SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
—
เอเชียปงาด
ปัญหายาราคาแพง
ตะวันออกกลางปั่นป่วน
อันดับ THINK TANK โลก 2015
—
อาหารจากจีน
ความกังวลของผู้บริโภค
PhotoCredit:http://www.bbcgoodfood.com/recipes/1361633/
ปีที่ 2 ฉบับที่ 4
พฤษภาคม 2559
CHATHAM HOUSE
โรคอ้วนในเด็ก:
สัญญาณเตือนของความมั่นคงด้านสุขภาพระดับสากล
JAPAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS
การทูตญี่ปุ่นในยุคแห่งอินโด-แปซิฟิก
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ปริทัศน์งานวิจัยคลังปัญญา (ตอนที่ 1)
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
สวัสดีเดือนพฤษภาคมค่ะ เดือนนี้เป็นเดือนที่ร้อนเป็นประวัติการณ์สาหรับประเทศไทย บางที่
อุณหภูมิขึ้นสูงถึง 45 องศาเซลเซียสในช่วงกลางวัน รู้สึกได้ชัดเจนว่าปีนี้ร้อนขึ้นอย่างมากจริงๆ ทา
ให้รู้สึกถึงผลกระทบของ “ภาวะโลกร้อน” จากที่พูดกันในเชิงทฤษฎีมานาน เวลานี้เกิดขึ้นแล้วกับตัว
เรา บ้านเมืองของเรา และโลกของเรา ดังนั้น เวลานี้ปัญหาเรื่องโลกร้อนจึงเป็นสิ่งที่นานาชาติต้อง
ร่วมกันแก้ไข เพราะเป็นปัญหาที่เชื่อมถึงกัน ต่างคนต่างแก้ไม่ได้ ต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา
เช่นเดียวกับปัญหาโรคอ้วนในเด็ก ที่พบว่าทุกวันนี้โรคอ้วนในเด็กไม่ได้เป็นปัญหาของ
ประเทศพัฒนาแล้วอย่างเดียว แต่ประเทศกาลังพัฒนาก็ประสบปัญหาดังกล่าวแล้วเช่นกัน เนื่องจาก
กระบวนการผลิตอาหารในโลกที่เชื่อมโยงใยกันทั่วโลก ดังนั้นนานาชาติต้องร่วมมือกันแก้ไข ติดตาม
รายละเอียดเพิ่มเติมได้ในหมวดประเด็นสุขภาวะสากลซึ่งเป็นหมวดแรกของ World Think Tank
Monitor ฉบับที่ 11 นี้ ขณะที่ในหมวดที่สองยังคงเกาะติดสนามการเมืองของชาติต่างๆบนโลก
ใบนี้ ชาติใดจะขึ้น ชาติใดจะลง ใครจะแข่งกับใครในเรื่องอะไร ภายใต้กรอบใหญ่ของการจัดตัวใหม่
ของดุลอานาจโลกที่เบี่ยงตะวันออกมากขึ้น
อนึ่ง สถาบันคลังปัญญายินดีอย่างยิ่งที่จะรับความคิดเห็น คาแนะนา รวมทั้งการแบ่งปัน
ความรู้จากท่านผู้อ่านทั้งหลายผ่านทุกช่องทางของสถาบัน ทั้งในช่องความเห็นของโพสต์ต่างๆของ
เราใน Slideshare และบน Facebook Page “สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ” ค่ะ
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
 CHATHAM HOUSE โรคอ้วนในเด็ก: สัญญาณเตือนของความมั่นคง 1
ด้านสุขภาพระดับสากล
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
 BROOKINGS ผลกระทบจากความปลอดภัยด้านอาหารของจีนต่อความมั่นคง 3
ทางเศรษฐกิจของจีนและเศรษฐกิจโลก
 RAND การลดความอับอายและการเลือกปฏิบัติในผู้ป่วยทางจิตช่วยให้เกิดประโยชน์ 5
ทางเศรษฐกิจของรัฐ : กรณีศึกษารัฐแคลิฟอร์เนีย
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
 JAPAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS การทูตญี่ปุ่นในยุคแห่งอินโด-แปซิฟิก 7
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
 BROOKINGS DOHA CENTER “วัฒนธรรม” กับการต่างประเทศของอินเดีย 9
ต่อตะวันออกกลาง
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
เวทีนักวิจัยคลังปัญญา: การนาเสนอร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 12
ปริทัศน์งานวิจัยคลังปัญญา (ตอนที่ 1) 13
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHAM HOUSE
เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
โรคอ้วนในเด็ก: สัญญาณเตือนของความมั่นคงด้านสุขภาพระดับสากล
Photo by Getty Images
ความก้าวหน้าของกระแสโลกาภิวัตน์และพัฒนาการด้านรายได้และวิถีชีวิตของผู้คน ล้วน
เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้พฤติกรรมการบริโภคของประชากรทั่วโลกเปลี่ยนไป จึงไม่ใช่เรื่องแปลก หากจะ
พบว่า หลายต่อหลายประเทศมีประชากรที่ประสบภาวะน้าหนักเกินมาตรฐานอยู่เป็นจานวน
มาก โดยเฉพาะประชากรเด็ก ปัญหาด้านสุขภาพว่าด้วยโรคอ้วนที่เพิ่มขึ้นนี้จึงกลายเป็นวาระ
เร่งด่วนที่รัฐบาลทุกประเทศต้องรีบแก้ไข ทั้งนี้ เนื่องจากโรคอ้วนไม่ได้เป็นเพียงปัญหาของบุคคลใด
บุคคลหนึ่งเท่านั้น แต่ยังมีผลกระทบต่อระบบสาธารณสุขรวมไปถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจใน
ภาพรวมด้วย การแก้ปัญหาให้เกิดประสิทธิผลจึงจาเป็นต้องอาศัยการดาเนินงานแบบบูรณาการจาก
ทุกภาคส่วนตั้งแต่หน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานด้านเศรษฐกิจ ชุมชน ไปจนถึงความร่วมมือ
ในระดับระหว่างประเทศ
สถานการณ์เกี่ยวกับภาวะโรคอ้วน
ข้อมูลจากเอกสารวิชาการจานวนมากยืนยันว่าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โรคอ้วนกลายเป็นสาเหตุ
สาคัญที่ทาให้คนทั่วโลกมีอายุขัยเฉลี่ยสั้นลง ทั้งนี้ เนื่องด้วยการป่วยเป็นโรคร้ายแรง ไม่ว่าจะเป็น
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โรคเบาหวาน โรคหัวใจ รวมไปถึงโรคมะเร็งชนิดต่างๆ มักจะมีจุดเริ่มต้นมาจากการเป็นโรคอ้วนก่อน
สาหรับสาเหตุหลักที่ทาให้ประชากรทั่วโลกเป็นโรคอ้วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้นเป็นผลพวง
มาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 ซึ่งทาให้วัฒนธรรมนิยมการบริโภค
สินค้าประเภทของหวาน เครื่องดื่ม และอาหารแปรรูปเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลประกอบกับบทบาทการ
โฆษณาที่น่าสนใจของสื่อมวลชน ยิ่งทาให้ผู้บริโภคโดยเฉพาะวัยเด็กเสพติดการกินเพิ่มขึ้นอย่างยาก
ที่จะหลีกเลี่ยง ซึ่งผลสารวจในปี 2014 พบว่าในคน 10 คน จะมีคนที่เป็นโรคอ้วน 1 คน
ปัจจุบันภาวะโรคอ้วนไม่ได้เป็นปัญหาเฉพาะในประเทศพัฒนาแล้วที่ร่ารวยเท่านั้น แต่ใน
ประเทศกาลังพัฒนาอย่างภูมิภาคตะวันออกกลางและหมู่เกาะแปซิฟิกก็มีคนเป็นโรคอ้วนจานวนไม่
น้อยเช่นกัน สาหรับสหรัฐอเมริกาเอง ปัญหาเด็กอ้วนได้กลายเป็นภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบต่อความ
มั่นคงทางการทหารของประเทศ โดยรายงานของกองทัพปี 2010 ได้อ้างถึงผลกระทบของโรคอ้วน
ในเด็กที่ส่งผลกระทบต่อการรับสมัครเข้าเป็นทหาร ซึ่งจากการประเมินพบว่า วัยรุ่นที่เป็น
กลุ่มเป้าหมายของกองทัพจานวนมากกว่า 25% อยู่ในภาวะอ้วนเกินกว่าที่จะเป็นทหารได้
แนวทางการแก้ไขปัญหา
