SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
Télécharger pour lire hors ligne
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
ปีที่ 2 ฉบับที่ 5
มิถุนายน 2559
ยุทธศาสตร์ประเทศไทยยุทธศาสตร์ประเทศไทย
ภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไปภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป
ปีที่ 2 ฉบับที่ 5
มิถุนายน 2559
CHATHAM HOUSE การวางแปนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม
CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER  ตะวันออกกลางวุ่นวาย
เพราะรัฐอาหรับอ่อนแอ
BROOKINGS  จีนในฐานะปู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบรรณาธิการ
สวัสดีเดือนมิถุนายนค่ะผู้อ่านทุกท่าน และแล้วฤดูฝนก็เวียนมาอีกครั้งซึ่งคงทาให้ทั่วทุก
ภูมิภาคของไทยได้สัมผัสกับความชุ่มฉ่าจากฝนที่รอคอยกันมานานกว่า 3 เดือน ยากที่จะปฏิเสธได้
จริงๆ ว่าฤดูร้อนที่ผ่านมา อากาศร้อนมากและดูเหมือนว่าจะมีแนวโน้มร้อนมากขึ้นทุกๆ ปี วิกฤต
สภาพภูมิอากาศนี้ไม่ได้เกิดเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่นับเป็นปัญหาที่ทุกประเทศกาลังเผชิญ
อยู่และจาเป็นต้องเร่งแก้ไขหรือบรรเทาให้ได้โดยเร็ว ในเดือนนี้ World Think Tank Monitors จึงมี
ความยินดีที่จะนาเสนอบทความจาก Chatham House เรื่องการวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนเพื่อ
เป้าหมายในการลดภาวะโลกร้อนและปัญหาสิ่งแวดล้อมเพื่อสะท้อนให้ผู้อ่านได้เห็นบทบาทของจีน
ในแง่มุมที่ต่างจากที่เราเคยรู้จัก สาหรับสถาบัน Think Tank อื่นๆ ก็มีประเด็นระหว่างประเทศในอีก
หลากหลายแง่มุมที่น่าสนใจไม่แพ้กัน อาทิ ความวุ่นวายในภูมิภาคตะวันออกกลาง และสาเหตุที่
รัสเซียไม่ใกล้ชิดกับอาเซียน ฯลฯ
ด้านสถาบันคลังปัญญาฯ ในเดือนที่ผ่านมา ได้จัดการประชุมเวทีระดมสมอง เรื่อง
ยุทธศาสตร์ประเทศไทยภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป ซึ่งการแลกเปลี่ยน
จากการประชุมครั้งนี้ทาให้ได้มาซึ่งข้อสรุปอันเป็นกุญแจสาหรับยุทธศาสตร์พัฒนาบ้านเมืองของเรา
นั่นคือ พลังชาวบ้าน พลังท้องถิ่น พลังประชาสังคม ที่แท้นั้นสังคมไทยมีพลังการแก้ปัญหาอยู่ใน
ตัวเองอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องนาพลังมาเป็นกาลังของบ้านเมืองให้มากขึ้น การเสริมพลังประชาสังคม
และท้องถิ่นให้เข้มแข็งจึงเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาบ้านเมืองไทยในยุคนี้
ยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการ
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
สารบัญ
หน้า
บทบรรณาธิการ
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
 CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม 1
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
 BROOKINGS จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก 3
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
 Carnegie Moscow Center เหตุใดรัสเซียไม่สนิทกับอาเซียน : มุมมองจากรัสเซีย 5
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
 Carnegie Middle East Center ตะวันออกกลางวุ่นวายเพราะรัฐอาหรับอ่อนแอ 7
ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
ยุทธศาสตร์ประเทศไทยภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป 9
การประชุมคลังปัญญาสัญจร ณ ระนอง เมืองชายแดน 13
The Ambassadors’ Forum เรื่อง พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์กับการต่างประเทศของไทย 14
1
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคยุโรป
CHATHAM HOUSE
เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย
การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม
Photo: http://www.mckinseychina.com/podcast/is-there-a-chinese-model-of-innovation-2/
ปัจจุบันเรื่องราวของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระยะ 5 ปี ฉบับที่ 13 (ปี 2016 -
2020) ของจีนได้กลายเป็นประเด็นที่กาลังได้รับการจับตามองจากทั่วโลกไม่แพ้ความเคลื่อนไหวด้าน
อื่นๆ ความพิเศษของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้คือการที่จีนได้กาหนดอัตราการเติบโต
ทางเศรษฐกิจใน 5 ปีข้างหน้าไว้เพียงร้อยละ 6.5 ซึ่งนับเป็นอัตราที่ต่าที่สุดเท่าที่เคยมีมา การ
ตัดสินใจนี้สะท้อนให้เห็นว่าการพัฒนาของจีนได้เริ่มกลับมาสู่รูปแบบปกติที่ใกล้เคียงกับการพัฒนา
ของประเทศอื่นๆ มากขึ้น ประธานาธิบดีสีจิ้นผิงได้ประกาศถึงเป้าหมายใหม่ของจีนที่ให้ความสาคัญ
การเติบโตอย่างมีคุณภาพแม้เศรษฐกิจจะขยายตัวได้ช้าลง จากกรณีดังกล่าว Dr. Sam Geall
ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของสถาบัน Chatham House ได้วิเคราะห์ถึงนโยบายที่
เปลี่ยนไปของจีนไว้ ดังนี้
รายละเอียดของแผนพัฒฯ ฉบับที่ 13 ของจีนปรากฏแนวทางการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่
น่าสนใจไว้ โดยมีหัวใจสาคัญคือ การพัฒนานวัตกรรมสีเขียว ที่ส่งเสริมให้การเติบโตของจีนใน
อนาคตเกิดขึ้นควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนานวัตกรรมสีเขียวดังกล่าว ได้
วางเป้าหมายของการดาเนินงานไว้ ดังนี้
2
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1. กาหนดกฎหมายและกระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบแนวตั้ง (vertical management
system) เพื่อให้สามารถควบคุมดูแลไปยังระดับท้องถิ่นได้อย่างทั่วถึง
2. ลดอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนต่อหน่วยของจีดีพีให้ได้ร้อยละ 18 ภายในปี 2020
3. ลดปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยของจีดีพีลงร้อยละ 15 ภายในปี 2020
4. ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลและเพิ่มแหล่งพลังงานทางเลือกให้ได้ร้อยละ 15 ภายในปี 2020
5. ลดปริมาณฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน(PM2.5) ซึ่งเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ
ลงให้ได้ร้อยละ 25
สิ่งที่รัฐบาลจีนกาลังทาอยู่นั้น ไม่เพียงแต่เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อองค์การ
สหประชาชาติ (UN) ในการลดการปล่อยก๊าซเท่านั้น แต่จุดหมายปลายทางที่ยิ่งใหญ่กว่าคือ การ
ก้าวสู่การเป็นประเทศผู้นาในการผลิตเทคโนโลยีคาร์บอนต่า ซึ่งในเบื้องต้น จีนได้เพิ่ม
งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนา พร้อมทั้งเร่งเพิ่มจานวนการจดสิทธิบัตรนวัตกรรมใหม่ๆ ให้มาก
ขึ้นด้วย
นวัตกรรมสีเขียวได้ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งในทุกนโยบายหลักของการพัฒนาประเทศรวม
ไปถึงยังบูรณาการไปสู่ภาคเอกชนและผู้ประกอบการ ทาให้ทุกภาคส่วนในจีนจาเป็นต้องตื่นตัวและ
ปรับตัวเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ซึ่งในไม่ช้านี้ ประชาคมโลกอาจจะไปพบกับบทบาท
ใหม่ของจีนที่ในฐานะประเทศมหาอานาจที่พัฒนาอย่างมีคุณภาพและมีความรับผิดชอบต่อ
สิ่งแวดล้อมก็เป็นได้
เอกสารอ้างอิง
Sam Geall. China’s Plan for Innovation Could Help It Meet Climate Goals. Chathum
House. ออนไลน์: https://www.chathamhouse.org/expert/comment/china-s-plan-
innovation-could-help-it-meet-climate-goals
3
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต

Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา
BROOKINGS
เรียบเรียงโดย ปลายฟ้า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย
จีนในฐานะผู้ลงทุนขนาดใหญ่ของโลก
Photo: http://www.china-briefing.com/news/wp-content/uploads/2012/12/China-Overseas-FDI_300x230pix.jpg
สถาบัน Brookings เผยแพร่วิจัยเกี่ยวกับบทบาทของจีนในฐานะผู้ลงทุนขนาดใหญ่ของโลก
โดยประเทศที่มีขนาดการลงทุนใหญ่ๆของโลก ส่วนมากเป็นประเทศพัฒนาแล้ว นอกจากนี้ยังเป็น
ประเทศที่มีการลงทุนโดยตรง (direct investment) จากต่างประเทศ ซึ่งประเทศเหล่านี้มักจะเป็น
ประเทศที่เปิดมากๆต่อการลงทุนภายในประเทศ แต่ประเทศจีนนั้นแตกต่างจากประเทศอื่น คือเป็น
ประเทศกาลังพัฒนา
จีนเป็นจุดหมายสาคัญของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการเปิดให้ประเทศอื่นๆเข้า
มาก็นับเป็นส่วนสาคัญของโครงการปฏิรูปจีนตั้งแต่ปี 1978 อย่างไรก็ตาม จีนยังคงมีนโยบายควบคุม
การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในบางภาคส่วน โดยปกติแล้ว ประเทศจีนจะเปิดรับการลงทุน
โดยตรงจากต่างประเทศในภาคการผลิตมากที่สุด แต่มีบางภาคส่วนที่ยังปิด เช่น การทาเหมือง การ
ก่อสร้าง และการบริการที่ทันสมัย
การที่ประเทศกาลังพัฒนาอย่างจีนกลายมาเป็นประเทศผู้ลงทุนขนาดใหญ่ที่สุดในโลกเป็น
ปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดคาถามว่าการลงทุนของจีนคล้ายกับการลงทุนของประเทศอื่น
อย่างไร แต่ถ้าไม่ จะทาให้เกิดความท้าทายต่อบรรทัดฐานเดิมของโลกที่ปฏิบัติกันมาหรือไม่
4
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ซึ่งงานวิจัยของ Brookings ฉบับนี้ จึงออกมาแสดงทัศนะที่ว่า รูปแบบการลงทุนของจีนนั้น
แตกต่างจากบรรทัดฐานเดิมของโลก 3 ข้อ ดังนี้
1. การลงทุนของจีนนั้นมักจะลงทุนในประเทศที่การปกครองอ่อนแอ เช่น ประเทศเผด็จการ
2. โดยทั่วไป จีนนั้นไม่ทาผูกมัดตัวเข้ากับมาตรฐานโลกในด้านการปกป้องสิ่งแวดล้อมและ
พิทักษ์สิทธิทางสังคม (standard of environmental and social safeguards)
3. ประเทศจีนยังมีการปิดกันการลงทุนจากต่างประเทศในหลายภาคส่วน ซึ่งแตกต่างจากคู่
ค้าของตนทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วและกาลังพัฒนา
Brookings มีความกังวลว่า ความแตกต่างระหว่างจีนที่ค่อนข้างปิดกั้นการลงทุนในบางภาค
ส่วนกับสหรัฐอเมริกาและประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่อีกหลายประเทศจะกลายเป็นปัญหาใน
อนาคต และเกรงว่าจะเกิดปัญหาในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน พร้อม
เสนอให้สหรัฐอเมริกาใช้มาตรการทั้งการให้รางวัลและการลงโทษ(carrots and sticks) ในการรับมือ
กับปัญหานี้ โดยมาตรการการลงโทษ(sticks) แนะนาให้รัฐบาลสหรัฐแก้ไขกฎหมายคณะกรรมการ
กากับการลงทุนต่างชาติของสหรัฐอเมริกา (Committee on Foreign Investment in The United
State’ ) ที่จะสามารถจากัดสิทธิ์ของประเทศต่าง ๆ ที่สหรัฐอเมริกาไม่ได้มีข้อตกลงด้านการลงทุน
แบบทวิภาคีในการเข้าซื้อกิจการรัฐวิสหกิจของสหรัฐอเมริกา ในส่วนมาตรการให้รางวัล(carrots)
สหรัฐอเมริกาควรผลักดันให้บรรลุความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก หรือ
Trans-Pacific Partnership(TPP) ซึ่งจะทาให้เกิดการรวมตัวอย่างใกล้ชิดในกลุ่มประเทศที่มีความ
คิดเห็นตรงกันในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หากสาเร็จจะทาให้จีนเปิดการลงทุนมากขึ้นและต้องเผชิญ
กับมาตรฐานที่สูงขึ้นที่ตั้งโดย TPP และสาหรับประเทศจีนนั้น การเปิดการลงทุนเป็นส่วนหนึ่งใน
แผนการปฏิรูปของจีนอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องการแรงจูงใจเพื่อทาให้เกิดขึ้นได้จริง


