางานของอิศราเป็นประโยชน์
อย่างยิ่งต่อการนํามาทบทวนระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยให้พัฒนาไป
ในทางที่ดีขึ้น อีกทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยอิศราก็ยังมีประโยชน์ต่อการพัฒนาด้าน
วิทยาศาสตร์สาธารณสุขในประเทศไทยด้วยเช่นกัน
1
นาฬิกาชีวิต
อิศรา เหล่าธรรมทัศน์ เป็นนักศึกษาไทยอีกหนึ่งคนที่ได้ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ตลอดทั้งยังมีโอกาสได้ร่วมงานด้านการทําวิจัยกับ Prof. Carla Green ซึ่งเป็นนักวิจัยด้าน
วิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในระดับโลกอีกด้วยและปัจจุบันกําลังศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกในสาขา
ประสาทวิทยา (Neuroscience) ที่มหาวิทยาลัยเท็กซัส (University of Texas) โดยมีความสนใจศึกษา
และทําวิจัยในหัวข้อนาฬิกาชีวิต (Circadian Biology) 
ผลงานการศึกษาวิจัยเรื่องนาฬิกาชีวิต (Circadian Biology)
ผลงานวิจัยของคุณอิศราเป็นการศึกษาว่าด้วยเรื่องนาฬิกาชีวิตซึ่งมีลักษณะเป็นระบบในสิ่งมีชีวิต
โดยเฉพาะมนุษย์ที่มีจังหวะเวลาในหนึ่งวัน โดยการวิเคราะห์นาฬิกาชีวิตประกอบไปด้วย 3 เกณฑ์หลัก คือ
1. จังหวะเวลาชีวิตภายในร่างกายของมนุษย์แต่ละคนมีระยะเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง
2. จังหวะเวลาชีวิตได้รับอิทธิพลหรือมีความเกี่ยวข้องกับเวลาตามธรรมชาติ
3. ระบบเวลาในร่างกายมนุษย์สามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้
ทั้งนี้ กระบวนการทดสอบในประเด็นดังกล่าวทําได้โดยกําหนดให้หนูทดลองอยู่ในห้องมืดที่มีการเปิด-ปิด
ไฟทุกๆ 12 ชั่วโมลักษณะเดียวกันกับเวลากลางวันและกลางคืน พบว่าหนูจะออกมาวิ่งช่วงที่ปิดไฟในเวลาเดิม
ซํ้าๆ ทุกวัน แต่เมื่อทดลองเปลี่ยนมาปิดไฟไว้ตลอดทั้งวันทั้งคืน ปรากฏว่าหนูมีจังหวะการวิ่งในเวลาที่ต่างไป
จากเดิมเรื่อยๆ ผลการทดลองดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่านาฬิกาภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีความเชื่อมโยงกับ
เวลาตามธรรมชาติและสภาพแวดล้อม
การศึกษาเรื่องนาฬิกาชีวิตมีประโยชน์อย่างมากต่อการพัฒนาให้เกิดภาวะสุขภาพที่ดีของมนุษย์
โดยเฉพาะเรื่องการพักผ่อน ซึ่งทําให้ทราบว่าการนอนในช่วงเวลาที่ต่างกันมีผลต่อร่างกายที่แตกต่างกัน โดย
ร่างกายจะสมดุลเมื่อมนุษย์ใช้เวลาในการพักผ่อนสอดคล้องกับเวลาตามนาฬิกาธรรมชาติ
ความสําคัญของนาฬิกาชีวิตที่มีต่อมนุษย์
สาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําให้มนุษย์ต้องมีนาฬิกาชีวิตก็เพื่อคาดการณ์ว่าในอนาคตอันใกล้จะเกิด
เหตุการณ์ใดขึ้นเพื่อที่จะได้วางแผนการกระทํา (Anticipate) ได้อย่างเหมาะสม เช่น ก่อนจะตื่นนอน ร่างกาย
มนุษย์ก็มีการเตรียมตัวและปรับสมดุลต่างๆ เพื่อให้พร้อมต่อการใช้ชีวิตในวันใหม่ เป็นต้น ซึ่งข้อค้นพบจากการ
ทดลองทําให้เชื่อได้ว่านาฬิกาชีวิตของมนุษย์อยู่ในจุด Suprachiasmatic nucleus (SCN) ที่อยู่บริเวณด้านบน
เส้นประสาทตาโดยเซลล์ของ SCN มีจํานวนมากถึง 20,000 ตัว และยังมีบทบาทสําคัญต่อการแสดงพฤติกรรม
ของมนุษย์ในแต่ละวัน หรืออาจกล่าวได้ว่าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเรื่องนาฬิกาชีวิตทําให้ทราบถึงความสัมพันธ์
ระหว่างปฏิกิริยาในร่างกายมนุษย์กับช่วงเวลาของนาฬิกาธรรมชาติเฉลี่ยใน 1 วัน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมาก
ต่อการพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาวะและสาธารณสุข(ดังรูปที่1)
 