ด้วยเหตุที่โรคอ้วนในเด็กเป็นปัญหาสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อทุกประเทศในหลายด้าน การ
แก้ปัญหาจึงควรเริ่มแก้ไขจากตัวเด็ก โดยริเริ่มนโยบายและกลยุทธ์ที่ส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการบริโภคไปสู่การให้ความสาคัญกับการกินเพื่อสุขภาพควบคู่กับการเสริมสร้างนิสัยการ
ออกกาลังกายให้เด็กเคยชิน การดาเนินการเหล่านี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายตั้งแต่
ครอบครัว โรงเรียน ไปจนถึงธุรกิจร้านค้าอาหารในชุมชน ในลาดับถัดมา ควรมีการดาเนินนโยบาย
ในการกาหนดราคาอาหารแต่ละประเภทให้เหมาะสมเพื่ออานวยความสะดวกให้เกิดทางเลือกในการ
บริโภคที่ดีต่อสุขภาพของประชาชน อย่างไรก็ตาม แม้ที่ผ่านมาวัฒนธรรมบริโภคนิยมจะช่วยให้เกิด
การพัฒนาทางเศรษฐกิจอยู่มาก แต่ความมั่นคงทางด้านสุขภาพของประชาชนก็เป็นเรื่องที่สาคัญไม่
แพ้กัน ดังนั้นรัฐบาลทุกประเทศจะต้องมีความรอบคอบในการประสานผลประโยชน์ เพื่อให้เกิดการ
พัฒนาอย่างยั่งยืนที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีของประชาชนและและในขณะเดียวกันก็ยังสามารถที่จะ
ตอบสนองต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้
เอกสารอ้างอิง
Amina Aitsi-Selmi. Childhood Obesity: Raising the Political Alarm. Chatham House.
ออนไลน์: https://www.chathamhouse.org/expert/comment/16533
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKINGS
RAND
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
BROOKINGS
ผลกระทบจากความปลอดภัยด้านอาหารของจีน
ต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของจีนและเศรษฐกิจโลก
http://i2.cdn.turner.com/money/2011/02/14/news/international/china_inflation_cpichina_inflation_food_market.gi.top.jpg
เป็นที่รู้กันดีว่าความปลอดภัยด้านอาหารของจีนนั้นค่อนข้างมีปัญหา โดยเฉพาะช่วงหลังจากปี
2008 ที่เกิดเหตุการณ์นมปนเปื้อนเมลามีน หลังจากนั้นก็มีเรื่องการใช้น้ามันสาหรับประกอบอาหาร
ซ้า ไข่ปลอมและสตรอเบอร์รีที่ปนเปื้อน ข้อมูลจาก Brookings พบว่า จากจานวนเหตุการณ์ความ
ผิดพลาดด้านความปลอดภัยด้านอาหารของจีนที่ยาวเหยียดทาให้ชาวจีนวิตกกังวลอย่างมาก
เกี่ยวกับอาหารที่พวกเขาบริโภค การสารวจของ Pew Global Attitudes แสดงให้เห็นว่าร้อยละ 71
ของประชากรจีนเห็นว่าความปลอดภัยด้านอาหารเป็นปัญหาใหญ่ในปี 2015 และการปรับปรุงความ
ปลอดภัยด้านอาหารในจีนนั้นยังสาคัญต่อผู้บริโภคทั่วโลกอีกด้วย เพราะอาหารและวัตถุดิบจากจีน
ส่งออกไปทั่วโลก
ความวิตกกังวลของผู้บริโภคต่อความปลอดภัยด้านอาหาร เกิดจากความไม่ไว้วางใจ
หน่วยงานที่กากับดูแลและผู้ผลิตอาหารที่ไร้ยางอาย มีข่าวลือแพร่สะพัดว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐสามารถ
ซื้อสินค้าพิเศษที่มีคุณภาพและปลอดภัยได้จากฟาร์ม ในขณะผู้บริโภคทั่วไปต้องซื้อแต่อาหารที่เต็ม
ไปด้วยยาฆ่าแมลง ยิ่งทาให้เกิดความหวาดระแวงและทาให้คนรู้สึกไม่เท่าเทียม มีเรื่องอื้อฉาว
ประเภทนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้คนในสังคมจีนไม่ไว้เชื่อในความปลอดภัยด้านอาหาร
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
อุปสรรคต่อการจัดการ
แท้จริงแล้วความยากลาบากในการจัดการไม่ได้อยู่ที่กฎระเบียบแต่อยู่ในกระบวน
การการผลิต อุตสาหกรรมอาหารนั้นกากับดูแลได้ยาก หน่วยงานที่กาดับดูแลความปลอดภัยด้าน
อาหารของจีนต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆมากมาย เช่น สารปนเปื้อนในดินที่ใช้ปลูกพืชและการ
ดาเนินธุรกิจที่ผิดจรรยาบรรณ เช่น ขายของปลอมหรือหมดอายุ อีกทั้งยังต้องรับมือกับ
อุตสาหกรรมอาหารภายในประเทศที่มีอยู่อย่างมากอีกด้วย โดยต้องควบคุมฟาร์มจานวนนับไม่ถ้วน
ที่ป้อนวัตถุดิบสู่ซุปเปอร์มาร์เก็ต บริษัทแปรรูปอาหารและบริษัทผลิตอาหารประมาณ 35,000
แห่งในจีน ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องยากที่ต้องจัดการและต้องใช้เวลาในการจัดการแต่ก็ไม่ได้หมายความ
ว่าจะทาไม่ได้
การปรับปรุงความปลอดภัยด้านอาหาร
ความปลอดภัยด้านอาหารมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของจีนมาก ดังนั้นการเสริมสร้างความ
เชื่อมั่นของลูกค้าจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จีนจะต้องรีบสร้างเพื่อความมั่นคงของเศรษฐกิจจีนและเศรษฐกิจ
โลก โดยสมัชชาแห่งรัฐของจีนได้เปิดเผยว่าความปลอดภัยด้านอาหารถือเป็นความสาคัญสูงสุด
เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2015 จีนได้ทาการปรับปรุงกฎหมายความปลอดภัยด้านอาหาร มี
วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างกฎระเบียบของบริษัทผลิตอาหารในประเทศจีนและเพิ่มการกากับดูแล
ตลอดห่วงโซ่อุปทาน การกากับดูแลที่รัดกุมและการเพิ่มโทษเป็นสิ่งสาคัญในความพยายามที่จะเพิ่ม
ความมั่นใจของผู้บริโภค และการปรับปรุงการประสานงานและการร่วมมือที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องนั้นจาเป็นอย่างมากสาหรับการทางานของระบบกากับดูแลความปลอดภัยด้านอาหาร
สรุป
การปรับปรุงกฎระเบียบความโปร่งใสในการดาเนินการและการตรวจสอบสินค้าที่เข้มงวด
ขึ้น สามารถฟื้นฟูความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในจีนต่อแหล่งอาหาร ผู้ผลิต และหน่วยงานที่กากับดูแล
ซึ่งจะส่งผลต่อทั้งเศรษฐกิจจีนและเศรษฐกิจโลก แม้จะทาให้ต้นทุนทางธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น ราคาอาหาร
บางอย่างมีราคาสูงขึ้น แต่ผู้บริโภคสมัยนี้มีความเต็มใจที่จะจ่ายมากกว่าเพื่อให้มั่นใจว่าได้อาหารที่มี
คุณภาพ ในที่สุดแล้ว ความพยายามของจีนในการสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจนี้ จะ
ช่วยรักษาระดับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งจะเป็นหนึ่งปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนต่อ
ความมั่นคงของเศรษฐกิจโลกในระยะยาว
เอกสารอ้างอิง
Lin Fu. What China’s food safety challenges mean for consumers, regulators, and the
global economy. Brookings. ออนไลน์ http://www.brookings.edu/blogs/order-from-
chaos/posts/2016/04/21-food-safety-china-fu.