เอกสารอ้างอิง
David Dollar. China as a global investor. Brookings. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/
research/papers/2016/05/china-as-global-investor-dollar





5
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย
 Carnegie Moscow Center
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
เหตุใดรัสเซียไม่สนิทกับอาเซียน : มุมมองจากรัสเซีย
ในบทความเรื่อง Russia Still Seeking a Role in ASEAN ของสถาบัน Carnegie Moscow
Center ผู้เขียน Anton Tsvetov อธิบายว่า เหตุใดรัสเซียจึงไม่สนิทกับอาเซียน เทียบกับมหาอานาจ
อื่นๆ อย่างสหรัฐ จีน ญี่ปุ่น หรืออินเดีย ทั้งๆที่อาเซียนเป็นโอกาสที่ยิ่งใหญ่สาหรับรัสเซีย ด้วย
จานวนคนราวหกร้อยล้านคนและจะเติบโตเป็นเศรษฐกิจใหญ่อันดับสี่ของโลกภายในปี 2050
ภาพรวมความสัมพันธ์รัสเซีย-อาเซียน
แม้รัสเซียจะมีสถานะเป็น “หุ้นส่วน” ของอาเซียน ตั้งแต่เมื่อปี 1996 หรือยี่สิบปีผ่านมาแล้ว
แต่ความสัมพันธ์อาเซียน-รัสเซียก็ยังเหินห่างเมื่อเทียบกับมหาอานาจอื่นที่กล่าวมา ทางการค้า แม้
มูลค่าการค้ารัสเซีย-อาเซียนจะเพิ่มขึ้นถึงห้าเท่าในช่วงปี 2005-2014 แต่รัสเซียยังคงเป็นคู่ค้าอันดับ
ที่ 14 ของอาเซียน โดยรัสเซียนาเข้าสินค้าจากอาเซียนน้อยกว่าร้อยละ 1 ของผลรวมการส่งออกของ
อาเซียนทั้งหมด ขณะที่อาเซียนก็นาเข้าเพียงร้อยละ 2.7 ของสินค้าส่งออกของรัสเซีย ในจานวนนี้
ส่วนใหญ่คือ แร่ธาตุ เครื่องมือเครื่องจักร และเคมีภัณฑ์ และถ้าระบุให้ละเอียดลงไป สินค้าเด่นที่
รัสเซียขายให้อาเซียนคือ พลังงานและอาวุธ ด้านพลังงานมีทั้งน้ามันและก๊าซธรรมชาติที่ขายให้
เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ รวมทั้งเทคโนโลยีพลังงานนิวเคลียร์ที่บทความนี้อ้างว่ารัสเซียมี
Photo: http://atimes.com/2016/05/sochi-asean-summit-russia-eyes-economic-expansion-in-southeast-asia/
6
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
โครงการสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานนิวเคลียร์ในเวียดนามและไทย ขณะที่สินค้าที่เป็นที่นิยม
อันดับหนึ่งของรัสเซียในตลาดอาเซียนก็คืออาวุธ ทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า และโดยเฉพาะ
เวียดนามต่างก็เป็นลูกค้าอาวุธของรัสเซีย เวียดนามนั้นซื้อทั้งเครื่องบินรบ เรือดาน้า ระบบป้องกันมิส
ไซล์และเรือรบลาดตระเวน ด้านการลงทุน ในช่วงปี 2012-2014 รัสเซียลงทุนในอาเซียนเพียงร้อยละ
0.2 ของการลงทุนของต่างชาติในอาเซียนทั้งหมด และในจานวนนี้กว่าครึ่งไปลงที่เวียดนาม
เหตุแห่งความไม่สนิท
บทความจาก Carnegie Moscow วิเคราะห์ว่า ประการแรก เพราะตลอดมานโยบาย
ต่างประเทศรัสเซียมุ่งตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะการรักษาเขตอิทธิพลใน “สวนหลังบ้าน” คือ
ประเทศกลุ่มอดีตสหภาพโซเวียตทั้งหลายหรือกลุ่มประเทศสถานแห่งเอเชียกลางในปัจจุบัน และให้
ความสาคัญกับยุโรป และสหรัฐอเมริกาเป็นหลัก และในปัจจุบันก็ขยายความสนใจด้านการ
ต่างประเทศไปยังตะวันออกกลาง ยุทธศาสตร์ต่างประเทศที่ผ่านมาของรัสเซียเองที่เป็นสาเหตุสาคัญ
ทาให้รัสเซียเป็น “คนนอก” สาหรับเอเชียมาตลอด แม้พื้นที่ส่วนมากของตัวเองจะอยู่ในเอเชียก็ตาม
(และก็เป็นคนนอกของยุโรปด้วยเช่นกัน) ในปี 2013 และ 2014 ทางการรัสเซียได้จัดอันดับ
ความสาคัญในการต่างประเทศของตน เอเชีย-แปซิฟิกอยู่อันดับสามในปีแรก รองจากกลุ่มประเทศ
CIS (Commonwealth of Independent States) และสหภาพยุโรป และตกลงมาที่อันดับสี่ในปีหลัง
โดยถูกสหรัฐแย่งอันดับที่สามไป แม้ในยุคที่รัสเซียประกาศนโยบาย “มุ่งตะวันออก (pivot to the
east)” นี้ บทความนี้ก็วิเคราะห์ไว้ว่า “อาเซียนเป็นได้อย่างดีที่สุดก็คือเป็นอันดับสองรองจากจีน
สาหรับรัสเซีย” ประการต่อมา อาเซียนเป็นดินแดนที่ห่างไกลจากรัสเซียมาก และนั่นก็ทาให้
ความรู้สึกของคนสองดินแดนนี้ห่างเหินกันตามธรรมชาติ ไม่เป็นที่รู้จักของกันและกันนัก และมี
ประวัติศาสตร์ร่วมกันน้อยมาก เมื่อไม่มีสิ่งเหล่านี้ ก็เท่ากับขาดพื้นฐานที่สาคัญในการกระชับ
ความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้น
อย่างไรก็ดี การที่รัสเซียเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดรัสเซีย-อาเซียน ที่เมืองโซชิ(Sochi)
เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ก็อาจเป็นสัญญาณว่ารัสเซียกาลังพยายามไล่ตามมหาอานาจอื่นๆ ใน
การ “จีบ” ภูมิภาคอาเซียน และ “หันสู่ตะวันออก (pivot to the east)” กับเอเชียโดยรวมมากขึ้น ซึ่งก็มี
เหตุผลที่รัสเซียจะทาเช่นนั้น เพราะเวลานี้ทั้งยุโรปและสหรัฐก็ตกต่า ยุโรปที่เป็นที่ที่นโยบาย
ต่างประเทศรัสเซียแต่ไหนแต่ไรมาจับจ้องตลอดก็เจอปัญหารุมเร้าและคดีความเรื่องยูเครนเมื่อปี 2014
กับรัสเซียก็ยังไม่จางหาย อนึ่ง บทความนี้ระบุว่าในบรรดาชาติอาเซียน รัสเซียแนบแน่นกับเวียดนาม
มากที่สุด เพราะเคยร่วมศึกกันมาตั้งแต่สมัยสงครามเย็น หากรัสเซียจะเข้าหาอาเซียน วิธีที่ง่ายที่สุด
คือเข้าผ่านทางเวียดนาม
เอกสารอ้างอิง
Anton Tsvetov. Russia Still Seeking a Role in ASEAN. Carnegie Moscow Center. ออนไลน์
http://carnegie.ru/commentary/2016/05/19/russian-still-seeking-role-in-asean/iygc
7
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง
Carnegie Middle East Center
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
ตะวันออกกลางวุ่นวายเพราะรัฐอาหรับอ่อนแอ
Photo: http://carnegie-mec.org/?lang=en#slide_6771_improving-governance-in-arab-world
ในบทความเรื่อง Improving Governance in the Arab World ของสถาบัน Carnegie
สานักงานกรุงเบรุต เลบานอน เขียนโดย Marwan Muasher รองประธานด้านการศึกษาของสถาบัน
Carnegie อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจอร์แดน และอดีต
นักการทูตผู้คร่าหวอดของจอร์แดน เสนอว่า ตะวันออกกลางวุ่นวายเพราะปัญหาภายในของบรรดา
ชาติอาหรับเอง ที่มีระบอบการเมือง-การจัดการสังคมเดินมาถึงจุดที่ล้าหลังและอ่อนแอ ไม่สามารถ
จัดการความท้าทายทางการเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคงของประเทศตนได้ มากกว่าข้อกังวลระดับ
ภูมิภาคอย่างการเติบโตของอิหร่าน ไอเอสหรือแม้แต่การแทรกแซงจากอานาจภายนอกอย่างอเมริกา
และตะวันตกอย่างที่คนภายนอกมักสนใจกัน
ความอ่อนแอ-ล้าหลังของระบบสังคมการเมืองอาหรับที่ว่านี้ เช่น ระบอบการปกครอง
แบบอานาจนิยมที่ครองอานาจยาวนานในสังคมและเหินห่างกับประชาชนของตน โดยเฉพาะเยาวชน
คนรุ่นใหม่ที่เป็นประชากรหลักของคนอาหรับ 240 ล้านคน (ซึ่งเป็นแนวโน้มด้านประชากรที่สวน
กระแสส่วนอื่นของโลก) คอร์รัปชั่น ระบอบเศรษฐกิจและการศึกษาที่ล้าสมัย (ระบอบเศรษฐกิจที่พึ่งพา
แต่การส่งออกน้ามันมาหลายทศวรรษ) และปัญหาการว่างงาน (ซึ่งกระทบคนรุ่นใหม่มากที่สุด)
8
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ในการนี้ Muasher เสนอให้รัฐบาลของชาติอาหรับออกมาปฏิรูปตัวเองให้ทันต่อความ
ท้าทายทางเศรษฐกิจการเมืองและความต้องการของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป โดยให้ดู
ตัวอย่างจากตูนิเซีย ซึ่งภายหลังอาหรับสปริงส์เมื่อปี 2011 ได้เข้าสู่ช่วงเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบการ
ปกครองที่เปิดกว้างมากขึ้น และซาอุดิอาระเบียที่เริ่มเปลี่ยนฐานเศรษฐกิจของประเทศจากการ
ส่งออกน้ามันสู่การลงทุนและการผลิต อนึ่ง Muasher เตือนว่าพลังการลุกฮือของประชาชนในยุค
อาหรับสปริงส์จะไม่เงียบหายไปเปล่าๆอย่างที่หลายคนคิด แต่จะกลับมาใหม่หากรัฐอาหรับยังไม่
ปรับตัวหรือปรับตัวไม่ทันการ
การออกมาเสนอว่าปัญหาตะวันออกกลางเกิดจากภายในอ่อนแอเองมากกว่าจะโทษปัจจัย
ภายนอก และถ้าจะทาให้ประเทศดีขึ้นก็ต้องปรับปรุงให้ตัวเองเข้มแข็งของ Muasher นี้ ทาให้นึก
เทียบกับประสบการณ์ของชาติเอเชียในยุคล่าอาณานิคม เช่น จีนสมัยราชวงศ์ชิง กล่าวคือ
ความหมายที่ Muasher ต้องการจะสื่ออาจจะอยู่ที่ว่า ไม่ใช่ว่าปัจจัยภายนอกหรือปัญหาระดับภูมิภาค
อย่างสงครามต่อต้านการก่อการร้ายของตะวันตกหรือไอเอสไม่ใช่สิ่งที่มากระทบดินแดนอาหรับ ตรง
ข้าม สิ่งเหล่านี้คือภัยคุกคามของอาหรับอย่างแน่นอน เหมือนเช่นที่จักรวรรดิอังกฤษและชาติ
ตะวันตกอื่นๆเป็นภัยคุกคามของจีนในศตวรรษที่ 19 แต่เมื่อเวลาผ่านไป นักเรียนประวัติศาสตร์
ทั้งหลายต่างสรุปว่า จักรวรรดิจีน ต้องถึงคราวล่มสลายเพราะความอ่อนแอ ทุจริต ล้าสมัยและการไม่
ยอมปรับตัวของรัฐจีนในยุคนั้นเอง จึงไม่ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งด้านโลกทัศน์ ความรู้
วิทยาการเทคโนโลยี ฯลฯ จึงต้องแพ้ให้ตะวันตก เชื่อว่าบทความนี้ของ Muasher คงอยากจะเตือนรัฐ
อาหรับทั้งหลายให้ตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงภายใน-ภายนอกและปรับตัวเพื่อไม่ให้ซ้ารอยใน
ความหมายนี้มากกว่า
เอกสารอ้างอิง
Marwan Muasher. Improving Governance in the Arab World. Carnegie Middle East Center.
ออนไลน์ http://carnegie-mec.org/?lang=en#slide_6771_improving-governance-in-arab-
world.
9
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Think Tank ในประเทศไทย
 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT
เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย
ยุทธศาสตร์ประเทศไทย
ภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป
วันอังคารที่ 7 มิถุนายน 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้จัดเวทีระดมสมอง
เรื่อง ยุทธศาสตร์ประเทศไทยภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป ณ โรงแรมหัว
ช้าง เฮอริเทจ ราชเทวี กทม.โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิในหลากหลายวงการ ทั้งภาครัฐ
เอกชน ประชาสังคม และนักวิชาการ อาทิ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ดร.สารสิน วีระผล อดีต
เอกอัครราชทูตและรองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ รศ.วิวัฒน์ มุ่งการดี อดีต
ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและอดีตอาจารย์ภาควิชาความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายวีระศักดิ์ โค้วสุรัตน์ อดีต
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อดีตเอกอัครราชทูตอนุสนธิ์ ชินวรรโณ รอง
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมืองและผู้อานวยการสถาบันจีน-ไทยแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต พล
โทเจิดวุธ คราประยูร ผู้บัญชาการวิทยาลัยเสนาธิการทหารบก วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ฯลฯ
10
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
รับฟังข้อเสนอยุทธศาสตร์ไทยจาก ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้าน
ยุทธศาสตร์ชาติ และอธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และระดมสมองในหัวข้อดังกล่าว
สถานการณ์โลกและสถานการณ์สังคมไทยที่เปลี่ยนไป
ศ.ดร. เอนก เริ่มต้นด้วยการชี้ให้เห็นว่าปัจจุบันเราอยู่ในโลกและสังคมไทยที่ไม่เหมือนเดิมอีก
ต่อไป เราอยู่ในโลกที่คู่ขับเคี่ยวแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นจีนกับสหรัฐอเมริกา แต่คู่นี้ทั้งขัดแย้งและ
ร่วมมือกัน เราอยู่ในโลกที่จีนและเอเชียมีความสาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ หรือที่เรียกว่ายุคบูรพาภิวัตน์ และ
