SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ส้าน  ( Dillenia  sp.) ดอกส้านมีกลีบเลี้ยง  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ ไม่ร่วง ติดทนจนเกิดผล กลีบดอก  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก แยกจากกันเป็นอิสระเรียงเป็นหลายวงล้อมรอบเกสรเพศเมียเอาไว้ เกสรเพศเมียมีหลายคาร์เพล อาจแยกจากกัน หรือเชื่อมติดกันหลวมๆ แต่ติดอยู่ที่แกนกลางเดียวกัน ก้านยอดเกสรเพศเมียจำนวนเท่ากับคาร์เพล ลักษณะคล้ายเกสรเพศผู้ รังไข่เหนือวงกลีบ  ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย sepal  ( กลีบเลี้ยง )   petal  ( กลีบดอก )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   ovule  ( ออวุล )   ovary   ( รังไข่ )   fruit   ( ผล )   seed   ( เมล็ด )   style
กลีบดอก   หลอด กลีบเลี้ยง   แฉกกลีบเลี้ยง   วง กลีบเลี้ยง   ใบประดับย่อย กลีบดอก   เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย ทุเรียน  ( Durio zibethinus  Merr.) ทุเรียนออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยทุเรียนมีใบประดับย่อย  2  ใบ อยู่ ที่ปลายก้านดอกย่อย กลีบเลี้ยง  5  กลีบเชื่อมติดกันคล้ายรูปถ้วย ปลายแยกเป็นแฉกกลีบเลี้ยง  5  แฉก กลีบดอก  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน และแยกเป็น  5  กลุ่ม ล้อมรอบเกสรเพศเมีย เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมียค่อนข้างกลม ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย stigma  style  ovary
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หางนกยูงฝรั่ง  ( Delonix regia  (Bojer ex Hook.) Raf.) หางนกยูงฝรั่งออกดอกเป็นช่อ มีใบประดับย่อยที่โคนก้านดอกย่อย ดอกมีกลีบเลี้ยง  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ  ลักษณะอวบมีเนื้อ ด้านนอกสีเขียว ด้านในสีแดง กลีบดอก  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอกอันบนสุดมีสีสัน และรูปร่างแตกต่างจาก  4  กลีบที่เหลือ เกสรเพศผู้  10  อัน ติดบนฐานดอก เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ลักษณะเป็นตุ่มเล็กๆ bracteole   ( ใบประดับย่อย )
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย petal   ( กลีบดอก )   sepal   ( กลีบเลี้ยง )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   anther   ( อับเรณู )   ovule   ( ออวุล )   ovary   ( รังไข่ )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   เกสรเพศผู้
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลับพลึงตีนเป็ด  ( Hymenocallis littoralis  Salisb.) พลับพลึงตีนเป็ดออกดอกเป็นช่อ มีใบประดับ ที่ปลายก้านช่อดอก ดอกย่อยแต่ละดอกมีใบ ประดับย่อย กลีบรวมมี  6  กลีบ เชื่อมติดกัน ที่โคน ปลายแยกเป็นแฉก  6  แฉก เกสรเพศ ผู้  6  อัน ติดบนหลอดกลีบดอก ส่วนโคนก้าน ชูอับเรณูแผ่ออกคล้ายเป็นปีก และเชื่อมติดกัน เกิดเป็นชั้นกะบังรอบ ที่มีลักษณะคล้ายเป็นวง กลีบ เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ  ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกส รเพศ เมีย  1  อัน ลักษณะเป็นตุ่มกลม  bracteole   ( ใบประดับย่อย )   bract   ( ใบประดับ )   ovule   ( ออวุล )   ovary   ( รังไข่ )   style anther   ( อับเรณู )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   style
ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ovule   ( ออวุล )   ovary   ( รังไข่ )   style   anther   stigma   filament   perianth   ( วงกลีบรวม )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   pistil   ( เกสรเพศเมีย )   staminal column   ( หลอดเกสรเพศผู้ )   ovary   ว่านมหาลาภ  ( Phaedranassa  sp.) ว่านมหาลาภออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีวงกลีบรวม กลีบรวมมี  6  กลีบ เชื่อมติดกันที่โคนเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉก  6  แฉก เกสรเพศผู้  6  อัน ติดบนหลอดกลีบดอกที่บริเวณปากหลอด โคนก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหนึ่งกลุ่ม คล้ายเป็นรูปหลอด ส่วนปลายแยกเป็นอิสระ เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน
petal   ( กลีบดอก )   sepal   ( กลีบเลี้ยง )   stamen   ( เกสรเพศผู้ )   style   ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย )   stigma   ( ยอดเกสรเพศเมีย )   ovary   ( รังไข่ )   receptacle   ( ฐานดอก )   ฝรั่งออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ฝรั่ง ( Eugenia  sp.) anther   ( อับเรณู )   filament   ( ก้านชูอับเรณู )
กลีบกลาง   (standard) กลีบคู่ข้าง   (wing) กลีบคู่ล่าง กลีบกลาง กลีบคู่ข้าง กลีบคู่ล่าง   (keel) เกสรเพศเมีย   (pistil) เกสรเพศผู้   (stamen) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทองกวาว  ( Butea monosperma  (Lam.) Taub.) ทองกวาวออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง  5  กลีบ เชื่อมติดกันคล้ายรูปถ้วย ปลายแยกเป็นแฉกกลีบเลี้ยง  5  แฉก กลีบดอก  5  กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ แบ่งตามตำแหน่งและรูปร่างได้เป็น  3  ชุด ชุดแรกมี  1  กลีบ เป็นกลีบที่ใหญ่ที่สุด เรียก กลีบกลาง ชุดที่  2  อยู่ด้านข้างของกลีบกลาง เรียก กลีบคู่ข้าง คู่สุดท้ายเรียกกลีบคู่ล่าง มักเชื่อมติดกันแบบหลวมๆ คล้ายรูปท้องเรือ หุ้มล้อมเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้  10  อัน แบ่งเป็น  2  ชุด ชุดที่  1  มี  9  อันเชื่อมติดกันเป็นหนึ่งกลุ่ม ชุดที่  2  มี  1  อันแยกเป็นอิสระ เกสรเพศเมีย  1  อัน วงกลีบเลี้ยง
จามจุรี ฉำฉา  ( Albizia lebbeck  (L.) Benth.) จามจุรีออกดอกเป็นช่อ อาจมีใบประดับย่อยรองรับดอกย่อย ดอกย่อยมี  2  แบบอยู่ในช่อเดียวกัน ไม่มีก้านดอกย่อย ดอกย่อยส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก แต่มีเกสรเพศผู้ยาว อยู่ล้อมรอบดอกย่อยอีก  1  ดอก ซึ่งอยู่ตรงกลางช่อ และมีขนาดใหญ่กว่าดอกย่อยอื่นๆ ชัดเจน แต่มีเกสรเพศผู้สั้นกว่า ดอกย่อยทั้งสองแบบกลีบเลี้ยงมีกลีบเลี้ยงสีเขียว เชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายแยกเป็นแฉกกลีบเลี้ยง กลีบดอกสีชมพูเชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายแยกเป็นแฉกกลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูมีสีขาวที่บริเวณครึ่งล่าง ส่วนครึ่งบนมีสีชมพู โคนก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายแยกจากกันเป็นอิสระ อับเรณูสีเหลือง เกสรเพศเมีย  1  อัน รังไข่เหนือวงกลีบ รูปร่างยาว ก้านยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน ยอดเกสรเพศเมีย  1  อัน  ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดอกย่อยดอกกลาง ดอกย่อย ก้านช่อดอก
วงกลีบเลี้ยง   (calyx) วงกลีบดอก   (corolla) เกสรเพศผู้   (stamen) วงกลีบเลี้ยง   วงกลีบดอก   เกสรเพศผู้   ส่วนก้านชูอับเรณู ที่เชื่อมติดกัน รังไข่   (ovary) ก้านยอดเกสรเพศเมีย   (style) ยอดเกสรเพศเมีย   (stigma) รังไข่   ก้านยอดเกสร เพศเมีย   ยอดเกสร เพศเมีย   ออวุล  (ovule) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฐานดอก   (receptacle)