5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
RAND
การลดความอับอายและการเลือกปฏิบัติในผู้ป่วยทางจิตช่วยให้เกิดประโยชน์
ทางเศรษฐกิจของรัฐ : กรณีศึกษารัฐแคลิฟอร์เนีย
https://www.edgarsnyder.com/images/large-550/medical/mental-health.jpg
สถาบันวิจัย RAND ได้ทางานวิจัยเพื่อประเมินการรณรงค์ของ California Mental Health
Services Authority (CalMHSA) ที่ลงทุนในการรณรงค์เพื่อลดความอับอายในการเข้ารับการ
รักษาและการเลือกปฏิบัติในผู้ป่วยทางจิตในพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา โดยหนึ่งในวิธีที่
CalMHSA ใช้คือ ฉายรายการ ที่นาเสนอเรื่องราวของชาวแคลิฟอร์เนียผู้ที่ต้องเผชิญปัญหาและ
ความท้าทายจากการเข้ารับการรักษาด้านสุขภาพจิต ซึ่งรายการนี้ได้ฉายในหลายช่องทาง ทั้ง
สถานีโทรทัศน์ต่างๆ งานอีเว้นท์ที่ถูกจัดขึ้น และบนเว็บไซต์ของ CalMHSA อีกทั้งยังมีรายการวิทยุ
ที่ CalMHSA สร้างขึ้นอีกช่องทางด้วย
การรณรงค์เป็นไปในเชิงการตลาดเพื่อสังคม โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดความอับอายในการเข้า
รับการรักษาของผู้ป่วยทางจิตและคนอื่นๆในสังคมให้เปลี่ยนทัศนคติต่อผู้ป่วยทางจิตที่เข้ารับการ
รักษา ซึ่งการรณรงค์นี้อาจช่วยให้ผู้ป่วยทางจิตรู้สึกไม่อับอายและยอมรับการรักษาที่เหมาะสมกับ
ตน การรักษาที่มีประสิทธิภาพและถูกต้องไม่เพียงแต่ทาให้รักษาได้ถูกจุด และทาให้มีความเป็นอยู่
ที่ดีขึ้นในภาพรวม แต่ยังทาให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดีขึ้นอีกด้วย
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สิ่งที่ RAND พบจากงานวิจัยชิ้นนี้ถือเป็นการค้นพบที่สาคัญมาก เพราะช่วยให้เราเข้าใจ
ผลกระทบและผลประโยชน์จากการรณรงค์การตลาดเพื่อสังคม โดยพบว่าทั่วทั้งรัฐแคลิฟอร์เนีย มี
คนวัยกลางคนเข้ารับการรักษาปัญหาทางสุขภาพจิตมากขึ้น และงานวิจัยของ RAND ได้ประเมิน
การรณรงค์ของ CalMHSA ว่าจะเกิดการจ้างงานในชาวแคลิฟอร์เนียวัยกลางคนประมาณ 3,000
ราย จากการรักษาทางด้านสุขภาพจิต นอกจากนี้ ยังได้ประเมินด้วยว่าประชาชนเหล่านี้จะสามารถ
ทางานได้มีประสิทธิผลมากขึ้นจากการรักษาด้านสุขภาพจิตและเมื่อมีการจ้างงาน ทาให้คนมีรายได้
และทาให้คนสามารถจ่ายภาษีแก่รัฐ ทาให้รัฐมีรายได้เพิ่มมากขึ้น
เอกสารอ้างอิง
California Mental Health Stigma-Reduction Campaign Creates Economic Benefits for
the State. Rand Corporation. ออนไลน์ http://www.rand.org/news/press/2016/04/14/
index1.html.
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
 JAPAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
การทูตญี่ปุ่นในยุคแห่งอินโด - แปซิฟิ ก
https://www.google.co.th/search?q=indo-pacific+and+japan&espv
Japan Institute of International Affair (JIIA) สถาบันคลังสมองชั้นนาด้านการต่างประเทศ
ของญี่ปุ่น ซึ่งได้รับการจัดอันดับให้อยู่ที่อันดับ 10 ของสถาบันคลังสมองที่ดีที่สุดของโลก จาก 2015
Global Go To Think Tank ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ได้เผยแพร่ภาพรวมของผลการ
ศึกษาวิจัยในเรื่อง Japanese Diplomacy in the Indo-Pacific Age: Toward a Collaborative
Relationship with Emerging Powers มีความน่าสนใจดังนี้
ญี่ปุ่นเห็นว่าในระยะที่ผ่านมา พื้นที่ตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียจนถึงมหาสมุทรแปซิฟิก หรือ
ภูมิภาคที่ถูกเรียกกันว่า “อินโด-แปซิฟิ ก” นั้นกลายมาเป็นพื้นที่สาคัญเชิงยุทธศาสตร์แห่งใหม่ของ
โลกทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความมั่นคงทางน่านน้าและ
การขนส่งสินค้าทางทะเล สิ่งนี้ถือเป็นสภาพแวดล้อมใหม่ในทางการต่างประเทศสาหรับญี่ปุ่น ดังนั้น
ญี่ปุ่นจึงต้องการที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมกาหนดระเบียบและปทัสถานภายในภูมิภาค “อินโด-แปซิฟิก”
ให้เป็นไปในทางที่ดีกับผลประโยชน์ด้านความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของประเทศ
ญี่ปุ่น อันหมายถึงระเบียบและปทัสถานในภูมิภาคที่เป็นแบบเสรีนิยม ท่ามกลาง “อิทธิพลจีนที่แผ่
ขยายในภูมิภาคนี้”
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โครงการวิจัยนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็น “เข็มทิศใหม่” สาหรับการทูตของญี่ปุ่น โดยมุ่งชี้แนะแนว
ทางการดาเนินการทางการทูตที่เหมาะสมเพื่อให้ญี่ปุ่นสามารถร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับเหล่า “อานาจ
ใหม่” ในอินโด-แปซิฟิก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อินเดีย อินโดนีเซีย อาเซียน และออสเตรเลีย เพื่อ
เป็นช่องทางให้ญี่ปุ่นเข้าไปร่วมกาหนดระเบียบและปทัสถานแบบเสรีนิยมให้เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ได้
โดยที่ญี่ปุ่นมองว่าอานาจใหม่แต่ละชาตินี้อาจไม่ได้ถืออานาจอิทธิพลที่เด็ดขาดในภูมิภาคไว้ด้วยลาพัง
ตนเองก็จริง แต่สามารถสร้างผลกระทบกับทิศทางของระเบียบภายในภูมิภาคได้
อนึ่ง ข้อชี้แนะแนวทางการทูตของญี่ปุ่นกับอานาจใหม่เหล่านี้จะคานึงถึงความต้องการและ
จุดอ่อนไหวของแต่ละชาติ และจะพยายามเน้นย้าให้อานาจใหม่เหล่านี้ยังคงเห็นความสาคัญของ
พันธมิตรสหรัฐ-ญี่ปุ่นในการจัดสรรประโยชน์สาธารณะและความสงบสุขภายในภูมิภาคดังกล่าวอยู่
ต่อไปด้วย นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้ใช้การทูตสาธารณะเพื่อเข้าไปสร้าง “ทัศนคติที่ดี” ของประชาชน
ในประเทศเหล่านี้ต่อการทูตของญี่ปุ่นในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกด้วย
เอกสารอ้างอิง
Kikuchi Tsutomu et al., Japanese Diplomacy in the Indo-Pacific Age: Toward a Collabora
tive Relationship with Emerging Powers. Japan Institute of International Affair.
ออนไลน์ http://www2.jiia.or.jp/en/pdf/study_groups/2013Project_Overview_Japanese_
Diplomacy_in_the_Indo-Pacific_Age-1.pdf.
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
BROOKINGS DOHA CENTER
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
“วัฒนธรรม”
กับการต่างประเทศของอินเดียต่อตะวันออกกลาง
รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (Policy Briefing) ของ Brookings Doha Center (สาขาย่อย
ของ Brookings ในตะวันออกกลาง มีสานักงานอยู่ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์) เรื่อง Dealing with
Delhi: How Culture Shapes India’s Middle East Policy ได้เสนอว่าวัฒนธรรมและค่านิยมเป็น
ปัจจัยสาคัญในการกาหนดนโยบายต่างประเทศของอินเดียมาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ต่อภูมิภาคตะวันออกกลาง ดังนั้น รายงานดังกล่าวจึงเสนอแนะว่าในการกาหนดนโยบาย
ต่างประเทศต่ออินเดีย บรรดาผู้กาหนดนโยบายต่างประเทศของตะวันออกกลางควรทาความเข้าใจ
ความสาคัญของค่านิยมและวัฒนธรรมในการกาหนดนโยบายต่างประเทศของอินเดียทั้งโดยรวมและ
ต่อภูมิภาคตะวันออกกลางโดยเฉพาะ และใช้ประโยชน์จากจุดร่วมในวัฒนธรรมและค่านิยมระหว่าง
ดินแดนเพื่อนบ้านทั้งสองที่มีอยู่มากและดาเนินมาอย่างต่อเนื่องตลอดการปฏิสัมพันธ์กันอันยาวนาน
ในประวัติศาสตร์ เพื่อกาหนดนโยบายการต่างประเทศอันจะช่วยให้ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียและ
ตะวันออกกลางก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป
https://www.google.co.th/search?q=hymn+for+the+weekend&espv
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ค่านิยมของอินเดีย
เมื่อคานึงถึงว่าอินเดียเป็นดินแดนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและค่านิยม
มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แต่ก็ยังมีวัฒนธรรมร่วม ค่านิยมร่วม และอัตลักษณ์ร่วมที่สาคัญบางอย่าง
ที่สามารถกล่าวได้ว่าเป็นตัวแทนของอินเดียส่วนรวมได้ วัฒนธรรมเหล่านี้ส่วนมากกลายมาเป็นมรดก
ร่วมของอินเดียโดยการสืบทอดผ่านรากเหง้าของศาสนามานับพันปี จนฝังรากในโลกทัศน์ของคน
อินเดีย มิเช่นนั้นก็เป็นหลักการที่ชนชั้นนาของอินเดียในแต่ละยุคสมาทานและสร้างขึ้นเป็นอัตลักษณ์
ของชาติ ค่านิยมร่วมที่สาคัญของอินเดียได้แก่ หลักอหิงสา (หลักการสันติวิธีไม่ใช่ความรุนแรง)
หลักความอดทนอดกลั้นต่อความแตกต่างในสังคม และหลักพหุนิยมทางเชื้อชาติและ
วัฒนธรรม อุดมการณ์และความเชื่อทางศาสนา เป็นต้น
อิทธิพลของค่านิยมในการต่างประเทศของอินเดีย