ในด้านการต่างประเทศที่ส่งผลกับไทยโดยตรงนั้น นโยบายต่างประเทศที่สาคัญที่สุดของจีนในยุคนี้คือ
One Belt One Road (OBOR) เส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จะผ่าน
อาเซียนและไทยด้วย และเรายังอยู่ในยุคที่จีนและเอเชียกาลังก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการศึกษาแห่ง
ใหม่ของโลก ยุคที่ความรู้ตะวันออกกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง
เรายังพบว่าในศตวรรษที่ 21 นี้ ประเทศไทยได้เปลี่ยนไปในทางยุทธศาสตร์ ที่ตั้งของไทย
กลายเป็นภูมิศาสตร์ชั้นเลิศของภูมิภาคเอเชียและโลก เป็นจุดตัดของบรรดามหาอานาจแห่งยุค
ทั้ง จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สหรัฐ เข้ามาปะทะสังสรรค์กัน และคาบสมุทรภาคใต้ของเราก็มีสองมหาสมุทรที่
สาคัญขนาบข้าง คือมหาสมุทรอินเดียกับแปซิฟิก และเรายังมีฐานทรัพยากรมากมาย มีความ
หลากหลายทางชีวภาพ และอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของโลก เป็นศูนย์รวมสัตว์
ป่าของภูมิภาคเอเชีย และเป็นแหล่งนิเวศชั้นนาของโลก นอกจากนี้ ยังเป็นที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว
จากทั่วโลก
จุดแข็งและจุดอ่อนของไทย
ในการเผชิญความเปลี่ยนแปลงนี้ ศ.ดร.เอนก ได้มองจุดแข็งของสังคมไทยว่า สังคมไทย
ปรับตัวได้ค่อนข้างดี และรัฐปรับตัวได้พอสมควร ขณะที่ประชาชน ประชาสังคมและมวลชนรากหญ้า มี
ความสามารถและปรับตัวได้ดีกว่าความคาดหมาย นอกจากนี้ สังคมไทยกลายเป็นชนชั้นกลาง
ค่อนข้างรวดเร็ว ทาให้โอกาสที่สังคมจะ polarize ค่อนข้างยาก การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบรุนแรง
เช่นการปฏิวัติจะเกิดได้ยากในอนาคต
สาหรับจุดอ่อนของสังคมไทยคือ เราคิดในทางลบมากไป และคิดในทางสร้างสรรค์น้อยไป และ
เรายังมีความเหลื่อมล้ามาก ทาให้คนส่วนใหญ่มีรายได้และทรัพย์สินค่อนข้างต่า จึงส่งผลต่อการที่จะ
นามาใช้เป็นพลังให้กับบ้านเมืองได้น้อยไป ที่สาคัญเราใช้ท้องถิ่นมาเป็นพลังในการพัฒนาบ้านเมือง
น้อยเกินไป
11
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
กรอบคิดเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ไทย
ภายใต้สถานการณ์รอบตัวที่เปลี่ยนไปนี้ ศ.ดร. เอนก ได้เสนอกรอบคิดเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์
ประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 ไว้ กอปรด้วยประเด็นหลัก คือ
 ต้องสร้างคนไทยยุคใหม่ ด้วยการลงทุนทางวัฒนธรรมครั้งใหญ่ ปรับกระบวนทัศน์คนไทยให้
มองจากโอกาส มากกว่ามองจากปัญหา สร้างคนที่รู้กว้าง รู้รอบ และรู้ไกล มองความเชื่อมโยง
ของสิ่งต่างๆ มองแบบองค์รวม มากกว่าคนรู้ลึก ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางอย่างเดียว
 ควรใช้ความรู้ของตะวันตกเป็นฐาน แต่ต่อยอดด้วยความรู้ตะวันออกด้วย เชื่อมความร่วมมือด้าน
การศึกษากับจีนและเอเชียให้มากขึ้น และควรเป็นอิสระจากมหาอานาจ แต่เป็นมิตรกับทุก
อานาจ
 ปรับ ลด ปลด เปลี่ยนบทบาทของของรัฐ และต้องทาเฉพาะในสิ่งที่คนอื่นทาไม่ได้เท่านั้น รัฐต้อง
ส่งเสริมท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม และปล่อยให้ท้องถิ่น ประชาสังคมเข้าช่วย
ดูแลจัดการทรัพยากร ท้องถิ่นต้องรู้-ทา นาหน้าส่วนกลาง ก้าวไประดับโลกได้ ไม่ต้องรอ
ส่วนกลางนาหน้า ของดีต้องอยู่ที่ท้องถิ่น ไม่ใช่เฉพาะที่ส่วนกลาง
 ควรใช้ประโยชน์จากทาเลที่ตั้งและภูมิศาสตร์ชั้นเลิศของเราให้เต็มที่ในการพัฒนาประเทศ
 สร้างการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือรักษาวัฒนธรรมและธรรมชาติของ
ประเทศ โดยทาให้การท่องเที่ยวเป็นเรื่องของท้องถิ่น ของคนรายย่อย มากกว่าตกอยู่ในมือ
นายทุนใหญ่ รัฐส่วนกลางอย่างเดียว เช่น บังคับให้ใช้ไกด์ท้องถิ่น
แนวทางการปฏิรูปแบบ Harmony
ศ.ดร.เอนก มองการปฏิรูปในช่วงสองปีที่ผ่านมาว่า เป็นการปฏิรูปจากปัญหาที่แบ่งยิบย่อย
มากเกินไป จะเป็นการแก้ปัญหาไม่จบสิ้น การปฏิรูปควรทาเฉพาะเรื่องหลักๆเท่านั้น แล้วเรื่อง
ปลีกย่อยจะแก้ปัญหาไปได้เอง อุปสรรคอีกเรื่องคือคนที่อยากจะทาปฏิรูปก็ไม่มีอานาจ คนที่มีอานาจก็
ไม่แน่ใจว่าอยากจะปฏิรูปจริงหรือไม่
ศ.ดร.เอนก จึงได้เสนอแนวทางปฏิรูปแบบ Harmony ซึ่งมีหลักการคือ อย่าลอกตัวแบบจาก
ตะวันตกเพียงอย่างเดียว ควรใช้ประสบการณ์ตะวันออกและประสบการณ์ของไทยด้วย ควรทาแบบ
Win-Win และยึดหลัก Harmony คิดให้ทุกอย่างทุกฝ่ายอยู่ร่วมกันได้ มากกว่าที่ชอบจับทุกอย่างมา
ขัดแย้งกันอย่างที่ผ่านมา
การสร้างสานักคิด
และเพื่อสร้างองค์ความรู้รองรับการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่จะปฏิรูปแต่ละครั้งค่อยตั้ง
คณะกรรมการศึกษาขึ้นมาแต่ละที และเป็นความรู้ที่ไม่ได้ลอกเลียนแบบตะวันตก แต่สังเคราะห์จาก
ประสบการณ์ของเราและประยุกต์ใช้กับสังคมไทยได้ ศ.ดร. เอนก จึงเสนอให้ตั้ง “สานักคิด” ของไทย
เองในด้านต่างๆ และระดับต่างๆทั้งชาติและท้องถิ่น และต้องกล้าส่งออกความรู้ของเราให้โลกด้วย เช่น
12
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
เรื่องการท่องเที่ยว ไม่ควรไปลอกหลักสูตรคณะจัดการการท่องเที่ยวของตะวันตกมา ควรสร้างสานัก
คิดที่สอนการจัดการการท่องเที่ยวในแบบของระนอง แบบของล้านนา แบบของอีสาน หรือสานักคิดที่
ศึกษาความรู้ตะวันออก จีน อินเดีย มุสลิม เพื่อปรับใช้กับสังคมไทย
ข้อคิดเห็นจากผู้ร่วมประชุม
พลโทเจิดวุธ คราประยูร ผู้บัญชาการวิทยาลัยเสนาธิการทหารบก วิทยาลัยป้องกัน
ราชอาณาจักร เสนอให้กาหนดเป้าหมาย และกลไกร่วมกันก่อนที่จะทายุทธศาสตร์ชาติ เพราะ
ยุทธศาสตร์คือวิธีการที่นาไปสู่เป้าหมาย จึงต้องกาหนดเป้าหมายก่อน
รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ แสดงความคิดเห็นว่า เป้าหมายของการทายุทธศาสตร์ไทย
ควรอยู่ที่การปรับสมดุลความสัมพันธ์ทางอานาจที่บิดเบี้ยวไประหว่าง รัฐ เอกชน ประชาสังคม เช่น
อานาจรัฐและอานาจสะสมทุนถูกผูกขาด ประชาชนเข้าไม่ถึง รัฐและเอกชนฮั้วกัน ต้องทาให้ใครก็เข้าสู่
อานาจได้ ใครก็สะสมทุนได้
ขณะที่ ศ.นพ.ประเวศ วะสี เสนอว่า การทายุทธศาสตร์ชาติควรเกิดจากความร่วมมือระดม
สมองระหว่างภาคส่วนต่างๆในสังคม มากกว่าเป็นยุทธศาสตร์ของแต่ละหน่วยงานที่ไม่บูรณาการกัน
อย่างที่เป็นอยู่ จึงเสนอให้ตั้ง “เครือข่ายวิจัยยุทธศาสตร์ชาติ” ดึงเอาหน่วยงานมันสมองในภาครัฐ
เอกชน และประชาสังคม มาร่วมกันทาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของการทายุทธศาสตร์ชาติระยะยาว
ด้วย
อดีตเอกอัครราชทูตสารสิน วีระผล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์
เสริมว่าการทายุทธศาสตร์ชาติระยะยาวแบบยี่สิบปีขึ้นไปนั้นต้องดึงจากคนหลายรุ่นเข้ามาร่วมกันทา
เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นต่างวัย เป็นการใช้ประโยชน์จากคนในสังคมให้ได้มาก
ที่สุด และต้องดึงภาคเอกชนมาร่วมด้วยเพราะมีพลังมาก
ด้าน นพ.พลเดช ปิ่ นประทีป เลขาธิการสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา สนับสนุนให้ใช้พลัง
ท้องถิ่นเป็นกาลังหลักในการพัฒนาบ้านเมือง เพราะในการเปลี่ยนแปลงสังคม พลังท้องถิ่นคือของจริง
ไม่ได้อยู่ที่ร่างรัฐธรรรมนูญหรือโครงสร้างส่วนบน จึงต้องสนับสนุนการรวมกลุ่มในท้องถิ่น ประชาสังคม
ต่างๆให้เข้มแข็ง สอดคล้องกับความคิดของอาจารย์วีระศักดิ์ โค้วสุรัตน์ที่ว่า ในอนาคตพลัง
ขับเคลื่อนสังคมของคนรุ่นใหม่จะอยู่ในภาคเอกชนและประชาสังคมเป็นหลัก ไม่ใช่รัฐหรือระบบราชการ
ส่วน อ. ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ มองว่าพื้นฐานของการทายุทธศาสตร์ชาติ ควรเริ่มจากการสร้าง
คนไทยให้มีจิตใจเข้มแข็ง มองโอกาสมากกว่าปัญหา และชี้ว่าที่จริงชาวบ้านไทยรู้จักเอาตัวรอดเก่งอยู่
แล้ว รัฐจึงควรปรับตัวให้เป็นแค่ facilitator ส่งเสริมประชาสังคมท้องถิ่นให้เข็มแข็ง เชื่อมโยงคนฝ่าย
ต่างๆให้ได้
13
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ศ.ดร. เอนก สรุปว่า กุญแจสาหรับยุทธศาสตร์พัฒนาบ้านเมืองที่เราหา อยู่ในที่มืด
คือพลังชาวบ้าน พลังท้องถิ่น พลังประชาสังคม ซึ่งเป็นพลังที่แท้จริง แต่คนมักมองข้าม ไม่ใช่
รัฐหรือชนชั้นนาในวงวิชาการซึ่งอยู่ในที่สว่างที่คนมักหันไปหา สังคมไทยมีพลังในการ
แก้ปัญหาอยู่ในตัวเองอยู่แล้ว ดังนั้น เราต้องเอาพลังที่เป็นจริงมาเป็นกาลังของบ้านเมืองให้
มากขึ้น การเสริมพลังประชาสังคมและท้องถิ่นให้เข้มแข็งจึงเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนา
บ้านเมืองไทยในยุคนี้
การประชุมคลังปัญญาสัญจร ณ ระนอง เมืองชายแดน
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จัดประชุม ณ จังหวัด
ระนอง ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม - 2 มิถุนายน 2559 ในการนี้ ได้มีการประชุมนาเสนอทางวิชาการ
3 เรื่อง ได้แก่ 1) เรื่อง Futures' China โดย ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ 2) เรื่อง จุดยกพลขึ้นบกใน
ประเทศไทยของกองทัพญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ และ 3) เรื่อง
อานาจของสหรัฐอเมริกากาลังเสื่อมลงหรือไม่ (สรุปจากข้อคิดของ Prof. Joseph Nye) โดย อดีต
เอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ หลังจากการนาเสนอทั้ง 3 เรื่อง ได้มีการสรุปการนาเสนอและนาวีดี
ทัศน์ขึ้นเผยแพร่ทางเว็บไซต์คลังปัญญาฯ ด้วย อีกทั้งได้ศึกษาประวัติศาสตร์และยุทธศาสตร์ของเมือง
ในฐานะเมืองชายแดนและเมืองพหุวัฒนธรรม
14
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
The Ambassadors’ Forum
เรื่อง พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์กับการต่างประเทศของไทย
เมื่อวันอังคาร ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัย
รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับสถาบันการทูตและการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิตได้จัดเวที
The Ambassadors’ Forum เรื่อง พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ กับการต่างประเทศของไทย
วิทยากร คือ ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล ศาสตราจารย์กิตติคุณด้านกฎหมายระหว่างประเทศ
และกฎหมายเปรียบเทียบ ในฐานะผู้ทางานใกล้ชิด พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ สมัยรับราชเป็น
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อเชิดชูเกียรติและราลึกถึงคุนูปการของ
พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ที่มีต่อประเทศไทยในด้านการต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
ฐานะเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการริเริ่มก่อตั้งอาเซียน
ในโอกาสนี้ ได้รับเกียรติจาก ดร.เตช บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
รวมถึงคนในแวดวงวิชาการและการต่างประเทศของไทย ร่วมเติมเต็มและเสริมข้อคิดเห็นต่อบทบาท
ของ พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ในด้านการต่างประเทศของไทย ในการนี้ได้มีการสรุปการ
ประชุมและนาวีดีทัศน์ขึ้นเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์คลังปัญญาฯ ด้วย
15
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
นางสาวปลายฟ้า บุนนาค
นายปาณัท ทองพ่วง
ปีที่เผยแพร่: มิถุนายน 2559
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว
เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