2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
2
มุมมองและประสบการณการคนควาวิจัยเรื่องนาฬิกาชีวิต (Circadian Biology):
โดย นาย อิศรา เหลาธรรมทัศน
รูปที่ 1 นาฬิกาชีวิต
ช่วงเวลา ปฏิกิริยาในร่างกายมนุษย์
6.45 น. เป็นช่วงเวลาที่ความดันโลหิตพุ่งสูงที่สุด จึงเป็นเหตุให้มีคนจํานวนมากที่เสียชีวิตใน
ช่วงเวลาดังกล่าวเนื่องจากเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวจากความดันโลหิตที่เพิ่มสูงอย่างรวดเร็ว
10.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายตื่นตัวมากที่สุด
14.30 น. เป็นช่วงเวลาที่อวัยวะต่างๆ ในร่างกายสามารถทํางานประสานกันได้ดีที่สุด
15.30 น. เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายสามารถตอบสนองต่อปัจจัยภายนอกได้รวดเร็วที่สุด
17.00 น. เป็นช่วงเวลาที่การทํางานของระบบหัวใจและหลอดเลือดมีประสิทธิภาพ รวมถึงกล้ามเนื้อมี
ความแข็งแรง จึงเป็นช่วงเวลาที่เหมาะต่อการออกกําลังกาย
21.00 น. เป็นช่วงเวลาที่สารเมลาโทนิน (Melatonin) ซึ่งเป็นสารเหนี่ยวนําให้เกิดการนอนหลับเริ่ม
ทํางาน
22.30 น. เป็นช่วงเวลาที่กลไกการย่อยอาหารเริ่มหยุดทํางาน จึงไม่ควรรับประทานอาหารเข้าไป
เพิ่มเติม
2.00 น. เป็นช่วงเวลาที่นอนหลับลึกที่สุด
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
3
ทั้งนี้ปัจจุบันมนุษย์มีวิถีการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปและหลากหลายมากขึ้น เช่น การนอนดึกหรือการ
ประกอบอาชีพที่ต้องทํางานในเวลากลางคืน จึงอาจส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาในร่างกาย
มนุษย์กับช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงไปและอาจคลาดเคลื่อนไปจากค่าเฉลี่ยวงจรความสัมพันธ์ดังกล่าว
ดังนั้น มนุษย์จะมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงได้ ส่วนหนึ่งคือต้องเริ่มจากการปรับนาฬิกาชีวิตภายใน
ร่างกายของตนเองให้สอดคล้องและใกล้เคียงกับนาฬิกาตามธรรมชาติซึ่งปัจจุบันนักวิจัยใน
สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ ได้ให้ความสําคัญกับการศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังเพื่อนําไปสู่การพัฒนา
องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สาธารณสุขต่อไปในอนาคต แต่ทว่าการศึกษาเรื่องนาฬิกาชีวิตในประเทศ
ไทยที่ผ่านมายังอยู่ในวงจํากัดและส่วนใหญ่จะศึกษาด้วยวิธีการสังเกตมากกว่าการทําวิจัยเพื่อหา
ข้อสรุปอย่างเป็นระบบ จึงทําศาสตร์ด้านนาฬิกาชีวิตในประเทศไทยยังไม่เป็นที่รู้จักและได้รับการ
ยอมรับอย่างแพร่หลายมากนัก
บทส่งท้าย
ความสําเร็จรวมถึงประสบการณ์ในการเรียนและการคลุกคลีอยู่ในแวดวงวิทยาศาสตร์ระดับโลก
ของทั้งอิศรา เหล่าธรรมทัศน์เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าเด็กไทยก็สามารถพัฒนาตนเองจนเก่งและเชี่ยวชาญ
ในด้านวิทยาศาสตร์ได้หากได้รับการปลูกฝังระบบการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ซึ่งหากมองย้อนกลับมาที่
ประเทศไทยจะพบว่าระบบการศึกษายังไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างแท้จริง
อีกทั้งการเรียนยังคงยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลาง จึงทําให้ยังมีเด็กไทยจํานวนมากที่ไม่สามารถเรียน
วิทยาศาสตร์ได้ดีและยังรู้สึกว่าเป็นวิชาที่ยาก ดังนั้น การปฏิรูปเชิงนโยบายให้ระบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เป็นกระบวนการที่สนุกและสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรหันมาให้ความสําคัญเพื่อ
ส่งเสริมให้เด็กไทยพัฒนาสู่การเป็นบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ที่มีศักยภาพ
4
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5
ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์
ผู้ประสานงาน: น.ส. อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
ปีที่พิมพ์: ตุลาคม 2558
สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้ข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน:
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ , ศ.พญ.จิราพร เหล่าธรรมทัศน์ , คุณอินทิรา เหล่าธรรม
ทัศน์ , คุณอิศรา เหล่าธรรมทัศน์, รศ.ดร.จํานง สรพิพัฒน์, อ.ทนงศักดิ์วิกุล,
คุณวรวรรณ อาภารัตน์,คุณ สุทธิดา วงศ์เธียรชัย, คุณ นิธิชัย คาดการณ์ไกล
คุณ ธนพล พงศ์สุวโรจน์
5