ค่านิยมเช่น หลักการไม่ใช่ความรุนแรงโดยไม่จาเป็น และหลักพหุนิยมในสังคมนั้นเป็นสิ่งที่มี
รากเหง้าอยู่ในคาสอนของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน ซึ่งล้วนเป็นศาสนาที่กาเนิดใน
อินเดีย หลักการดังกล่าวได้ถูกนามาใช้เป็นหลักในการต่อสู้ของขบวนการเรียกร้องเอกราชอินเดีย
จากอังกฤษ นาโดยมหาตมะ คานธี และได้รับการสืบทอดต่อมาเป็นอัตลักษณ์แห่งชาติและส่งผลต่อ
การกาหนดนโยบายต่างประเทศที่สาคัญๆในยุคของเนห์รู ในช่วงทศวรรษที่ 1950-60
ตัวอย่างเช่น ท่าทีของอินเดียกับสงครามเย็นโดยรวมนั้น อินเดียในยุคของเนห์รูเป็นผู้นา
จัดตั้งกลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non Aligned Movement: NAM) ซึ่งเน้นแนวทางการแก้ปัญหา
ระหว่างประเทศโดยสันติวิธีและการอดทนอดกลั้น รวมทั้งยอมรับความแตกต่างทางอุดมการณ์ ความ
เชื่อ มิให้มาเป็นอุปสรรคในการสัมพันธ์กันของชาติต่างๆ ซึ่งมีความต่อเนื่องอย่างเห็นได้ชัดจาก
หลักการที่ยึดเป็นแนวปฏิบัติในยุคเรียกร้องเอกราช และในส่วนของความสัมพันธ์กับตะวันออกกลาง
โดยตรงนั้น ประวัติศาสตร์ของการจัดตั้ง NAM มีรากฐานมาจากมิตรภาพระหว่างเนห์รูกับนายพล
Abdul Gamal Nusser ผู้นาอียิปต์ในเวลานั้น อินเดียภายใต้ยุคที่พรรคคองเกรสปกครองนั้น มีอัต
ลักษณ์ของประเทศคือเป็นรัฐชาตินิยมสมัยใหม่ที่แยกศาสนาจากการเมือง ฐานเสียงที่สาคัญของคอง
เกรสจึงประกอบด้วยชนกลุ่มน้อยทางศาสนาในอินเดีย ซึ่งจานวนมากที่สุดในกลุ่มนี้คือชาวมุสลิม ที่มี
อยู่ราวสิบห้าเปอร์เซ็นต์ของประชากรอินเดีย
แม้ภายใต้ยุคที่พรรค BJP ซึ่งมีแนวทางเป็นชาตินิยมฮินดูครองอานาจในปัจจุบัน แต่ค่านิยม
เรื่องพหุนิยมทางศาสนา วัฒนธรรม และการเคารพความแตกต่างนั้นก็ยังคงได้รับการรักษาไว้ เช่น
ในการเยือนประเทศตะวันออกกลางครั้งแรกของโมดีที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์เมื่อปี 2015 นั้นโมดีก็ได้
กล่าวอย่างเป็นนัยยะสาคัญว่า “สันติภาพและความสมดุลดารงอยู่ในอิสลาม” ระหว่างการเยือนมัสยิด
กลางที่นั่น และภายในประเทศเองโมดีก็เดินทางไปพบกับผู้นามุสลิมของอินเดีย พร้อมประกาศว่า
“มุสลิมอินเดียจะมีชีวิตอยู่และตายเพื่ออินเดีย”
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ข้อเสนอแนะต่อผู้กาหนดนโยบายต่างประเทศในตะวันออกกลาง
รายงานฉบับนี้ชี้ว่าอินเดียกับตะวันออกกลางนั้นเป็นดินแดนที่มีความสัมพันธ์พิเศษต่อกัน
เพราะเป็นเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิดกัน มีการไปมาหาสู่ ติดต่อ อพยพเคลื่อนย้าย ปฏิสัมพันธ์กันและกัน
มายาวนานหลายพันปี ถ้าพูดในแง่ของวัฒนธรรมแล้ว อินเดียใกล้ชิดกับตะวันออกกลาง หรือที่
อินเดียเรียกว่า “เอเชียตะวันตก” มากยิ่งกว่ามหาอานาจอื่นๆ เช่น สหรัฐ จีน หรือรัสเซีย รวมทั้งมี
ประวัติศาสตร์ในบางช่วงบางตอนร่วมกัน อัตลักษณ์หลายอย่างที่คล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
จุดร่วมทางศาสนาระหว่างมุสลิมในตะวันออกกลางกับมุสลิมในอินเดีย เหล่านี้เป็นสิ่งที่ผู้กาหนด
นโยบายต่างประเทศต่ออินเดียในตะวันออกกลางสามารถดึงมาใช้ประโยชน์ในการกระชับ
ความสัมพันธ์กับอินเดียต่อไป
นัยยะต่อประเทศไทย
ไทยเองนั้นก็มีมารดาทางวัฒนธรรมคือภารตประเทศ ทั้งศาสนาพุทธ ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ภาษาของเรานั้นก็สืบทอดจากอินเดีย ดังนั้น เราก็ควรใช้สายใยทางวัฒนธรรมที่ใกล้ชิดนี้
เป็นช่องทางกระชับความสัมพันธ์ให้ใกล้ชิดกับอินเดียมากขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะในยุคบูรพาภิวัตน์ที่
อินเดียจะเป็นอีกมหาอานาจที่ขึ้นมาสาคัญต่อภูมิภาคของเราไม่แพ้จีน ซึ่งเวลานี้อินเดียเองก็
ต้องการ “มุ่งตะวันออก” มาสู่แผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยเช่นกัน
เอกสารอ้างอิง
Kadira Pethiyagoda. Dealing with Delhi: How Culture Shapes India’s Middle East Policy.
Brookings Doha Center. ออนไลน์ http://www.brookings.edu/~/media/research/files/
papers/2015/12/kadira-india-middle-east/en-dealing-with-delhi.pdf.
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
เวทีนักวิจัยคลังปัญญา: การนาเสนอร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดเวทีนาเสนอร่าง
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของโครงการวิจัยภายใต้สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จานวน 5
เรื่อง ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค รัชดาภิเษก ดังนี้
1. ขบวนการรัฐอิสลาม (IS)ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ: นัยต่อโลก เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ และไทย (โดย อ.อาทิตย์ ทองอินทร์ หัวหน้าภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัย
นวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต)
2. การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็น "อานาจขนาดกลาง": กรณีศึกษา
ประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล (โดย อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล อาจารย์ประจาสถาบันการทูต
และการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต)
3. แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบ
ต่อความเป็นไปในสังคมไทย (โดย ผศ.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ อาจารย์ประจาแขนงวิชา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช)
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
4. บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (โดย คุณอัสมะ ตันหยงดาโอะ
นักวิจัยอิสระ)
5. จีน-อเมริกา: การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย (อ.ศิวพล
ละอองสกุล อาจารย์ประจาวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต)
ในโอกาสนี้ สถาบันคลังปัญญาฯได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิมาให้คาชี้แนะต่อร่างรายงาน
วิจัยฉบับสมบูรณ์ข้างต้นได้แก่ ศ.ดร. จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ กรรมการบริหารสมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่ง
เอเชีย ผศ.ดร. ศุภมิตร ปิ ติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดีสถาบันการทูตและ
การต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยมี ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้อานวยการสถาบันคลัง
ปัญญาฯและอธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นประธาน
ปริทัศน์งานวิจัยคลังปัญญา (ตอนที่ 1)
ขบวนการรัฐอิสลาม (IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ:
นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย
ณ
โดย อ.อาทิตย์ ทองอินทร์
หัวหน้าภาควิชาสังคมศาสตร์
วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต
งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาเรื่องไอเอสในเชิงวิพากษ์ต่อข้อสรุปหรือคาอธิบายกระแสหลักในวงวิชาการ
ตะวันตก โดยศึกษาไอเอสในฐานะกลุ่มก่อการร้ายเบอร์หนึ่งของโลกที่ก้าวขึ้นมาจากกลุ่มที่ไม่มีใครรู้จัก
เมื่อสามสี่ปีก่อนจนกลายเป็นตัวแสดงระหว่างประเทศที่ยากจะปฏิเสธไปแล้ว ในการติดตามความ
เคลื่อนไหวอันปั่นป่วนของตะวันออกกลางในระยะสามสี่ปีมานี้จะขาดปัจจัยของไอเอสไปเสียจากการ
วิเคราะห์มิได้เป็นอันขาด ในท่ามกลางความกังวลและความหวาดกลัวว่าเมื่อไรที่ไอเอสจะลามมายัง
ไทย งานวิจัยชิ้นนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อทาความเข้าใจเรื่องดังกล่าวอย่างลึกซึ้ง เป็นระบบ โดยศึกษาค้นคว้า
อย่างกว้างขวางจากงานในวงวิชาการไทย ตะวันตก รวมทั้งงานของนักวิชาการในโลกอาหรับ ทาให้
ได้ผลการศึกษาเชิงลึกที่กว้างขวาง ทั้งยังสามารถโต้แย้งและอธิบายความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ
ไอเอสในวงวิชาการตะวันตกและสังคมไทยได้อีกด้วย
งานชิ้นนี้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 4 ส่วนหลัก คือ (1) แนวคิดของกลุ่ม (2) การก่อตัวขึ้นของกลุ่ม
(3) นัยเกี่ยวพันกับโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย และ (4) ข้อเสนอสาหรับประเทศไทยเพื่อ
เตรียมพร้อมเผชิญภัยคุกคามจากไอเอส ซึ่งสถาบันคลังปัญญาจะเผยแพร่งานวิจัยดังกล่าวเร็วๆ นี้
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ปีที่เผยแพร่: พฤษภาคม 2559
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Contenu connexe