Contenu connexe

Tendances

ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศKlangpanya
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558Klangpanya
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงKlangpanya
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...Klangpanya
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2Nus Venus
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...Klangpanya
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560Klangpanya
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1Nopporn Thepsithar
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558Klangpanya
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม USMAN WAJI
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559Klangpanya
 
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายKlangpanya
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรpattarachat
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางUSMAN WAJI
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...Klangpanya
 
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติรายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่าKlangpanya
 

Tendances (19)

ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
World Think Tank Monitors ฉบับที่ 6 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2558
 
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคงความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ความท้าทายของไทยในทศวรรษ 2020 ด้านการต่างประเทศและยุทธศาสตร์ความมั่นคง
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ ครั้งที่ 4 "ทิศทางการปรับตัวของไทย ภายใต้สถานกา...
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวีคำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
คำนำ สารบัญ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
Plan dev12 2
Plan  dev12 2Plan  dev12 2
Plan dev12 2
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
World Think Tank Monitor สิงหาคม 2560
 
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v12013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
2013 03-14 ซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ปี 2013 อนาคตประเทศไทย v1
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
การผงาดขึ้นของชาติมุสลิม
 
OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559OBOR Monitor I กันยายน 2559
OBOR Monitor I กันยายน 2559
 
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
การปฎิรูปนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์: ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
 
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลางบทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติรายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
 
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่ายุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
ยุทธศาสตร์จีนต่อเอเชียใต้และเอเชียกลาง : ปราการอันว่างเปล่า
 

En vedette

สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559Klangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองKlangpanya
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559Klangpanya
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยKlangpanya
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกKlangpanya
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...Klangpanya
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์Klangpanya
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559Klangpanya
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทยKlangpanya
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...Klangpanya
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่Klangpanya
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์Klangpanya
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560Klangpanya
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559Klangpanya
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยKlangpanya
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลกKlangpanya
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560Klangpanya
 

En vedette (20)

สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทยสถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
สถานการณ์ปัญหาสิ่งแวดล้อม และผลกระทบต่อสุขภาพเด็กไทย
 
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
World Think Tank Monitors l กรกฎาคม 2559
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมืองเบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
เบื้องหลังรัฐประหารตุรกีกับการต่อสู้ทางการเมือง
 
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
World Think Tank Monitors l เมษายน 2559
 
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทยแนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
แนวคิด "เกษตรกรรมยุคใหม่" : ทางออกและโอกาสของเกษตรกรไทย
 
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
ผู้นำทางความคิด 2015 : เสียงที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลก
 
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
การวิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นประเทศ "อำนาจขนาดกลาง" กรณีศึกษาประเทศอ...
 