Contenu connexe

En vedette

Correcció examen 3r a rectes i paràboles
Correcció examen 3r a rectes i paràbolesCorrecció examen 3r a rectes i paràboles
Correcció examen 3r a rectes i paràbolesSpeire
 
Apariencia extraterrestre
Apariencia extraterrestreApariencia extraterrestre
Apariencia extraterrestresajucelo
 
Plan de area diseño grafico
Plan de area diseño graficoPlan de area diseño grafico
Plan de area diseño graficoDuvier Alvarez
 
Atividade [desbravadores] ecologia
Atividade [desbravadores] ecologiaAtividade [desbravadores] ecologia
Atividade [desbravadores] ecologiaRonaldo Santana
 
Examen primer grado
Examen primer gradoExamen primer grado
Examen primer gradojisahh
 
Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura
Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura
Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura Débora Cseri
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อWisan Butsaman
 
Mahesh Dikit CV_INFRA
Mahesh Dikit CV_INFRAMahesh Dikit CV_INFRA
Mahesh Dikit CV_INFRAmahesh Dikit
 
Especialidade [Desbravadores] felinos
Especialidade [Desbravadores] felinosEspecialidade [Desbravadores] felinos
Especialidade [Desbravadores] felinosRonaldo Santana
 

En vedette (12)

Correcció examen 3r a rectes i paràboles
Correcció examen 3r a rectes i paràbolesCorrecció examen 3r a rectes i paràboles
Correcció examen 3r a rectes i paràboles
 
Aritmética: Orden de las Operaciones
Aritmética: Orden de las OperacionesAritmética: Orden de las Operaciones
Aritmética: Orden de las Operaciones
 
MSUIIT
MSUIITMSUIIT
MSUIIT
 
Apariencia extraterrestre
Apariencia extraterrestreApariencia extraterrestre
Apariencia extraterrestre
 
Plan de area diseño grafico
Plan de area diseño graficoPlan de area diseño grafico
Plan de area diseño grafico
 
Las verduras
Las verdurasLas verduras
Las verduras
 
Atividade [desbravadores] ecologia
Atividade [desbravadores] ecologiaAtividade [desbravadores] ecologia
Atividade [desbravadores] ecologia
 
Examen primer grado
Examen primer gradoExamen primer grado
Examen primer grado
 
Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura
Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura
Definições de Tipos de Fios e Linhas para Costura
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Mahesh Dikit CV_INFRA
Mahesh Dikit CV_INFRAMahesh Dikit CV_INFRA
Mahesh Dikit CV_INFRA
 