Tendances

World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559 World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559 Klangpanya
 
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศKlangpanya
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...Klangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...Klangpanya
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงKlangpanya
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 

Tendances (10)

World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559 World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
World Think Tank Monitors l มกราคม 2559
 
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทยแนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
แนวคิดและข้อเสนอเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 

En vedette

เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองKlangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 

En vedette (20)

เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 

Similaire à World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" Utai Sukviwatsirikul
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...BAINIDA
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Vida Yosita
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Yuwadee
 

Similaire à World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559 (20)

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
Proportional Hazard Model for Predicting Stroke Mortality โดย พิมพ์ชนก พุฒขาว...
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Cpg std 2558
Cpg std 2558Cpg std 2558
Cpg std 2558
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
04
0404
04
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
สคร7
สคร7สคร7
สคร7
 
20150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-201520150327 newsletter-april-2015
20150327 newsletter-april-2015
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 1 เดือนเมษายน 2558
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 — เอเชียปงาด ปัญหายาราคาแพง ตะวันออกกลางปั่นป่วน อันดับ THINK TANK โลก 2015 — อาหารจากจีน ความกังวลของผู้บริโภค PhotoCredit:http://www.bbcgoodfood.com/recipes/1361633/ ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 พฤษภาคม 2559 CHATHAM HOUSE โรคอ้วนในเด็ก: สัญญาณเตือนของความมั่นคงด้านสุขภาพระดับสากล JAPAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS การทูตญี่ปุ่นในยุคแห่งอินโด-แปซิฟิก สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ปริทัศน์งานวิจัยคลังปัญญา (ตอนที่ 1)
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ สวัสดีเดือนพฤษภาคมค่ะ เดือนนี้เป็นเดือนที่ร้อนเป็นประวัติการณ์สาหรับประเทศไทย บางที่ อุณหภูมิขึ้นสูงถึง 45 องศาเซลเซียสในช่วงกลางวัน รู้สึกได้ชัดเจนว่าปีนี้ร้อนขึ้นอย่างมากจริงๆ ทา ให้รู้สึกถึงผลกระทบของ “ภาวะโลกร้อน” จากที่พูดกันในเชิงทฤษฎีมานาน เวลานี้เกิดขึ้นแล้วกับตัว เรา บ้านเมืองของเรา และโลกของเรา ดังนั้น เวลานี้ปัญหาเรื่องโลกร้อนจึงเป็นสิ่งที่นานาชาติต้อง ร่วมกันแก้ไข เพราะเป็นปัญหาที่เชื่อมถึงกัน ต่างคนต่างแก้ไม่ได้ ต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา เช่นเดียวกับปัญหาโรคอ้วนในเด็ก ที่พบว่าทุกวันนี้โรคอ้วนในเด็กไม่ได้เป็นปัญหาของ ประเทศพัฒนาแล้วอย่างเดียว แต่ประเทศกาลังพัฒนาก็ประสบปัญหาดังกล่าวแล้วเช่นกัน เนื่องจาก กระบวนการผลิตอาหารในโลกที่เชื่อมโยงใยกันทั่วโลก ดังนั้นนานาชาติต้องร่วมมือกันแก้ไข ติดตาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ในหมวดประเด็นสุขภาวะสากลซึ่งเป็นหมวดแรกของ World Think Tank Monitor ฉบับที่ 11 นี้ ขณะที่ในหมวดที่สองยังคงเกาะติดสนามการเมืองของชาติต่างๆบนโลก ใบนี้ ชาติใดจะขึ้น ชาติใดจะลง ใครจะแข่งกับใครในเรื่องอะไร ภายใต้กรอบใหญ่ของการจัดตัวใหม่ ของดุลอานาจโลกที่เบี่ยงตะวันออกมากขึ้น อนึ่ง สถาบันคลังปัญญายินดีอย่างยิ่งที่จะรับความคิดเห็น คาแนะนา รวมทั้งการแบ่งปัน ความรู้จากท่านผู้อ่านทั้งหลายผ่านทุกช่องทางของสถาบัน ทั้งในช่องความเห็นของโพสต์ต่างๆของ เราใน Slideshare และบน Facebook Page “สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ” ค่ะ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป  CHATHAM HOUSE โรคอ้วนในเด็ก: สัญญาณเตือนของความมั่นคง 1 ด้านสุขภาพระดับสากล ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา  BROOKINGS ผลกระทบจากความปลอดภัยด้านอาหารของจีนต่อความมั่นคง 3 ทางเศรษฐกิจของจีนและเศรษฐกิจโลก  RAND การลดความอับอายและการเลือกปฏิบัติในผู้ป่วยทางจิตช่วยให้เกิดประโยชน์ 5 ทางเศรษฐกิจของรัฐ : กรณีศึกษารัฐแคลิฟอร์เนีย ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย  JAPAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS การทูตญี่ปุ่นในยุคแห่งอินโด-แปซิฟิก 7 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง  BROOKINGS DOHA CENTER “วัฒนธรรม” กับการต่างประเทศของอินเดีย 9 ต่อตะวันออกกลาง ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT เวทีนักวิจัยคลังปัญญา: การนาเสนอร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ 12 ปริทัศน์งานวิจัยคลังปัญญา (ตอนที่ 1) 13
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHAM HOUSE เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย โรคอ้วนในเด็ก: สัญญาณเตือนของความมั่นคงด้านสุขภาพระดับสากล Photo by Getty Images ความก้าวหน้าของกระแสโลกาภิวัตน์และพัฒนาการด้านรายได้และวิถีชีวิตของผู้คน ล้วน เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้พฤติกรรมการบริโภคของประชากรทั่วโลกเปลี่ยนไป จึงไม่ใช่เรื่องแปลก หากจะ พบว่า หลายต่อหลายประเทศมีประชากรที่ประสบภาวะน้าหนักเกินมาตรฐานอยู่เป็นจานวน มาก โดยเฉพาะประชากรเด็ก ปัญหาด้านสุขภาพว่าด้วยโรคอ้วนที่เพิ่มขึ้นนี้จึงกลายเป็นวาระ เร่งด่วนที่รัฐบาลทุกประเทศต้องรีบแก้ไข ทั้งนี้ เนื่องจากโรคอ้วนไม่ได้เป็นเพียงปัญหาของบุคคลใด บุคคลหนึ่งเท่านั้น แต่ยังมีผลกระทบต่อระบบสาธารณสุขรวมไปถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจใน ภาพรวมด้วย การแก้ปัญหาให้เกิดประสิทธิผลจึงจาเป็นต้องอาศัยการดาเนินงานแบบบูรณาการจาก ทุกภาคส่วนตั้งแต่หน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานด้านเศรษฐกิจ ชุมชน ไปจนถึงความร่วมมือ ในระดับระหว่างประเทศ สถานการณ์เกี่ยวกับภาวะโรคอ้วน ข้อมูลจากเอกสารวิชาการจานวนมากยืนยันว่าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โรคอ้วนกลายเป็นสาเหตุ สาคัญที่ทาให้คนทั่วโลกมีอายุขัยเฉลี่ยสั้นลง ทั้งนี้ เนื่องด้วยการป่วยเป็นโรคร้ายแรง ไม่ว่าจะเป็น