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
ยะลา...เมืองยุคใหม่กับทิศทางการพัฒนาเชื่อมโยงภูมิภาคโลกมาเลย์
 
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
World Think Tank Monitors l พฤศจิกายน 2559
 
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทบาทตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
"หลั่นล้า" อีโคโนมี อีกหนึ่งทางเลือกแห่งอนาคตไทย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก เอเชียต...
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
ทฤษฎีการวิเคราะห์ชนชั้น อธิบายการเลือกตั้งของอเมริกาในครั้งนี้ได้หรือไม่
 
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
ทรัมป์กับบูรพาภิวัตน์
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560World Think Tank Monitor มกราคม 2560
World Think Tank Monitor มกราคม 2560
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทยบทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
บทวิจารณ์หนังสือ เพ่งประชาธิปไตยโลก พิศประชาธิปไตยไทย
 
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
70 ปี ของ ร.9 : 70 ปีของโลก
 
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
World Think Tank Monitor กุมภาพันธ์ 2560
 

Similaire à World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559

World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559Klangpanya
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)chorchamp
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierMegatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierSongyos SRIJOHN
 
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...60904
 
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...60904
 
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ... การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...Dr.Choen Krainara
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมdomwitlism
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยKlangpanya
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranongNithimar Or
 
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...Singhanat Sangsehanat
 
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556Nus Venus
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณSettapong Malisuwan
 

Similaire à World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559 (20)

World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
 
Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)Proposal54 mk 8_nov10(final)
Proposal54 mk 8_nov10(final)
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
2 นวัตกรรมนำสู่อนาคตประเทศไทย
 
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontierMegatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
Megatrends & Thailand : Opportunities for new investment frontier
 
4 page1
4 page14 page1
4 page1
 
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
 
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
The+practicle+approach+of+development+for+production+and+marketing+of+Thai+ri...
 
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ... การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหารจัดการน้้าของประเทศไต้หวัน: การประยุกต์แนวปฏ...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
 
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
 
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
แผนปฎิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี 2556
 
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณBig Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Big Data Analytics พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 