More Related Content

What's hot

ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
Anana Anana
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
chiralak
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
supphawan
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์
Thanyamon Chat.
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชวิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
Sara Hayo
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์การขับถ่ายของสัตว์
การขับถ่ายของสัตว์
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
15แบบทดสอบเทคโนโลยีชีวภาพ
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้ส่วนประกอบของดอกไม้
ส่วนประกอบของดอกไม้
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืชวิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
วิทยาศาสตร์ ม. 1 การสืบพันธุ์ของพืช
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 

Similar to ดอกตอนที่3

การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
nokbiology
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
Nokko Bio
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
แพรุ่ง สีโนรักษ์
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
Krupoonsawat
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
Wichai Likitponrak
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
Wichai Likitponrak
 

Similar to ดอกตอนที่3 (20)

ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2ดอกตอนที่2
ดอกตอนที่2
 
Webskt2
Webskt2Webskt2
Webskt2
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1ดอกตอนที่1
ดอกตอนที่1
 
Webskt1
Webskt1Webskt1
Webskt1
 
Plant
PlantPlant
Plant
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931Study of angiosperm group 1 room 931
Study of angiosperm group 1 room 931
 
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็กการศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
การศึกษาลักษณะและองค์ประกอบต่าง ๆของขี้เหล็ก
 
pracharat
pracharatpracharat
pracharat
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 