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โรคเบาหวาน โรคหัวใจ รวมไปถึงโรคมะเร็งชนิดต่างๆ มักจะมีจุดเริ่มต้นมาจากการเป็นโรคอ้วนก่อน สาหรับสาเหตุหลักที่ทาให้ประชากรทั่วโลกเป็นโรคอ้วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้นเป็นผลพวง มาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 ซึ่งทาให้วัฒนธรรมนิยมการบริโภค สินค้าประเภทของหวาน เครื่องดื่ม และอาหารแปรรูปเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลประกอบกับบทบาทการ โฆษณาที่น่าสนใจของสื่อมวลชน ยิ่งทาให้ผู้บริโภคโดยเฉพาะวัยเด็กเสพติดการกินเพิ่มขึ้นอย่างยาก ที่จะหลีกเลี่ยง ซึ่งผลสารวจในปี 2014 พบว่าในคน 10 คน จะมีคนที่เป็นโรคอ้วน 1 คน ปัจจุบันภาวะโรคอ้วนไม่ได้เป็นปัญหาเฉพาะในประเทศพัฒนาแล้วที่ร่ารวยเท่านั้น แต่ใน ประเทศกาลังพัฒนาอย่างภูมิภาคตะวันออกกลางและหมู่เกาะแปซิฟิกก็มีคนเป็นโรคอ้วนจานวนไม่ น้อยเช่นกัน สาหรับสหรัฐอเมริกาเอง ปัญหาเด็กอ้วนได้กลายเป็นภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบต่อความ มั่นคงทางการทหารของประเทศ โดยรายงานของกองทัพปี 2010 ได้อ้างถึงผลกระทบของโรคอ้วน ในเด็กที่ส่งผลกระทบต่อการรับสมัครเข้าเป็นทหาร ซึ่งจากการประเมินพบว่า วัยรุ่นที่เป็น กลุ่มเป้าหมายของกองทัพจานวนมากกว่า 25% อยู่ในภาวะอ้วนเกินกว่าที่จะเป็นทหารได้ แนวทางการแก้ไขปัญหา ด้วยเหตุที่โรคอ้วนในเด็กเป็นปัญหาสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อทุกประเทศในหลายด้าน การ แก้ปัญหาจึงควรเริ่มแก้ไขจากตัวเด็ก โดยริเริ่มนโยบายและกลยุทธ์ที่ส่งเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคไปสู่การให้ความสาคัญกับการกินเพื่อสุขภาพควบคู่กับการเสริมสร้างนิสัยการ ออกกาลังกายให้เด็กเคยชิน การดาเนินการเหล่านี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายตั้งแต่ ครอบครัว โรงเรียน ไปจนถึงธุรกิจร้านค้าอาหารในชุมชน ในลาดับถัดมา ควรมีการดาเนินนโยบาย ในการกาหนดราคาอาหารแต่ละประเภทให้เหมาะสมเพื่ออานวยความสะดวกให้เกิดทางเลือกในการ บริโภคที่ดีต่อสุขภาพของประชาชน อย่างไรก็ตาม แม้ที่ผ่านมาวัฒนธรรมบริโภคนิยมจะช่วยให้เกิด การพัฒนาทางเศรษฐกิจอยู่มาก แต่ความมั่นคงทางด้านสุขภาพของประชาชนก็เป็นเรื่องที่สาคัญไม่ แพ้กัน ดังนั้นรัฐบาลทุกประเทศจะต้องมีความรอบคอบในการประสานผลประโยชน์ เพื่อให้เกิดการ พัฒนาอย่างยั่งยืนที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดีของประชาชนและและในขณะเดียวกันก็ยังสามารถที่จะ ตอบสนองต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้ เอกสารอ้างอิง Amina Aitsi-Selmi. Childhood Obesity: Raising the Political Alarm. Chatham House. ออนไลน์: https://www.chathamhouse.org/expert/comment/16533
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต  Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKINGS RAND เรียบเรียงโดย ปลายฟ้า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย BROOKINGS ผลกระทบจากความปลอดภัยด้านอาหารของจีน ต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจของจีนและเศรษฐกิจโลก http://i2.cdn.turner.com/money/2011/02/14/news/international/china_inflation_cpichina_inflation_food_market.gi.top.jpg เป็นที่รู้กันดีว่าความปลอดภัยด้านอาหารของจีนนั้นค่อนข้างมีปัญหา โดยเฉพาะช่วงหลังจากปี 2008 ที่เกิดเหตุการณ์นมปนเปื้อนเมลามีน หลังจากนั้นก็มีเรื่องการใช้น้ามันสาหรับประกอบอาหาร ซ้า ไข่ปลอมและสตรอเบอร์รีที่ปนเปื้อน ข้อมูลจาก Brookings พบว่า จากจานวนเหตุการณ์ความ ผิดพลาดด้านความปลอดภัยด้านอาหารของจีนที่ยาวเหยียดทาให้ชาวจีนวิตกกังวลอย่างมาก เกี่ยวกับอาหารที่พวกเขาบริโภค การสารวจของ Pew Global Attitudes แสดงให้เห็นว่าร้อยละ 71 ของประชากรจีนเห็นว่าความปลอดภัยด้านอาหารเป็นปัญหาใหญ่ในปี 2015 และการปรับปรุงความ ปลอดภัยด้านอาหารในจีนนั้นยังสาคัญต่อผู้บริโภคทั่วโลกอีกด้วย เพราะอาหารและวัตถุดิบจากจีน ส่งออกไปทั่วโลก ความวิตกกังวลของผู้บริโภคต่อความปลอดภัยด้านอาหาร เกิดจากความไม่ไว้วางใจ หน่วยงานที่กากับดูแลและผู้ผลิตอาหารที่ไร้ยางอาย มีข่าวลือแพร่สะพัดว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐสามารถ ซื้อสินค้าพิเศษที่มีคุณภาพและปลอดภัยได้จากฟาร์ม ในขณะผู้บริโภคทั่วไปต้องซื้อแต่อาหารที่เต็ม ไปด้วยยาฆ่าแมลง ยิ่งทาให้เกิดความหวาดระแวงและทาให้คนรู้สึกไม่เท่าเทียม มีเรื่องอื้อฉาว ประเภทนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้คนในสังคมจีนไม่ไว้เชื่อในความปลอดภัยด้านอาหาร
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต อุปสรรคต่อการจัดการ แท้จริงแล้วความยากลาบากในการจัดการไม่ได้อยู่ที่กฎระเบียบแต่อยู่ในกระบวน การการผลิต อุตสาหกรรมอาหารนั้นกากับดูแลได้ยาก หน่วยงานที่กาดับดูแลความปลอดภัยด้าน อาหารของจีนต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆมากมาย เช่น สารปนเปื้อนในดินที่ใช้ปลูกพืชและการ ดาเนินธุรกิจที่ผิดจรรยาบรรณ เช่น ขายของปลอมหรือหมดอายุ อีกทั้งยังต้องรับมือกับ อุตสาหกรรมอาหารภายในประเทศที่มีอยู่อย่างมากอีกด้วย โดยต้องควบคุมฟาร์มจานวนนับไม่ถ้วน ที่ป้อนวัตถุดิบสู่ซุปเปอร์มาร์เก็ต บริษัทแปรรูปอาหารและบริษัทผลิตอาหารประมาณ 35,000 แห่งในจีน ถึงแม้ว่าจะเป็นเรื่องยากที่ต้องจัดการและต้องใช้เวลาในการจัดการแต่ก็ไม่ได้หมายความ ว่าจะทาไม่ได้ การปรับปรุงความปลอดภัยด้านอาหาร ความปลอดภัยด้านอาหารมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของจีนมาก ดังนั้นการเสริมสร้างความ เชื่อมั่นของลูกค้าจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จีนจะต้องรีบสร้างเพื่อความมั่นคงของเศรษฐกิจจีนและเศรษฐกิจ โลก โดยสมัชชาแห่งรัฐของจีนได้เปิดเผยว่าความปลอดภัยด้านอาหารถือเป็นความสาคัญสูงสุด เมื่อเดือนตุลาคม ปี 2015 จีนได้ทาการปรับปรุงกฎหมายความปลอดภัยด้านอาหาร มี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างกฎระเบียบของบริษัทผลิตอาหารในประเทศจีนและเพิ่มการกากับดูแล ตลอดห่วงโซ่อุปทาน การกากับดูแลที่รัดกุมและการเพิ่มโทษเป็นสิ่งสาคัญในความพยายามที่จะเพิ่ม ความมั่นใจของผู้บริโภค และการปรับปรุงการประสานงานและการร่วมมือที่ดีขึ้นระหว่างหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องนั้นจาเป็นอย่างมากสาหรับการทางานของระบบกากับดูแลความปลอดภัยด้านอาหาร สรุป การปรับปรุงกฎระเบียบความโปร่งใสในการดาเนินการและการตรวจสอบสินค้าที่เข้มงวด ขึ้น สามารถฟื้นฟูความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในจีนต่อแหล่งอาหาร ผู้ผลิต และหน่วยงานที่กากับดูแล ซึ่งจะส่งผลต่อทั้งเศรษฐกิจจีนและเศรษฐกิจโลก แม้จะทาให้ต้นทุนทางธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น ราคาอาหาร บางอย่างมีราคาสูงขึ้น แต่ผู้บริโภคสมัยนี้มีความเต็มใจที่จะจ่ายมากกว่าเพื่อให้มั่นใจว่าได้อาหารที่มี คุณภาพ ในที่สุดแล้ว ความพยายามของจีนในการสร้างความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจนี้ จะ ช่วยรักษาระดับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ ซึ่งจะเป็นหนึ่งปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนต่อ ความมั่นคงของเศรษฐกิจโลกในระยะยาว เอกสารอ้างอิง Lin Fu. What China’s food safety challenges mean for consumers, regulators, and the global economy. Brookings. ออนไลน์ http://www.brookings.edu/blogs/order-from- chaos/posts/2016/04/21-food-safety-china-fu. 
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต RAND การลดความอับอายและการเลือกปฏิบัติในผู้ป่วยทางจิตช่วยให้เกิดประโยชน์ ทางเศรษฐกิจของรัฐ : กรณีศึกษารัฐแคลิฟอร์เนีย https://www.edgarsnyder.com/images/large-550/medical/mental-health.jpg สถาบันวิจัย RAND ได้ทางานวิจัยเพื่อประเมินการรณรงค์ของ California Mental Health Services Authority (CalMHSA) ที่ลงทุนในการรณรงค์เพื่อลดความอับอายในการเข้ารับการ รักษาและการเลือกปฏิบัติในผู้ป่วยทางจิตในพื้นที่รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา โดยหนึ่งในวิธีที่ CalMHSA ใช้คือ ฉายรายการ ที่นาเสนอเรื่องราวของชาวแคลิฟอร์เนียผู้ที่ต้องเผชิญปัญหาและ ความท้าทายจากการเข้ารับการรักษาด้านสุขภาพจิต ซึ่งรายการนี้ได้ฉายในหลายช่องทาง ทั้ง สถานีโทรทัศน์ต่างๆ งานอีเว้นท์ที่ถูกจัดขึ้น และบนเว็บไซต์ของ CalMHSA อีกทั้งยังมีรายการวิทยุ ที่ CalMHSA สร้างขึ้นอีกช่องทางด้วย การรณรงค์เป็นไปในเชิงการตลาดเพื่อสังคม โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดความอับอายในการเข้า รับการรักษาของผู้ป่วยทางจิตและคนอื่นๆในสังคมให้เปลี่ยนทัศนคติต่อผู้ป่วยทางจิตที่เข้ารับการ รักษา ซึ่งการรณรงค์นี้อาจช่วยให้ผู้ป่วยทางจิตรู้สึกไม่อับอายและยอมรับการรักษาที่เหมาะสมกับ ตน การรักษาที่มีประสิทธิภาพและถูกต้องไม่เพียงแต่ทาให้รักษาได้ถูกจุด และทาให้มีความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้นในภาพรวม แต่ยังทาให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดีขึ้นอีกด้วย