Plus de Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

Plus de Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559

  • 1. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต มีนาคม 2559 l ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2559 ยุทธศาสตร์ประเทศไทยยุทธศาสตร์ประเทศไทย ภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไปภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป ปีที่ 2 ฉบับที่ 5 มิถุนายน 2559 CHATHAM HOUSE การวางแปนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม CARNEGIE MIDDLE EAST CENTER  ตะวันออกกลางวุ่นวาย เพราะรัฐอาหรับอ่อนแอ BROOKINGS  จีนในฐานะปู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก
  • 2. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต บทบรรณาธิการ สวัสดีเดือนมิถุนายนค่ะผู้อ่านทุกท่าน และแล้วฤดูฝนก็เวียนมาอีกครั้งซึ่งคงทาให้ทั่วทุก ภูมิภาคของไทยได้สัมผัสกับความชุ่มฉ่าจากฝนที่รอคอยกันมานานกว่า 3 เดือน ยากที่จะปฏิเสธได้ จริงๆ ว่าฤดูร้อนที่ผ่านมา อากาศร้อนมากและดูเหมือนว่าจะมีแนวโน้มร้อนมากขึ้นทุกๆ ปี วิกฤต สภาพภูมิอากาศนี้ไม่ได้เกิดเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น แต่นับเป็นปัญหาที่ทุกประเทศกาลังเผชิญ อยู่และจาเป็นต้องเร่งแก้ไขหรือบรรเทาให้ได้โดยเร็ว ในเดือนนี้ World Think Tank Monitors จึงมี ความยินดีที่จะนาเสนอบทความจาก Chatham House เรื่องการวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนเพื่อ เป้าหมายในการลดภาวะโลกร้อนและปัญหาสิ่งแวดล้อมเพื่อสะท้อนให้ผู้อ่านได้เห็นบทบาทของจีน ในแง่มุมที่ต่างจากที่เราเคยรู้จัก สาหรับสถาบัน Think Tank อื่นๆ ก็มีประเด็นระหว่างประเทศในอีก หลากหลายแง่มุมที่น่าสนใจไม่แพ้กัน อาทิ ความวุ่นวายในภูมิภาคตะวันออกกลาง และสาเหตุที่ รัสเซียไม่ใกล้ชิดกับอาเซียน ฯลฯ ด้านสถาบันคลังปัญญาฯ ในเดือนที่ผ่านมา ได้จัดการประชุมเวทีระดมสมอง เรื่อง ยุทธศาสตร์ประเทศไทยภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป ซึ่งการแลกเปลี่ยน จากการประชุมครั้งนี้ทาให้ได้มาซึ่งข้อสรุปอันเป็นกุญแจสาหรับยุทธศาสตร์พัฒนาบ้านเมืองของเรา นั่นคือ พลังชาวบ้าน พลังท้องถิ่น พลังประชาสังคม ที่แท้นั้นสังคมไทยมีพลังการแก้ปัญหาอยู่ใน ตัวเองอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องนาพลังมาเป็นกาลังของบ้านเมืองให้มากขึ้น การเสริมพลังประชาสังคม และท้องถิ่นให้เข้มแข็งจึงเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาบ้านเมืองไทยในยุคนี้ ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
  • 3. สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต สารบัญ หน้า บทบรรณาธิการ ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคยุโรป  CHATHAM HOUSE การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม 1 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา  BROOKINGS จีนในฐานะผู้ลงทุนรายใหญ่ของโลก 3 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย  Carnegie Moscow Center เหตุใดรัสเซียไม่สนิทกับอาเซียน : มุมมองจากรัสเซีย 5 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง  Carnegie Middle East Center ตะวันออกกลางวุ่นวายเพราะรัฐอาหรับอ่อนแอ 7 ประเด็นระหว่างประเทศที่น่าสนใจจาก Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT ยุทธศาสตร์ประเทศไทยภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป 9 การประชุมคลังปัญญาสัญจร ณ ระนอง เมืองชายแดน 13 The Ambassadors’ Forum เรื่อง พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์กับการต่างประเทศของไทย 14
  • 4. 1 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคยุโรป CHATHAM HOUSE เรียบเรียงโดย จุฑามาศ พูลสวัสดิ์ ผู้ช่วยนักวิจัย การวางแผนด้านนวัตกรรมของจีนที่มุ่งสู่ความสาเร็จด้านสิ่งแวดล้อม Photo: http://www.mckinseychina.com/podcast/is-there-a-chinese-model-of-innovation-2/ ปัจจุบันเรื่องราวของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติระยะ 5 ปี ฉบับที่ 13 (ปี 2016 - 2020) ของจีนได้กลายเป็นประเด็นที่กาลังได้รับการจับตามองจากทั่วโลกไม่แพ้ความเคลื่อนไหวด้าน อื่นๆ ความพิเศษของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับนี้คือการที่จีนได้กาหนดอัตราการเติบโต ทางเศรษฐกิจใน 5 ปีข้างหน้าไว้เพียงร้อยละ 6.5 ซึ่งนับเป็นอัตราที่ต่าที่สุดเท่าที่เคยมีมา การ ตัดสินใจนี้สะท้อนให้เห็นว่าการพัฒนาของจีนได้เริ่มกลับมาสู่รูปแบบปกติที่ใกล้เคียงกับการพัฒนา ของประเทศอื่นๆ มากขึ้น ประธานาธิบดีสีจิ้นผิงได้ประกาศถึงเป้าหมายใหม่ของจีนที่ให้ความสาคัญ การเติบโตอย่างมีคุณภาพแม้เศรษฐกิจจะขยายตัวได้ช้าลง จากกรณีดังกล่าว Dr. Sam Geall ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมของสถาบัน Chatham House ได้วิเคราะห์ถึงนโยบายที่ เปลี่ยนไปของจีนไว้ ดังนี้ รายละเอียดของแผนพัฒฯ ฉบับที่ 13 ของจีนปรากฏแนวทางการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมที่ น่าสนใจไว้ โดยมีหัวใจสาคัญคือ การพัฒนานวัตกรรมสีเขียว ที่ส่งเสริมให้การเติบโตของจีนใน อนาคตเกิดขึ้นควบคู่ไปกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม การพัฒนานวัตกรรมสีเขียวดังกล่าว ได้ วางเป้าหมายของการดาเนินงานไว้ ดังนี้
  • 5. 2 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1. กาหนดกฎหมายและกระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบแนวตั้ง (vertical management system) เพื่อให้สามารถควบคุมดูแลไปยังระดับท้องถิ่นได้อย่างทั่วถึง 2. ลดอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนต่อหน่วยของจีดีพีให้ได้ร้อยละ 18 ภายในปี 2020 3. ลดปริมาณการใช้พลังงานต่อหน่วยของจีดีพีลงร้อยละ 15 ภายในปี 2020 4. ลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลและเพิ่มแหล่งพลังงานทางเลือกให้ได้ร้อยละ 15 ภายในปี 2020 5. ลดปริมาณฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน(PM2.5) ซึ่งเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ลงให้ได้ร้อยละ 25 สิ่งที่รัฐบาลจีนกาลังทาอยู่นั้น ไม่เพียงแต่เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อองค์การ สหประชาชาติ (UN) ในการลดการปล่อยก๊าซเท่านั้น แต่จุดหมายปลายทางที่ยิ่งใหญ่กว่าคือ การ ก้าวสู่การเป็นประเทศผู้นาในการผลิตเทคโนโลยีคาร์บอนต่า ซึ่งในเบื้องต้น จีนได้เพิ่ม งบประมาณด้านการวิจัยและพัฒนา พร้อมทั้งเร่งเพิ่มจานวนการจดสิทธิบัตรนวัตกรรมใหม่ๆ ให้มาก ขึ้นด้วย นวัตกรรมสีเขียวได้ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งในทุกนโยบายหลักของการพัฒนาประเทศรวม ไปถึงยังบูรณาการไปสู่ภาคเอกชนและผู้ประกอบการ ทาให้ทุกภาคส่วนในจีนจาเป็นต้องตื่นตัวและ ปรับตัวเพื่อนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ซึ่งในไม่ช้านี้ ประชาคมโลกอาจจะไปพบกับบทบาท ใหม่ของจีนที่ในฐานะประเทศมหาอานาจที่พัฒนาอย่างมีคุณภาพและมีความรับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมก็เป็นได้ เอกสารอ้างอิง Sam Geall. China’s Plan for Innovation Could Help It Meet Climate Goals. Chathum House. ออนไลน์: https://www.chathamhouse.org/expert/comment/china-s-plan- innovation-could-help-it-meet-climate-goals
  • 6. 3 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต  Think Tank ในภูมิภาคอเมริกา BROOKINGS เรียบเรียงโดย ปลายฟ้า บุนนาค ผู้ช่วยนักวิจัย จีนในฐานะผู้ลงทุนขนาดใหญ่ของโลก Photo: http://www.china-briefing.com/news/wp-content/uploads/2012/12/China-Overseas-FDI_300x230pix.jpg สถาบัน Brookings เผยแพร่วิจัยเกี่ยวกับบทบาทของจีนในฐานะผู้ลงทุนขนาดใหญ่ของโลก โดยประเทศที่มีขนาดการลงทุนใหญ่ๆของโลก ส่วนมากเป็นประเทศพัฒนาแล้ว นอกจากนี้ยังเป็น ประเทศที่มีการลงทุนโดยตรง (direct investment) จากต่างประเทศ ซึ่งประเทศเหล่านี้มักจะเป็น ประเทศที่เปิดมากๆต่อการลงทุนภายในประเทศ แต่ประเทศจีนนั้นแตกต่างจากประเทศอื่น คือเป็น ประเทศกาลังพัฒนา จีนเป็นจุดหมายสาคัญของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และการเปิดให้ประเทศอื่นๆเข้า มาก็นับเป็นส่วนสาคัญของโครงการปฏิรูปจีนตั้งแต่ปี 1978 อย่างไรก็ตาม จีนยังคงมีนโยบายควบคุม การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในบางภาคส่วน โดยปกติแล้ว ประเทศจีนจะเปิดรับการลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศในภาคการผลิตมากที่สุด แต่มีบางภาคส่วนที่ยังปิด เช่น การทาเหมือง การ ก่อสร้าง และการบริการที่ทันสมัย การที่ประเทศกาลังพัฒนาอย่างจีนกลายมาเป็นประเทศผู้ลงทุนขนาดใหญ่ที่สุดในโลกเป็น ปรากฏการณ์อย่างหนึ่งที่ทาให้เกิดคาถามว่าการลงทุนของจีนคล้ายกับการลงทุนของประเทศอื่น อย่างไร แต่ถ้าไม่ จะทาให้เกิดความท้าทายต่อบรรทัดฐานเดิมของโลกที่ปฏิบัติกันมาหรือไม่
  • 7. 4 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งงานวิจัยของ Brookings ฉบับนี้ จึงออกมาแสดงทัศนะที่ว่า รูปแบบการลงทุนของจีนนั้น แตกต่างจากบรรทัดฐานเดิมของโลก 3 ข้อ ดังนี้ 1. การลงทุนของจีนนั้นมักจะลงทุนในประเทศที่การปกครองอ่อนแอ เช่น ประเทศเผด็จการ 2. โดยทั่วไป จีนนั้นไม่ทาผูกมัดตัวเข้ากับมาตรฐานโลกในด้านการปกป้องสิ่งแวดล้อมและ พิทักษ์สิทธิทางสังคม (standard of environmental and social safeguards) 3. ประเทศจีนยังมีการปิดกันการลงทุนจากต่างประเทศในหลายภาคส่วน ซึ่งแตกต่างจากคู่ ค้าของตนทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วและกาลังพัฒนา Brookings มีความกังวลว่า ความแตกต่างระหว่างจีนที่ค่อนข้างปิดกั้นการลงทุนในบางภาค ส่วนกับสหรัฐอเมริกาและประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่อีกหลายประเทศจะกลายเป็นปัญหาใน อนาคต และเกรงว่าจะเกิดปัญหาในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน พร้อม เสนอให้สหรัฐอเมริกาใช้มาตรการทั้งการให้รางวัลและการลงโทษ(carrots and sticks) ในการรับมือ กับปัญหานี้ โดยมาตรการการลงโทษ(sticks) แนะนาให้รัฐบาลสหรัฐแก้ไขกฎหมายคณะกรรมการ กากับการลงทุนต่างชาติของสหรัฐอเมริกา (Committee on Foreign Investment in The United State’ ) ที่จะสามารถจากัดสิทธิ์ของประเทศต่าง ๆ ที่สหรัฐอเมริกาไม่ได้มีข้อตกลงด้านการลงทุน แบบทวิภาคีในการเข้าซื้อกิจการรัฐวิสหกิจของสหรัฐอเมริกา ในส่วนมาตรการให้รางวัล(carrots) สหรัฐอเมริกาควรผลักดันให้บรรลุความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก หรือ Trans-Pacific Partnership(TPP) ซึ่งจะทาให้เกิดการรวมตัวอย่างใกล้ชิดในกลุ่มประเทศที่มีความ คิดเห็นตรงกันในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก หากสาเร็จจะทาให้จีนเปิดการลงทุนมากขึ้นและต้องเผชิญ กับมาตรฐานที่สูงขึ้นที่ตั้งโดย TPP และสาหรับประเทศจีนนั้น การเปิดการลงทุนเป็นส่วนหนึ่งใน แผนการปฏิรูปของจีนอยู่แล้ว เพียงแต่ต้องการแรงจูงใจเพื่อทาให้เกิดขึ้นได้จริง   เอกสารอ้างอิง David Dollar. China as a global investor. Brookings. ออนไลน์: http://www.brookings.edu/ research/papers/2016/05/china-as-global-investor-dollar     