Especialidade [Desbravadores] felinos
Especialidade [Desbravadores] felinosEspecialidade [Desbravadores] felinos
Especialidade [Desbravadores] felinos
 

Similaire à นาฬิกาชีวิต

การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายKlangpanya
 
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตวิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตKlangpanya
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพAobinta In
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มZomza Sirada
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรSarawuth Noliam
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e newsshm-nstda
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75Mr-Dusit Kreachai
 

Similaire à นาฬิกาชีวิต (20)

การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
 
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิตวิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
วิจัยทางการแพทย์และนาฬิกาชีวิต
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
V 285
V 285V 285
V 285
 
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2561
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2559 (ฉบับที่ 19)
 
V 269
V 269V 269
V 269
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2559
 
V 287
V 287V 287
V 287
 
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม 2556
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม 2556ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม 2556
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม 2556
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพ
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้ม
 
Collaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชรCollaboration travelmed ณ ทชร
Collaboration travelmed ณ ทชร
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e news
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75ยางนาสาร-ฉบับที่-75
ยางนาสาร-ฉบับที่-75
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

นาฬิกาชีวิต

  • 1. ถอดความจากการนําเสนอในที่ประชุมเวทีวิชาการ เรื่อง "เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์ระดับโลก: โอกาสและความสําเร็จ" จัดโดยโครงการ คลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เมื่อวันอังคารที่ 14 กรกฎาคม 2558 เวลา 15.00 – 18.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และ มูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต นายอิศรา เหลาธรรมทัศน ผูชวยวิจัยสาขาวิชา CIRCADIAN BIOLOGY,UNIVERSITY OF TEXAS เมื่อกล่าวถึงการเรียนวิทยาศาสตร์ อาจเป็นเรื่องที่ยากสําหรับเด็กไทยหลายคน แต่ในอีก แง่มุมหนึ่งก็มีเด็กไทยจํานวนไม่น้อยที่เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างสนุกและสร้างสรรค์จนประสบ ความสําเร็จในการเรียนและการประกอบอาชีพได้ อิศรา เหล่าธรรมทัศน์ เป็นตัวอย่างของ นักเรียนไทยที่ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ในต่างประเทศและมีโอกาสได้ร่วมงานกับ นักวิทยาศาสตร์ระดับโลก ซึ่งประสบการณ์ด้านการเรียนและการทํางานของอิศราเป็นประโยชน์ อย่างยิ่งต่อการนํามาทบทวนระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยให้พัฒนาไป ในทางที่ดีขึ้น อีกทั้งองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัยอิศราก็ยังมีประโยชน์ต่อการพัฒนาด้าน วิทยาศาสตร์สาธารณสุขในประเทศไทยด้วยเช่นกัน 1 นาฬิกาชีวิต