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สิ่งที่ RAND พบจากงานวิจัยชิ้นนี้ถือเป็นการค้นพบที่สาคัญมาก เพราะช่วยให้เราเข้าใจ ผลกระทบและผลประโยชน์จากการรณรงค์การตลาดเพื่อสังคม โดยพบว่าทั่วทั้งรัฐแคลิฟอร์เนีย มี คนวัยกลางคนเข้ารับการรักษาปัญหาทางสุขภาพจิตมากขึ้น และงานวิจัยของ RAND ได้ประเมิน การรณรงค์ของ CalMHSA ว่าจะเกิดการจ้างงานในชาวแคลิฟอร์เนียวัยกลางคนประมาณ 3,000 ราย จากการรักษาทางด้านสุขภาพจิต นอกจากนี้ ยังได้ประเมินด้วยว่าประชาชนเหล่านี้จะสามารถ ทางานได้มีประสิทธิผลมากขึ้นจากการรักษาด้านสุขภาพจิตและเมื่อมีการจ้างงาน ทาให้คนมีรายได้ และทาให้คนสามารถจ่ายภาษีแก่รัฐ ทาให้รัฐมีรายได้เพิ่มมากขึ้น เอกสารอ้างอิง California Mental Health Stigma-Reduction Campaign Creates Economic Benefits for the State. Rand Corporation. ออนไลน์ http://www.rand.org/news/press/2016/04/14/ index1.html.
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย  JAPAN INSTITUTE OF INTERNATIONAL AFFAIRS เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย การทูตญี่ปุ่นในยุคแห่งอินโด - แปซิฟิ ก https://www.google.co.th/search?q=indo-pacific+and+japan&espv Japan Institute of International Affair (JIIA) สถาบันคลังสมองชั้นนาด้านการต่างประเทศ ของญี่ปุ่น ซึ่งได้รับการจัดอันดับให้อยู่ที่อันดับ 10 ของสถาบันคลังสมองที่ดีที่สุดของโลก จาก 2015 Global Go To Think Tank ของมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ได้เผยแพร่ภาพรวมของผลการ ศึกษาวิจัยในเรื่อง Japanese Diplomacy in the Indo-Pacific Age: Toward a Collaborative Relationship with Emerging Powers มีความน่าสนใจดังนี้ ญี่ปุ่นเห็นว่าในระยะที่ผ่านมา พื้นที่ตั้งแต่มหาสมุทรอินเดียจนถึงมหาสมุทรแปซิฟิก หรือ ภูมิภาคที่ถูกเรียกกันว่า “อินโด-แปซิฟิ ก” นั้นกลายมาเป็นพื้นที่สาคัญเชิงยุทธศาสตร์แห่งใหม่ของ โลกทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และความมั่นคง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความมั่นคงทางน่านน้าและ การขนส่งสินค้าทางทะเล สิ่งนี้ถือเป็นสภาพแวดล้อมใหม่ในทางการต่างประเทศสาหรับญี่ปุ่น ดังนั้น ญี่ปุ่นจึงต้องการที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมกาหนดระเบียบและปทัสถานภายในภูมิภาค “อินโด-แปซิฟิก” ให้เป็นไปในทางที่ดีกับผลประโยชน์ด้านความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของประเทศ ญี่ปุ่น อันหมายถึงระเบียบและปทัสถานในภูมิภาคที่เป็นแบบเสรีนิยม ท่ามกลาง “อิทธิพลจีนที่แผ่ ขยายในภูมิภาคนี้”
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โครงการวิจัยนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็น “เข็มทิศใหม่” สาหรับการทูตของญี่ปุ่น โดยมุ่งชี้แนะแนว ทางการดาเนินการทางการทูตที่เหมาะสมเพื่อให้ญี่ปุ่นสามารถร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับเหล่า “อานาจ ใหม่” ในอินโด-แปซิฟิก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อินเดีย อินโดนีเซีย อาเซียน และออสเตรเลีย เพื่อ เป็นช่องทางให้ญี่ปุ่นเข้าไปร่วมกาหนดระเบียบและปทัสถานแบบเสรีนิยมให้เกิดขึ้นในภูมิภาคนี้ได้ โดยที่ญี่ปุ่นมองว่าอานาจใหม่แต่ละชาตินี้อาจไม่ได้ถืออานาจอิทธิพลที่เด็ดขาดในภูมิภาคไว้ด้วยลาพัง ตนเองก็จริง แต่สามารถสร้างผลกระทบกับทิศทางของระเบียบภายในภูมิภาคได้ อนึ่ง ข้อชี้แนะแนวทางการทูตของญี่ปุ่นกับอานาจใหม่เหล่านี้จะคานึงถึงความต้องการและ จุดอ่อนไหวของแต่ละชาติ และจะพยายามเน้นย้าให้อานาจใหม่เหล่านี้ยังคงเห็นความสาคัญของ พันธมิตรสหรัฐ-ญี่ปุ่นในการจัดสรรประโยชน์สาธารณะและความสงบสุขภายในภูมิภาคดังกล่าวอยู่ ต่อไปด้วย นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้ใช้การทูตสาธารณะเพื่อเข้าไปสร้าง “ทัศนคติที่ดี” ของประชาชน ในประเทศเหล่านี้ต่อการทูตของญี่ปุ่นในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิกด้วย เอกสารอ้างอิง Kikuchi Tsutomu et al., Japanese Diplomacy in the Indo-Pacific Age: Toward a Collabora tive Relationship with Emerging Powers. Japan Institute of International Affair. ออนไลน์ http://www2.jiia.or.jp/en/pdf/study_groups/2013Project_Overview_Japanese_ Diplomacy_in_the_Indo-Pacific_Age-1.pdf.
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง BROOKINGS DOHA CENTER เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย “วัฒนธรรม” กับการต่างประเทศของอินเดียต่อตะวันออกกลาง รายงานข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (Policy Briefing) ของ Brookings Doha Center (สาขาย่อย ของ Brookings ในตะวันออกกลาง มีสานักงานอยู่ที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์) เรื่อง Dealing with Delhi: How Culture Shapes India’s Middle East Policy ได้เสนอว่าวัฒนธรรมและค่านิยมเป็น ปัจจัยสาคัญในการกาหนดนโยบายต่างประเทศของอินเดียมาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต่อภูมิภาคตะวันออกกลาง ดังนั้น รายงานดังกล่าวจึงเสนอแนะว่าในการกาหนดนโยบาย ต่างประเทศต่ออินเดีย บรรดาผู้กาหนดนโยบายต่างประเทศของตะวันออกกลางควรทาความเข้าใจ ความสาคัญของค่านิยมและวัฒนธรรมในการกาหนดนโยบายต่างประเทศของอินเดียทั้งโดยรวมและ ต่อภูมิภาคตะวันออกกลางโดยเฉพาะ และใช้ประโยชน์จากจุดร่วมในวัฒนธรรมและค่านิยมระหว่าง ดินแดนเพื่อนบ้านทั้งสองที่มีอยู่มากและดาเนินมาอย่างต่อเนื่องตลอดการปฏิสัมพันธ์กันอันยาวนาน ในประวัติศาสตร์ เพื่อกาหนดนโยบายการต่างประเทศอันจะช่วยให้ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียและ ตะวันออกกลางก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป https://www.google.co.th/search?q=hymn+for+the+weekend&espv
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ค่านิยมของอินเดีย เมื่อคานึงถึงว่าอินเดียเป็นดินแดนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและค่านิยม มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก แต่ก็ยังมีวัฒนธรรมร่วม ค่านิยมร่วม และอัตลักษณ์ร่วมที่สาคัญบางอย่าง ที่สามารถกล่าวได้ว่าเป็นตัวแทนของอินเดียส่วนรวมได้ วัฒนธรรมเหล่านี้ส่วนมากกลายมาเป็นมรดก ร่วมของอินเดียโดยการสืบทอดผ่านรากเหง้าของศาสนามานับพันปี จนฝังรากในโลกทัศน์ของคน อินเดีย มิเช่นนั้นก็เป็นหลักการที่ชนชั้นนาของอินเดียในแต่ละยุคสมาทานและสร้างขึ้นเป็นอัตลักษณ์ ของชาติ ค่านิยมร่วมที่สาคัญของอินเดียได้แก่ หลักอหิงสา (หลักการสันติวิธีไม่ใช่ความรุนแรง) หลักความอดทนอดกลั้นต่อความแตกต่างในสังคม และหลักพหุนิยมทางเชื้อชาติและ วัฒนธรรม อุดมการณ์และความเชื่อทางศาสนา เป็นต้น อิทธิพลของค่านิยมในการต่างประเทศของอินเดีย ค่านิยมเช่น หลักการไม่ใช่ความรุนแรงโดยไม่จาเป็น และหลักพหุนิยมในสังคมนั้นเป็นสิ่งที่มี รากเหง้าอยู่ในคาสอนของศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ และศาสนาเชน ซึ่งล้วนเป็นศาสนาที่กาเนิดใน อินเดีย หลักการดังกล่าวได้ถูกนามาใช้เป็นหลักในการต่อสู้ของขบวนการเรียกร้องเอกราชอินเดีย จากอังกฤษ นาโดยมหาตมะ คานธี และได้รับการสืบทอดต่อมาเป็นอัตลักษณ์แห่งชาติและส่งผลต่อ การกาหนดนโยบายต่างประเทศที่สาคัญๆในยุคของเนห์รู