  • 8. 5 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคเอเชีย  Carnegie Moscow Center เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย เหตุใดรัสเซียไม่สนิทกับอาเซียน : มุมมองจากรัสเซีย ในบทความเรื่อง Russia Still Seeking a Role in ASEAN ของสถาบัน Carnegie Moscow Center ผู้เขียน Anton Tsvetov อธิบายว่า เหตุใดรัสเซียจึงไม่สนิทกับอาเซียน เทียบกับมหาอานาจ อื่นๆ อย่างสหรัฐ จีน ญี่ปุ่น หรืออินเดีย ทั้งๆที่อาเซียนเป็นโอกาสที่ยิ่งใหญ่สาหรับรัสเซีย ด้วย จานวนคนราวหกร้อยล้านคนและจะเติบโตเป็นเศรษฐกิจใหญ่อันดับสี่ของโลกภายในปี 2050 ภาพรวมความสัมพันธ์รัสเซีย-อาเซียน แม้รัสเซียจะมีสถานะเป็น “หุ้นส่วน” ของอาเซียน ตั้งแต่เมื่อปี 1996 หรือยี่สิบปีผ่านมาแล้ว แต่ความสัมพันธ์อาเซียน-รัสเซียก็ยังเหินห่างเมื่อเทียบกับมหาอานาจอื่นที่กล่าวมา ทางการค้า แม้ มูลค่าการค้ารัสเซีย-อาเซียนจะเพิ่มขึ้นถึงห้าเท่าในช่วงปี 2005-2014 แต่รัสเซียยังคงเป็นคู่ค้าอันดับ ที่ 14 ของอาเซียน โดยรัสเซียนาเข้าสินค้าจากอาเซียนน้อยกว่าร้อยละ 1 ของผลรวมการส่งออกของ อาเซียนทั้งหมด ขณะที่อาเซียนก็นาเข้าเพียงร้อยละ 2.7 ของสินค้าส่งออกของรัสเซีย ในจานวนนี้ ส่วนใหญ่คือ แร่ธาตุ เครื่องมือเครื่องจักร และเคมีภัณฑ์ และถ้าระบุให้ละเอียดลงไป สินค้าเด่นที่ รัสเซียขายให้อาเซียนคือ พลังงานและอาวุธ ด้านพลังงานมีทั้งน้ามันและก๊าซธรรมชาติที่ขายให้ เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ รวมทั้งเทคโนโลยีพลังงานนิวเคลียร์ที่บทความนี้อ้างว่ารัสเซียมี Photo: http://atimes.com/2016/05/sochi-asean-summit-russia-eyes-economic-expansion-in-southeast-asia/
  • 9. 6 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต โครงการสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานนิวเคลียร์ในเวียดนามและไทย ขณะที่สินค้าที่เป็นที่นิยม อันดับหนึ่งของรัสเซียในตลาดอาเซียนก็คืออาวุธ ทั้งอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย พม่า และโดยเฉพาะ เวียดนามต่างก็เป็นลูกค้าอาวุธของรัสเซีย เวียดนามนั้นซื้อทั้งเครื่องบินรบ เรือดาน้า ระบบป้องกันมิส ไซล์และเรือรบลาดตระเวน ด้านการลงทุน ในช่วงปี 2012-2014 รัสเซียลงทุนในอาเซียนเพียงร้อยละ 0.2 ของการลงทุนของต่างชาติในอาเซียนทั้งหมด และในจานวนนี้กว่าครึ่งไปลงที่เวียดนาม เหตุแห่งความไม่สนิท บทความจาก Carnegie Moscow วิเคราะห์ว่า ประการแรก เพราะตลอดมานโยบาย ต่างประเทศรัสเซียมุ่งตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะการรักษาเขตอิทธิพลใน “สวนหลังบ้าน” คือ ประเทศกลุ่มอดีตสหภาพโซเวียตทั้งหลายหรือกลุ่มประเทศสถานแห่งเอเชียกลางในปัจจุบัน และให้ ความสาคัญกับยุโรป และสหรัฐอเมริกาเป็นหลัก และในปัจจุบันก็ขยายความสนใจด้านการ ต่างประเทศไปยังตะวันออกกลาง ยุทธศาสตร์ต่างประเทศที่ผ่านมาของรัสเซียเองที่เป็นสาเหตุสาคัญ ทาให้รัสเซียเป็น “คนนอก” สาหรับเอเชียมาตลอด แม้พื้นที่ส่วนมากของตัวเองจะอยู่ในเอเชียก็ตาม (และก็เป็นคนนอกของยุโรปด้วยเช่นกัน) ในปี 2013 และ 2014 ทางการรัสเซียได้จัดอันดับ ความสาคัญในการต่างประเทศของตน เอเชีย-แปซิฟิกอยู่อันดับสามในปีแรก รองจากกลุ่มประเทศ CIS (Commonwealth of Independent States) และสหภาพยุโรป และตกลงมาที่อันดับสี่ในปีหลัง โดยถูกสหรัฐแย่งอันดับที่สามไป แม้ในยุคที่รัสเซียประกาศนโยบาย “มุ่งตะวันออก (pivot to the east)” นี้ บทความนี้ก็วิเคราะห์ไว้ว่า “อาเซียนเป็นได้อย่างดีที่สุดก็คือเป็นอันดับสองรองจากจีน สาหรับรัสเซีย” ประการต่อมา อาเซียนเป็นดินแดนที่ห่างไกลจากรัสเซียมาก และนั่นก็ทาให้ ความรู้สึกของคนสองดินแดนนี้ห่างเหินกันตามธรรมชาติ ไม่เป็นที่รู้จักของกันและกันนัก และมี ประวัติศาสตร์ร่วมกันน้อยมาก เมื่อไม่มีสิ่งเหล่านี้ ก็เท่ากับขาดพื้นฐานที่สาคัญในการกระชับ ความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้น อย่างไรก็ดี การที่รัสเซียเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดรัสเซีย-อาเซียน ที่เมืองโซชิ(Sochi) เมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ก็อาจเป็นสัญญาณว่ารัสเซียกาลังพยายามไล่ตามมหาอานาจอื่นๆ ใน การ “จีบ” ภูมิภาคอาเซียน และ “หันสู่ตะวันออก (pivot to the east)” กับเอเชียโดยรวมมากขึ้น ซึ่งก็มี เหตุผลที่รัสเซียจะทาเช่นนั้น เพราะเวลานี้ทั้งยุโรปและสหรัฐก็ตกต่า ยุโรปที่เป็นที่ที่นโยบาย ต่างประเทศรัสเซียแต่ไหนแต่ไรมาจับจ้องตลอดก็เจอปัญหารุมเร้าและคดีความเรื่องยูเครนเมื่อปี 2014 กับรัสเซียก็ยังไม่จางหาย อนึ่ง บทความนี้ระบุว่าในบรรดาชาติอาเซียน รัสเซียแนบแน่นกับเวียดนาม มากที่สุด เพราะเคยร่วมศึกกันมาตั้งแต่สมัยสงครามเย็น หากรัสเซียจะเข้าหาอาเซียน วิธีที่ง่ายที่สุด คือเข้าผ่านทางเวียดนาม เอกสารอ้างอิง Anton Tsvetov. Russia Still Seeking a Role in ASEAN. Carnegie Moscow Center. ออนไลน์ http://carnegie.ru/commentary/2016/05/19/russian-still-seeking-role-in-asean/iygc
  • 10. 7 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในภูมิภาคตะวันออกกลาง Carnegie Middle East Center เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย ตะวันออกกลางวุ่นวายเพราะรัฐอาหรับอ่อนแอ Photo: http://carnegie-mec.org/?lang=en#slide_6771_improving-governance-in-arab-world ในบทความเรื่อง Improving Governance in the Arab World ของสถาบัน Carnegie สานักงานกรุงเบรุต เลบานอน เขียนโดย Marwan Muasher รองประธานด้านการศึกษาของสถาบัน Carnegie อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจอร์แดน และอดีต นักการทูตผู้คร่าหวอดของจอร์แดน เสนอว่า ตะวันออกกลางวุ่นวายเพราะปัญหาภายในของบรรดา ชาติอาหรับเอง ที่มีระบอบการเมือง-การจัดการสังคมเดินมาถึงจุดที่ล้าหลังและอ่อนแอ ไม่สามารถ จัดการความท้าทายทางการเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคงของประเทศตนได้ มากกว่าข้อกังวลระดับ ภูมิภาคอย่างการเติบโตของอิหร่าน ไอเอสหรือแม้แต่การแทรกแซงจากอานาจภายนอกอย่างอเมริกา และตะวันตกอย่างที่คนภายนอกมักสนใจกัน ความอ่อนแอ-ล้าหลังของระบบสังคมการเมืองอาหรับที่ว่านี้ เช่น ระบอบการปกครอง แบบอานาจนิยมที่ครองอานาจยาวนานในสังคมและเหินห่างกับประชาชนของตน โดยเฉพาะเยาวชน คนรุ่นใหม่ที่เป็นประชากรหลักของคนอาหรับ 240 ล้านคน (ซึ่งเป็นแนวโน้มด้านประชากรที่สวน กระแสส่วนอื่นของโลก) คอร์รัปชั่น ระบอบเศรษฐกิจและการศึกษาที่ล้าสมัย (ระบอบเศรษฐกิจที่พึ่งพา แต่การส่งออกน้ามันมาหลายทศวรรษ) และปัญหาการว่างงาน (ซึ่งกระทบคนรุ่นใหม่มากที่สุด)
  • 11. 8 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ในการนี้ Muasher เสนอให้รัฐบาลของชาติอาหรับออกมาปฏิรูปตัวเองให้ทันต่อความ ท้าทายทางเศรษฐกิจการเมืองและความต้องการของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป โดยให้ดู ตัวอย่างจากตูนิเซีย ซึ่งภายหลังอาหรับสปริงส์เมื่อปี 2011 ได้เข้าสู่ช่วงเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบการ ปกครองที่เปิดกว้างมากขึ้น และซาอุดิอาระเบียที่เริ่มเปลี่ยนฐานเศรษฐกิจของประเทศจากการ ส่งออกน้ามันสู่การลงทุนและการผลิต อนึ่ง Muasher เตือนว่าพลังการลุกฮือของประชาชนในยุค อาหรับสปริงส์จะไม่เงียบหายไปเปล่าๆอย่างที่หลายคนคิด แต่จะกลับมาใหม่หากรัฐอาหรับยังไม่ ปรับตัวหรือปรับตัวไม่ทันการ การออกมาเสนอว่าปัญหาตะวันออกกลางเกิดจากภายในอ่อนแอเองมากกว่าจะโทษปัจจัย ภายนอก และถ้าจะทาให้ประเทศดีขึ้นก็ต้องปรับปรุงให้ตัวเองเข้มแข็งของ Muasher นี้ ทาให้นึก เทียบกับประสบการณ์ของชาติเอเชียในยุคล่าอาณานิคม เช่น จีนสมัยราชวงศ์ชิง กล่าวคือ ความหมายที่ Muasher ต้องการจะสื่ออาจจะอยู่ที่ว่า ไม่ใช่ว่าปัจจัยภายนอกหรือปัญหาระดับภูมิภาค อย่างสงครามต่อต้านการก่อการร้ายของตะวันตกหรือไอเอสไม่ใช่สิ่งที่มากระทบดินแดนอาหรับ ตรง ข้าม สิ่งเหล่านี้คือภัยคุกคามของอาหรับอย่างแน่นอน เหมือนเช่นที่จักรวรรดิอังกฤษและชาติ ตะวันตกอื่นๆเป็นภัยคุกคามของจีนในศตวรรษที่ 19 แต่เมื่อเวลาผ่านไป นักเรียนประวัติศาสตร์ ทั้งหลายต่างสรุปว่า จักรวรรดิจีน ต้องถึงคราวล่มสลายเพราะความอ่อนแอ ทุจริต ล้าสมัยและการไม่ ยอมปรับตัวของรัฐจีนในยุคนั้นเอง จึงไม่ทันต่อความเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งด้านโลกทัศน์ ความรู้ วิทยาการเทคโนโลยี ฯลฯ จึงต้องแพ้ให้ตะวันตก เชื่อว่าบทความนี้ของ Muasher คงอยากจะเตือนรัฐ อาหรับทั้งหลายให้ตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงภายใน-ภายนอกและปรับตัวเพื่อไม่ให้ซ้ารอยใน ความหมายนี้มากกว่า เอกสารอ้างอิง Marwan Muasher. Improving Governance in the Arab World. Carnegie Middle East Center. ออนไลน์ http://carnegie-mec.org/?lang=en#slide_6771_improving-governance-in-arab- world.
  • 12. 9 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Think Tank ในประเทศไทย  สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ KLANGPANYA INSTITUTE FOR NATIONAL STRATEGIES DEVELOPMENT เรียบเรียงโดย ปาณัท ทองพ่วง ผู้ช่วยนักวิจัย ยุทธศาสตร์ประเทศไทย ภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป วันอังคารที่ 7 มิถุนายน 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ได้จัดเวทีระดมสมอง เรื่อง ยุทธศาสตร์ประเทศไทยภายใต้บริบทโลกใหม่และสังคมไทยที่เปลี่ยนไป ณ โรงแรมหัว ช้าง เฮอริเทจ ราชเทวี กทม.โดยได้รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิในหลากหลายวงการ ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และนักวิชาการ อาทิ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ดร.สารสิน วีระผล อดีต เอกอัครราชทูตและรองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ รศ.วิวัฒน์ มุ่งการดี อดีต ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและอดีตอาจารย์ภาควิชาความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายวีระศักดิ์ โค้วสุรัตน์ อดีต รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อดีตเอกอัครราชทูตอนุสนธิ์ ชินวรรโณ รอง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมืองและผู้อานวยการสถาบันจีน-ไทยแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต พล โทเจิดวุธ คราประยูร ผู้บัญชาการวิทยาลัยเสนาธิการทหารบก วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร ฯลฯ