  • 2. อิศรา เหล่าธรรมทัศน์ เป็นนักศึกษาไทยอีกหนึ่งคนที่ได้ไปศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศ สหรัฐอเมริกา ตลอดทั้งยังมีโอกาสได้ร่วมงานด้านการทําวิจัยกับ Prof. Carla Green ซึ่งเป็นนักวิจัยด้าน วิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในระดับโลกอีกด้วยและปัจจุบันกําลังศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกในสาขา ประสาทวิทยา (Neuroscience) ที่มหาวิทยาลัยเท็กซัส (University of Texas) โดยมีความสนใจศึกษา และทําวิจัยในหัวข้อนาฬิกาชีวิต (Circadian Biology)  ผลงานการศึกษาวิจัยเรื่องนาฬิกาชีวิต (Circadian Biology) ผลงานวิจัยของคุณอิศราเป็นการศึกษาว่าด้วยเรื่องนาฬิกาชีวิตซึ่งมีลักษณะเป็นระบบในสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะมนุษย์ที่มีจังหวะเวลาในหนึ่งวัน โดยการวิเคราะห์นาฬิกาชีวิตประกอบไปด้วย 3 เกณฑ์หลัก คือ 1. จังหวะเวลาชีวิตภายในร่างกายของมนุษย์แต่ละคนมีระยะเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง 2. จังหวะเวลาชีวิตได้รับอิทธิพลหรือมีความเกี่ยวข้องกับเวลาตามธรรมชาติ 3. ระบบเวลาในร่างกายมนุษย์สามารถทนต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิได้ ทั้งนี้ กระบวนการทดสอบในประเด็นดังกล่าวทําได้โดยกําหนดให้หนูทดลองอยู่ในห้องมืดที่มีการเปิด-ปิด ไฟทุกๆ 12 ชั่วโมลักษณะเดียวกันกับเวลากลางวันและกลางคืน พบว่าหนูจะออกมาวิ่งช่วงที่ปิดไฟในเวลาเดิม ซํ้าๆ ทุกวัน แต่เมื่อทดลองเปลี่ยนมาปิดไฟไว้ตลอดทั้งวันทั้งคืน ปรากฏว่าหนูมีจังหวะการวิ่งในเวลาที่ต่างไป จากเดิมเรื่อยๆ ผลการทดลองดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่านาฬิกาภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีความเชื่อมโยงกับ เวลาตามธรรมชาติและสภาพแวดล้อม การศึกษาเรื่องนาฬิกาชีวิตมีประโยชน์อย่างมากต่อการพัฒนาให้เกิดภาวะสุขภาพที่ดีของมนุษย์ โดยเฉพาะเรื่องการพักผ่อน ซึ่งทําให้ทราบว่าการนอนในช่วงเวลาที่ต่างกันมีผลต่อร่างกายที่แตกต่างกัน โดย ร่างกายจะสมดุลเมื่อมนุษย์ใช้เวลาในการพักผ่อนสอดคล้องกับเวลาตามนาฬิกาธรรมชาติ ความสําคัญของนาฬิกาชีวิตที่มีต่อมนุษย์ สาเหตุสําคัญที่สุดที่ทําให้มนุษย์ต้องมีนาฬิกาชีวิตก็เพื่อคาดการณ์ว่าในอนาคตอันใกล้จะเกิด เหตุการณ์ใดขึ้นเพื่อที่จะได้วางแผนการกระทํา (Anticipate) ได้อย่างเหมาะสม เช่น ก่อนจะตื่นนอน ร่างกาย มนุษย์ก็มีการเตรียมตัวและปรับสมดุลต่างๆ เพื่อให้พร้อมต่อการใช้ชีวิตในวันใหม่ เป็นต้น ซึ่งข้อค้นพบจากการ ทดลองทําให้เชื่อได้ว่านาฬิกาชีวิตของมนุษย์อยู่ในจุด Suprachiasmatic nucleus (SCN) ที่อยู่บริเวณด้านบน เส้นประสาทตาโดยเซลล์ของ SCN มีจํานวนมากถึง 20,000 ตัว และยังมีบทบาทสําคัญต่อการแสดงพฤติกรรม ของมนุษย์ในแต่ละวัน หรืออาจกล่าวได้ว่าข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเรื่องนาฬิกาชีวิตทําให้ทราบถึงความสัมพันธ์ ระหว่างปฏิกิริยาในร่างกายมนุษย์กับช่วงเวลาของนาฬิกาธรรมชาติเฉลี่ยใน 1 วัน ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมาก ต่อการพัฒนาองค์ความรู้ด้านสุขภาวะและสาธารณสุข(ดังรูปที่1)   2โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 มุมมองและประสบการณการคนควาวิจัยเรื่องนาฬิกาชีวิต (Circadian Biology): โดย นาย อิศรา เหลาธรรมทัศน