ในช่วงทศวรรษที่ 1950-60 ตัวอย่างเช่น ท่าทีของอินเดียกับสงครามเย็นโดยรวมนั้น อินเดียในยุคของเนห์รูเป็นผู้นา จัดตั้งกลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด (Non Aligned Movement: NAM) ซึ่งเน้นแนวทางการแก้ปัญหา ระหว่างประเทศโดยสันติวิธีและการอดทนอดกลั้น รวมทั้งยอมรับความแตกต่างทางอุดมการณ์ ความ เชื่อ มิให้มาเป็นอุปสรรคในการสัมพันธ์กันของชาติต่างๆ ซึ่งมีความต่อเนื่องอย่างเห็นได้ชัดจาก หลักการที่ยึดเป็นแนวปฏิบัติในยุคเรียกร้องเอกราช และในส่วนของความสัมพันธ์กับตะวันออกกลาง โดยตรงนั้น ประวัติศาสตร์ของการจัดตั้ง NAM มีรากฐานมาจากมิตรภาพระหว่างเนห์รูกับนายพล Abdul Gamal Nusser ผู้นาอียิปต์ในเวลานั้น อินเดียภายใต้ยุคที่พรรคคองเกรสปกครองนั้น มีอัต ลักษณ์ของประเทศคือเป็นรัฐชาตินิยมสมัยใหม่ที่แยกศาสนาจากการเมือง ฐานเสียงที่สาคัญของคอง เกรสจึงประกอบด้วยชนกลุ่มน้อยทางศาสนาในอินเดีย ซึ่งจานวนมากที่สุดในกลุ่มนี้คือชาวมุสลิม ที่มี อยู่ราวสิบห้าเปอร์เซ็นต์ของประชากรอินเดีย แม้ภายใต้ยุคที่พรรค BJP ซึ่งมีแนวทางเป็นชาตินิยมฮินดูครองอานาจในปัจจุบัน แต่ค่านิยม เรื่องพหุนิยมทางศาสนา วัฒนธรรม และการเคารพความแตกต่างนั้นก็ยังคงได้รับการรักษาไว้ เช่น ในการเยือนประเทศตะวันออกกลางครั้งแรกของโมดีที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์เมื่อปี 2015 นั้นโมดีก็ได้ กล่าวอย่างเป็นนัยยะสาคัญว่า “สันติภาพและความสมดุลดารงอยู่ในอิสลาม” ระหว่างการเยือนมัสยิด กลางที่นั่น และภายในประเทศเองโมดีก็เดินทางไปพบกับผู้นามุสลิมของอินเดีย พร้อมประกาศว่า “มุสลิมอินเดียจะมีชีวิตอยู่และตายเพื่ออินเดีย”
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ข้อเสนอแนะต่อผู้กาหนดนโยบายต่างประเทศในตะวันออกกลาง รายงานฉบับนี้ชี้ว่าอินเดียกับตะวันออกกลางนั้นเป็นดินแดนที่มีความสัมพันธ์พิเศษต่อกัน เพราะเป็นเพื่อนบ้านที่ใกล้ชิดกัน มีการไปมาหาสู่ ติดต่อ อพยพเคลื่อนย้าย ปฏิสัมพันธ์กันและกัน มายาวนานหลายพันปี ถ้าพูดในแง่ของวัฒนธรรมแล้ว อินเดียใกล้ชิดกับตะวันออกกลาง หรือที่ อินเดียเรียกว่า “เอเชียตะวันตก” มากยิ่งกว่ามหาอานาจอื่นๆ เช่น สหรัฐ จีน หรือรัสเซีย รวมทั้งมี ประวัติศาสตร์ในบางช่วงบางตอนร่วมกัน อัตลักษณ์หลายอย่างที่คล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จุดร่วมทางศาสนาระหว่างมุสลิมในตะวันออกกลางกับมุสลิมในอินเดีย เหล่านี้เป็นสิ่งที่ผู้กาหนด นโยบายต่างประเทศต่ออินเดียในตะวันออกกลางสามารถดึงมาใช้ประโยชน์ในการกระชับ ความสัมพันธ์กับอินเดียต่อไป นัยยะต่อประเทศไทย ไทยเองนั้นก็มีมารดาทางวัฒนธรรมคือภารตประเทศ ทั้งศาสนาพุทธ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภาษาของเรานั้นก็สืบทอดจากอินเดีย ดังนั้น เราก็ควรใช้สายใยทางวัฒนธรรมที่ใกล้ชิดนี้ เป็นช่องทางกระชับความสัมพันธ์ให้ใกล้ชิดกับอินเดียมากขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะในยุคบูรพาภิวัตน์ที่ อินเดียจะเป็นอีกมหาอานาจที่ขึ้นมาสาคัญต่อภูมิภาคของเราไม่แพ้จีน ซึ่งเวลานี้อินเดียเองก็ ต้องการ “มุ่งตะวันออก” มาสู่แผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ด้วยเช่นกัน เอกสารอ้างอิง Kadira Pethiyagoda. Dealing with Delhi: How Culture Shapes India’s Middle East Policy. Brookings Doha Center. ออนไลน์ http://www.brookings.edu/~/media/research/files/ papers/2015/12/kadira-india-middle-east/en-dealing-with-delhi.pdf.
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย เวทีนักวิจัยคลังปัญญา: การนาเสนอร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติได้จัดเวทีนาเสนอร่าง รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของโครงการวิจัยภายใต้สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ จานวน 5 เรื่อง ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค รัชดาภิเษก ดังนี้ 1. ขบวนการรัฐอิสลาม (IS)ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ: นัยต่อโลก เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ และไทย (โดย อ.อาทิตย์ ทองอินทร์ หัวหน้าภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัย นวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต) 2. การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็น "อานาจขนาดกลาง": กรณีศึกษา ประเทศอินโดนีเซีย ตุรกี และบราซิล (โดย อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล อาจารย์ประจาสถาบันการทูต และการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต) 3. แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบ ต่อความเป็นไปในสังคมไทย (โดย ผศ.วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์ อาจารย์ประจาแขนงวิชา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช)
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4. บทบาทของประเทศตุรกีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (โดย คุณอัสมะ ตันหยงดาโอะ นักวิจัยอิสระ) 5. จีน-อเมริกา: การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย (อ.ศิวพล ละอองสกุล อาจารย์ประจาวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต) ในโอกาสนี้ สถาบันคลังปัญญาฯได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิมาให้คาชี้แนะต่อร่างรายงาน วิจัยฉบับสมบูรณ์ข้างต้นได้แก่ ศ.ดร. จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ กรรมการบริหารสมาคมวิจัยวิทยาการขนส่งแห่ง เอเชีย ผศ.ดร. ศุภมิตร ปิ ติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตเอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ คณบดีสถาบันการทูตและ การต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต โดยมี ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้อานวยการสถาบันคลัง ปัญญาฯและอธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นประธาน ปริทัศน์งานวิจัยคลังปัญญา (ตอนที่ 1) ขบวนการรัฐอิสลาม (IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ: นัยต่อโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย ณ โดย อ.อาทิตย์ ทองอินทร์ หัวหน้าภาควิชาสังคมศาสตร์ วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต งานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาเรื่องไอเอสในเชิงวิพากษ์ต่อข้อสรุปหรือคาอธิบายกระแสหลักในวงวิชาการ ตะวันตก โดยศึกษาไอเอสในฐานะกลุ่มก่อการร้ายเบอร์หนึ่งของโลกที่ก้าวขึ้นมาจากกลุ่มที่ไม่มีใครรู้จัก เมื่อสามสี่ปีก่อนจนกลายเป็นตัวแสดงระหว่างประเทศที่ยากจะปฏิเสธไปแล้ว ในการติดตามความ เคลื่อนไหวอันปั่นป่วนของตะวันออกกลางในระยะสามสี่ปีมานี้จะขาดปัจจัยของไอเอสไปเสียจากการ วิเคราะห์มิได้เป็นอันขาด ในท่ามกลางความกังวลและความหวาดกลัวว่าเมื่อไรที่ไอเอสจะลามมายัง ไทย งานวิจัยชิ้นนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อทาความเข้าใจเรื่องดังกล่าวอย่างลึกซึ้ง เป็นระบบ โดยศึกษาค้นคว้า อย่างกว้างขวางจากงานในวงวิชาการไทย ตะวันตก รวมทั้งงานของนักวิชาการในโลกอาหรับ ทาให้ ได้ผลการศึกษาเชิงลึกที่กว้างขวาง ทั้งยังสามารถโต้แย้งและอธิบายความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ ไอเอสในวงวิชาการตะวันตกและสังคมไทยได้อีกด้วย งานชิ้นนี้แบ่งเนื้อหาออกเป็น 4 ส่วนหลัก คือ (1) แนวคิดของกลุ่ม (2) การก่อตัวขึ้นของกลุ่ม (3) นัยเกี่ยวพันกับโลก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และไทย และ (4) ข้อเสนอสาหรับประเทศไทยเพื่อ เตรียมพร้อมเผชิญภัยคุกคามจากไอเอส ซึ่งสถาบันคลังปัญญาจะเผยแพร่งานวิจัยดังกล่าวเร็วๆ นี้
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ปีที่เผยแพร่: พฤษภาคม 2559 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064