  • 13. 10 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต รับฟังข้อเสนอยุทธศาสตร์ไทยจาก ศ.ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้าน ยุทธศาสตร์ชาติ และอธิการวิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต และระดมสมองในหัวข้อดังกล่าว สถานการณ์โลกและสถานการณ์สังคมไทยที่เปลี่ยนไป ศ.ดร. เอนก เริ่มต้นด้วยการชี้ให้เห็นว่าปัจจุบันเราอยู่ในโลกและสังคมไทยที่ไม่เหมือนเดิมอีก ต่อไป เราอยู่ในโลกที่คู่ขับเคี่ยวแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นจีนกับสหรัฐอเมริกา แต่คู่นี้ทั้งขัดแย้งและ ร่วมมือกัน เราอยู่ในโลกที่จีนและเอเชียมีความสาคัญมากขึ้นเรื่อยๆ หรือที่เรียกว่ายุคบูรพาภิวัตน์ และ ในด้านการต่างประเทศที่ส่งผลกับไทยโดยตรงนั้น นโยบายต่างประเทศที่สาคัญที่สุดของจีนในยุคนี้คือ One Belt One Road (OBOR) เส้นทางสายไหมทางบกและทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จะผ่าน อาเซียนและไทยด้วย และเรายังอยู่ในยุคที่จีนและเอเชียกาลังก้าวขึ้นมาเป็นศูนย์กลางการศึกษาแห่ง ใหม่ของโลก ยุคที่ความรู้ตะวันออกกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง เรายังพบว่าในศตวรรษที่ 21 นี้ ประเทศไทยได้เปลี่ยนไปในทางยุทธศาสตร์ ที่ตั้งของไทย กลายเป็นภูมิศาสตร์ชั้นเลิศของภูมิภาคเอเชียและโลก เป็นจุดตัดของบรรดามหาอานาจแห่งยุค ทั้ง จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สหรัฐ เข้ามาปะทะสังสรรค์กัน และคาบสมุทรภาคใต้ของเราก็มีสองมหาสมุทรที่ สาคัญขนาบข้าง คือมหาสมุทรอินเดียกับแปซิฟิก และเรายังมีฐานทรัพยากรมากมาย มีความ หลากหลายทางชีวภาพ และอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของโลก เป็นศูนย์รวมสัตว์ ป่าของภูมิภาคเอเชีย และเป็นแหล่งนิเวศชั้นนาของโลก นอกจากนี้ ยังเป็นที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว จากทั่วโลก จุดแข็งและจุดอ่อนของไทย ในการเผชิญความเปลี่ยนแปลงนี้ ศ.ดร.เอนก ได้มองจุดแข็งของสังคมไทยว่า สังคมไทย ปรับตัวได้ค่อนข้างดี และรัฐปรับตัวได้พอสมควร ขณะที่ประชาชน ประชาสังคมและมวลชนรากหญ้า มี ความสามารถและปรับตัวได้ดีกว่าความคาดหมาย นอกจากนี้ สังคมไทยกลายเป็นชนชั้นกลาง ค่อนข้างรวดเร็ว ทาให้โอกาสที่สังคมจะ polarize ค่อนข้างยาก การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบรุนแรง เช่นการปฏิวัติจะเกิดได้ยากในอนาคต สาหรับจุดอ่อนของสังคมไทยคือ เราคิดในทางลบมากไป และคิดในทางสร้างสรรค์น้อยไป และ เรายังมีความเหลื่อมล้ามาก ทาให้คนส่วนใหญ่มีรายได้และทรัพย์สินค่อนข้างต่า จึงส่งผลต่อการที่จะ นามาใช้เป็นพลังให้กับบ้านเมืองได้น้อยไป ที่สาคัญเราใช้ท้องถิ่นมาเป็นพลังในการพัฒนาบ้านเมือง น้อยเกินไป
  • 14. 11 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต กรอบคิดเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ไทย ภายใต้สถานการณ์รอบตัวที่เปลี่ยนไปนี้ ศ.ดร. เอนก ได้เสนอกรอบคิดเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์ ประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 ไว้ กอปรด้วยประเด็นหลัก คือ  ต้องสร้างคนไทยยุคใหม่ ด้วยการลงทุนทางวัฒนธรรมครั้งใหญ่ ปรับกระบวนทัศน์คนไทยให้ มองจากโอกาส มากกว่ามองจากปัญหา สร้างคนที่รู้กว้าง รู้รอบ และรู้ไกล มองความเชื่อมโยง ของสิ่งต่างๆ มองแบบองค์รวม มากกว่าคนรู้ลึก ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางอย่างเดียว  ควรใช้ความรู้ของตะวันตกเป็นฐาน แต่ต่อยอดด้วยความรู้ตะวันออกด้วย เชื่อมความร่วมมือด้าน การศึกษากับจีนและเอเชียให้มากขึ้น และควรเป็นอิสระจากมหาอานาจ แต่เป็นมิตรกับทุก อานาจ  ปรับ ลด ปลด เปลี่ยนบทบาทของของรัฐ และต้องทาเฉพาะในสิ่งที่คนอื่นทาไม่ได้เท่านั้น รัฐต้อง ส่งเสริมท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม และปล่อยให้ท้องถิ่น ประชาสังคมเข้าช่วย ดูแลจัดการทรัพยากร ท้องถิ่นต้องรู้-ทา นาหน้าส่วนกลาง ก้าวไประดับโลกได้ ไม่ต้องรอ ส่วนกลางนาหน้า ของดีต้องอยู่ที่ท้องถิ่น ไม่ใช่เฉพาะที่ส่วนกลาง  ควรใช้ประโยชน์จากทาเลที่ตั้งและภูมิศาสตร์ชั้นเลิศของเราให้เต็มที่ในการพัฒนาประเทศ  สร้างการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือรักษาวัฒนธรรมและธรรมชาติของ ประเทศ โดยทาให้การท่องเที่ยวเป็นเรื่องของท้องถิ่น ของคนรายย่อย มากกว่าตกอยู่ในมือ นายทุนใหญ่ รัฐส่วนกลางอย่างเดียว เช่น บังคับให้ใช้ไกด์ท้องถิ่น แนวทางการปฏิรูปแบบ Harmony ศ.ดร.เอนก มองการปฏิรูปในช่วงสองปีที่ผ่านมาว่า เป็นการปฏิรูปจากปัญหาที่แบ่งยิบย่อย มากเกินไป จะเป็นการแก้ปัญหาไม่จบสิ้น การปฏิรูปควรทาเฉพาะเรื่องหลักๆเท่านั้น แล้วเรื่อง ปลีกย่อยจะแก้ปัญหาไปได้เอง อุปสรรคอีกเรื่องคือคนที่อยากจะทาปฏิรูปก็ไม่มีอานาจ คนที่มีอานาจก็ ไม่แน่ใจว่าอยากจะปฏิรูปจริงหรือไม่ ศ.ดร.เอนก จึงได้เสนอแนวทางปฏิรูปแบบ Harmony ซึ่งมีหลักการคือ อย่าลอกตัวแบบจาก ตะวันตกเพียงอย่างเดียว ควรใช้ประสบการณ์ตะวันออกและประสบการณ์ของไทยด้วย ควรทาแบบ Win-Win และยึดหลัก Harmony คิดให้ทุกอย่างทุกฝ่ายอยู่ร่วมกันได้ มากกว่าที่ชอบจับทุกอย่างมา ขัดแย้งกันอย่างที่ผ่านมา การสร้างสานักคิด และเพื่อสร้างองค์ความรู้รองรับการปฏิรูปอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่จะปฏิรูปแต่ละครั้งค่อยตั้ง คณะกรรมการศึกษาขึ้นมาแต่ละที และเป็นความรู้ที่ไม่ได้ลอกเลียนแบบตะวันตก แต่สังเคราะห์จาก ประสบการณ์ของเราและประยุกต์ใช้กับสังคมไทยได้ ศ.ดร. เอนก จึงเสนอให้ตั้ง “สานักคิด” ของไทย เองในด้านต่างๆ และระดับต่างๆทั้งชาติและท้องถิ่น และต้องกล้าส่งออกความรู้ของเราให้โลกด้วย เช่น
  • 15. 12 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต เรื่องการท่องเที่ยว ไม่ควรไปลอกหลักสูตรคณะจัดการการท่องเที่ยวของตะวันตกมา ควรสร้างสานัก คิดที่สอนการจัดการการท่องเที่ยวในแบบของระนอง แบบของล้านนา แบบของอีสาน หรือสานักคิดที่ ศึกษาความรู้ตะวันออก จีน อินเดีย มุสลิม เพื่อปรับใช้กับสังคมไทย ข้อคิดเห็นจากผู้ร่วมประชุม พลโทเจิดวุธ คราประยูร ผู้บัญชาการวิทยาลัยเสนาธิการทหารบก วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร เสนอให้กาหนดเป้าหมาย และกลไกร่วมกันก่อนที่จะทายุทธศาสตร์ชาติ เพราะ ยุทธศาสตร์คือวิธีการที่นาไปสู่เป้าหมาย จึงต้องกาหนดเป้าหมายก่อน รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ แสดงความคิดเห็นว่า เป้าหมายของการทายุทธศาสตร์ไทย ควรอยู่ที่การปรับสมดุลความสัมพันธ์ทางอานาจที่บิดเบี้ยวไประหว่าง รัฐ เอกชน ประชาสังคม เช่น อานาจรัฐและอานาจสะสมทุนถูกผูกขาด ประชาชนเข้าไม่ถึง รัฐและเอกชนฮั้วกัน ต้องทาให้ใครก็เข้าสู่ อานาจได้ ใครก็สะสมทุนได้ ขณะที่ ศ.นพ.ประเวศ วะสี เสนอว่า การทายุทธศาสตร์ชาติควรเกิดจากความร่วมมือระดม สมองระหว่างภาคส่วนต่างๆในสังคม มากกว่าเป็นยุทธศาสตร์ของแต่ละหน่วยงานที่ไม่บูรณาการกัน อย่างที่เป็นอยู่ จึงเสนอให้ตั้ง “เครือข่ายวิจัยยุทธศาสตร์ชาติ” ดึงเอาหน่วยงานมันสมองในภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม มาร่วมกันทาเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของการทายุทธศาสตร์ชาติระยะยาว ด้วย อดีตเอกอัครราชทูตสารสิน วีระผล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่บริหารเครือเจริญโภคภัณฑ์ เสริมว่าการทายุทธศาสตร์ชาติระยะยาวแบบยี่สิบปีขึ้นไปนั้นต้องดึงจากคนหลายรุ่นเข้ามาร่วมกันทา เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็นต่างวัย เป็นการใช้ประโยชน์จากคนในสังคมให้ได้มาก ที่สุด และต้องดึงภาคเอกชนมาร่วมด้วยเพราะมีพลังมาก ด้าน นพ.พลเดช ปิ่ นประทีป เลขาธิการสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา สนับสนุนให้ใช้พลัง ท้องถิ่นเป็นกาลังหลักในการพัฒนาบ้านเมือง เพราะในการเปลี่ยนแปลงสังคม พลังท้องถิ่นคือของจริง ไม่ได้อยู่ที่ร่างรัฐธรรรมนูญหรือโครงสร้างส่วนบน จึงต้องสนับสนุนการรวมกลุ่มในท้องถิ่น ประชาสังคม ต่างๆให้เข้มแข็ง สอดคล้องกับความคิดของอาจารย์วีระศักดิ์ โค้วสุรัตน์ที่ว่า ในอนาคตพลัง ขับเคลื่อนสังคมของคนรุ่นใหม่จะอยู่ในภาคเอกชนและประชาสังคมเป็นหลัก ไม่ใช่รัฐหรือระบบราชการ ส่วน อ. ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ มองว่าพื้นฐานของการทายุทธศาสตร์ชาติ ควรเริ่มจากการสร้าง คนไทยให้มีจิตใจเข้มแข็ง มองโอกาสมากกว่าปัญหา และชี้ว่าที่จริงชาวบ้านไทยรู้จักเอาตัวรอดเก่งอยู่ แล้ว รัฐจึงควรปรับตัวให้เป็นแค่ facilitator ส่งเสริมประชาสังคมท้องถิ่นให้เข็มแข็ง เชื่อมโยงคนฝ่าย ต่างๆให้ได้
  • 16. 13 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ศ.ดร. เอนก สรุปว่า กุญแจสาหรับยุทธศาสตร์พัฒนาบ้านเมืองที่เราหา อยู่ในที่มืด คือพลังชาวบ้าน พลังท้องถิ่น พลังประชาสังคม ซึ่งเป็นพลังที่แท้จริง แต่คนมักมองข้าม ไม่ใช่ รัฐหรือชนชั้นนาในวงวิชาการซึ่งอยู่ในที่สว่างที่คนมักหันไปหา สังคมไทยมีพลังในการ แก้ปัญหาอยู่ในตัวเองอยู่แล้ว ดังนั้น เราต้องเอาพลังที่เป็นจริงมาเป็นกาลังของบ้านเมืองให้ มากขึ้น การเสริมพลังประชาสังคมและท้องถิ่นให้เข้มแข็งจึงเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนา บ้านเมืองไทยในยุคนี้ การประชุมคลังปัญญาสัญจร ณ ระนอง เมืองชายแดน สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต จัดประชุม ณ จังหวัด ระนอง ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม - 2 มิถุนายน 2559 ในการนี้ ได้มีการประชุมนาเสนอทางวิชาการ 3 เรื่อง ได้แก่ 1) เรื่อง Futures' China โดย ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ 2) เรื่อง จุดยกพลขึ้นบกใน ประเทศไทยของกองทัพญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ และ 3) เรื่อง อานาจของสหรัฐอเมริกากาลังเสื่อมลงหรือไม่ (สรุปจากข้อคิดของ Prof. Joseph Nye) โดย อดีต เอกอัครราชทูตสมปอง สงวนบรรพ์ หลังจากการนาเสนอทั้ง 3 เรื่อง ได้มีการสรุปการนาเสนอและนาวีดี ทัศน์ขึ้นเผยแพร่ทางเว็บไซต์คลังปัญญาฯ ด้วย อีกทั้งได้ศึกษาประวัติศาสตร์และยุทธศาสตร์ของเมือง ในฐานะเมืองชายแดนและเมืองพหุวัฒนธรรม
  • 17. 14 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต The Ambassadors’ Forum เรื่อง พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์กับการต่างประเทศของไทย เมื่อวันอังคาร ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัย รัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับสถาบันการทูตและการต่างประเทศ มหาวิทยาลัยรังสิตได้จัดเวที The Ambassadors’ Forum เรื่อง พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ กับการต่างประเทศของไทย วิทยากร คือ ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล ศาสตราจารย์กิตติคุณด้านกฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายเปรียบเทียบ ในฐานะผู้ทางานใกล้ชิด พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ สมัยรับราชเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ มีวัตถุประสงค์เพื่อเชิดชูเกียรติและราลึกถึงคุนูปการของ พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ที่มีต่อประเทศไทยในด้านการต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ฐานะเป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการริเริ่มก่อตั้งอาเซียน ในโอกาสนี้ ได้รับเกียรติจาก ดร.เตช บุนนาค อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รวมถึงคนในแวดวงวิชาการและการต่างประเทศของไทย ร่วมเติมเต็มและเสริมข้อคิดเห็นต่อบทบาท ของ พ.อ.(พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ในด้านการต่างประเทศของไทย ในการนี้ได้มีการสรุปการ ประชุมและนาวีดีทัศน์ขึ้นเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์คลังปัญญาฯ ด้วย
  • 18. 15 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล เรียบเรียง: นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ นางสาวปลายฟ้า บุนนาค นายปาณัท ทองพ่วง ปีที่เผยแพร่: มิถุนายน 2559 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064