  • 3. รูปที่ 1 นาฬิกาชีวิต ช่วงเวลา ปฏิกิริยาในร่างกายมนุษย์ 6.45 น. เป็นช่วงเวลาที่ความดันโลหิตพุ่งสูงที่สุด จึงเป็นเหตุให้มีคนจํานวนมากที่เสียชีวิตใน ช่วงเวลาดังกล่าวเนื่องจากเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวจากความดันโลหิตที่เพิ่มสูงอย่างรวดเร็ว 10.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายตื่นตัวมากที่สุด 14.30 น. เป็นช่วงเวลาที่อวัยวะต่างๆ ในร่างกายสามารถทํางานประสานกันได้ดีที่สุด 15.30 น. เป็นช่วงเวลาที่ร่างกายสามารถตอบสนองต่อปัจจัยภายนอกได้รวดเร็วที่สุด 17.00 น. เป็นช่วงเวลาที่การทํางานของระบบหัวใจและหลอดเลือดมีประสิทธิภาพ รวมถึงกล้ามเนื้อมี ความแข็งแรง จึงเป็นช่วงเวลาที่เหมาะต่อการออกกําลังกาย 21.00 น. เป็นช่วงเวลาที่สารเมลาโทนิน (Melatonin) ซึ่งเป็นสารเหนี่ยวนําให้เกิดการนอนหลับเริ่ม ทํางาน 22.30 น. เป็นช่วงเวลาที่กลไกการย่อยอาหารเริ่มหยุดทํางาน จึงไม่ควรรับประทานอาหารเข้าไป เพิ่มเติม 2.00 น. เป็นช่วงเวลาที่นอนหลับลึกที่สุด โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
  • 4. ทั้งนี้ปัจจุบันมนุษย์มีวิถีการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปและหลากหลายมากขึ้น เช่น การนอนดึกหรือการ ประกอบอาชีพที่ต้องทํางานในเวลากลางคืน จึงอาจส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างปฏิกิริยาในร่างกาย มนุษย์กับช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงไปและอาจคลาดเคลื่อนไปจากค่าเฉลี่ยวงจรความสัมพันธ์ดังกล่าว ดังนั้น มนุษย์จะมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงได้ ส่วนหนึ่งคือต้องเริ่มจากการปรับนาฬิกาชีวิตภายใน ร่างกายของตนเองให้สอดคล้องและใกล้เคียงกับนาฬิกาตามธรรมชาติซึ่งปัจจุบันนักวิจัยใน สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ ได้ให้ความสําคัญกับการศึกษาเรื่องนี้อย่างจริงจังเพื่อนําไปสู่การพัฒนา องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์สาธารณสุขต่อไปในอนาคต แต่ทว่าการศึกษาเรื่องนาฬิกาชีวิตในประเทศ ไทยที่ผ่านมายังอยู่ในวงจํากัดและส่วนใหญ่จะศึกษาด้วยวิธีการสังเกตมากกว่าการทําวิจัยเพื่อหา ข้อสรุปอย่างเป็นระบบ จึงทําศาสตร์ด้านนาฬิกาชีวิตในประเทศไทยยังไม่เป็นที่รู้จักและได้รับการ ยอมรับอย่างแพร่หลายมากนัก บทส่งท้าย ความสําเร็จรวมถึงประสบการณ์ในการเรียนและการคลุกคลีอยู่ในแวดวงวิทยาศาสตร์ระดับโลก ของทั้งอิศรา เหล่าธรรมทัศน์เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าเด็กไทยก็สามารถพัฒนาตนเองจนเก่งและเชี่ยวชาญ ในด้านวิทยาศาสตร์ได้หากได้รับการปลูกฝังระบบการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ซึ่งหากมองย้อนกลับมาที่ ประเทศไทยจะพบว่าระบบการศึกษายังไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างแท้จริง อีกทั้งการเรียนยังคงยึดผู้สอนเป็นศูนย์กลาง จึงทําให้ยังมีเด็กไทยจํานวนมากที่ไม่สามารถเรียน วิทยาศาสตร์ได้ดีและยังรู้สึกว่าเป็นวิชาที่ยาก ดังนั้น การปฏิรูปเชิงนโยบายให้ระบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการที่สนุกและสร้างสรรค์จึงเป็นสิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรหันมาให้ความสําคัญเพื่อ ส่งเสริมให้เด็กไทยพัฒนาสู่การเป็นบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ที่มีศักยภาพ 4 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
  • 5.                   5 ผู้อํานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ประสานงาน: น.ส. อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล ปีที่พิมพ์: ตุลาคม 2558 สํานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 52/347 พหลโยธิน 87 ตําบลหลักหก อําเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064 โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้ข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน: ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ , ศ.พญ.จิราพร เหล่าธรรมทัศน์ , คุณอินทิรา เหล่าธรรม ทัศน์ , คุณอิศรา เหล่าธรรมทัศน์, รศ.ดร.จํานง สรพิพัฒน์, อ.ทนงศักดิ์วิกุล, คุณวรวรรณ อาภารัตน์,คุณ สุทธิดา วงศ์เธียรชัย, คุณ นิธิชัย คาดการณ์ไกล คุณ ธนพล พงศ์สุวโรจน์ 5