ดอกตอนที่3

  • 1. ส้าน ( Dillenia sp.) ดอกส้านมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ ไม่ร่วง ติดทนจนเกิดผล กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก แยกจากกันเป็นอิสระเรียงเป็นหลายวงล้อมรอบเกสรเพศเมียเอาไว้ เกสรเพศเมียมีหลายคาร์เพล อาจแยกจากกัน หรือเชื่อมติดกันหลวมๆ แต่ติดอยู่ที่แกนกลางเดียวกัน ก้านยอดเกสรเพศเมียจำนวนเท่ากับคาร์เพล ลักษณะคล้ายเกสรเพศผู้ รังไข่เหนือวงกลีบ ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย sepal ( กลีบเลี้ยง ) petal ( กลีบดอก ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) ovule ( ออวุล ) ovary ( รังไข่ ) fruit ( ผล ) seed ( เมล็ด ) style
  • 2. กลีบดอก หลอด กลีบเลี้ยง แฉกกลีบเลี้ยง วง กลีบเลี้ยง ใบประดับย่อย กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย ทุเรียน ( Durio zibethinus Merr.) ทุเรียนออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยทุเรียนมีใบประดับย่อย 2 ใบ อยู่ ที่ปลายก้านดอกย่อย กลีบเลี้ยง 5 กลีบเชื่อมติดกันคล้ายรูปถ้วย ปลายแยกเป็นแฉกกลีบเลี้ยง 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน และแยกเป็น 5 กลุ่ม ล้อมรอบเกสรเพศเมีย เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมียค่อนข้างกลม ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย stigma style ovary
  • 3. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หางนกยูงฝรั่ง ( Delonix regia (Bojer ex Hook.) Raf.) หางนกยูงฝรั่งออกดอกเป็นช่อ มีใบประดับย่อยที่โคนก้านดอกย่อย ดอกมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ ลักษณะอวบมีเนื้อ ด้านนอกสีเขียว ด้านในสีแดง กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอกอันบนสุดมีสีสัน และรูปร่างแตกต่างจาก 4 กลีบที่เหลือ เกสรเพศผู้ 10 อัน ติดบนฐานดอก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ลักษณะเป็นตุ่มเล็กๆ bracteole ( ใบประดับย่อย )
  • 4. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย petal ( กลีบดอก ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) anther ( อับเรณู ) ovule ( ออวุล ) ovary ( รังไข่ ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) เกสรเพศผู้
  • 5. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พลับพลึงตีนเป็ด ( Hymenocallis littoralis Salisb.) พลับพลึงตีนเป็ดออกดอกเป็นช่อ มีใบประดับ ที่ปลายก้านช่อดอก ดอกย่อยแต่ละดอกมีใบ ประดับย่อย กลีบรวมมี 6 กลีบ เชื่อมติดกัน ที่โคน ปลายแยกเป็นแฉก 6 แฉก เกสรเพศ ผู้ 6 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก ส่วนโคนก้าน ชูอับเรณูแผ่ออกคล้ายเป็นปีก และเชื่อมติดกัน เกิดเป็นชั้นกะบังรอบ ที่มีลักษณะคล้ายเป็นวง กลีบ เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกส รเพศ เมีย 1 อัน ลักษณะเป็นตุ่มกลม bracteole ( ใบประดับย่อย ) bract ( ใบประดับ ) ovule ( ออวุล ) ovary ( รังไข่ ) style anther ( อับเรณู ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) style
  • 6. ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ovule ( ออวุล ) ovary ( รังไข่ ) style anther stigma filament perianth ( วงกลีบรวม ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) pistil ( เกสรเพศเมีย ) staminal column ( หลอดเกสรเพศผู้ ) ovary ว่านมหาลาภ ( Phaedranassa sp.) ว่านมหาลาภออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีวงกลีบรวม กลีบรวมมี 6 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคนเป็นหลอด ปลายแยกเป็นแฉก 6 แฉก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดบนหลอดกลีบดอกที่บริเวณปากหลอด โคนก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหนึ่งกลุ่ม คล้ายเป็นรูปหลอด ส่วนปลายแยกเป็นอิสระ เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน
  • 7. petal ( กลีบดอก ) sepal ( กลีบเลี้ยง ) stamen ( เกสรเพศผู้ ) style ( ก้านยอดเกสรเพศเมีย ) stigma ( ยอดเกสรเพศเมีย ) ovary ( รังไข่ ) receptacle ( ฐานดอก ) ฝรั่งออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ เกสรเพศผู้จำนวนมาก เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ฝรั่ง ( Eugenia sp.) anther ( อับเรณู ) filament ( ก้านชูอับเรณู )
  • 8. กลีบกลาง (standard) กลีบคู่ข้าง (wing) กลีบคู่ล่าง กลีบกลาง กลีบคู่ข้าง กลีบคู่ล่าง (keel) เกสรเพศเมีย (pistil) เกสรเพศผู้ (stamen) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทองกวาว ( Butea monosperma (Lam.) Taub.) ทองกวาวออกดอกเป็นช่อ ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันคล้ายรูปถ้วย ปลายแยกเป็นแฉกกลีบเลี้ยง 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ แบ่งตามตำแหน่งและรูปร่างได้เป็น 3 ชุด ชุดแรกมี 1 กลีบ เป็นกลีบที่ใหญ่ที่สุด เรียก กลีบกลาง ชุดที่ 2 อยู่ด้านข้างของกลีบกลาง เรียก กลีบคู่ข้าง คู่สุดท้ายเรียกกลีบคู่ล่าง มักเชื่อมติดกันแบบหลวมๆ คล้ายรูปท้องเรือ หุ้มล้อมเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้ 10 อัน แบ่งเป็น 2 ชุด ชุดที่ 1 มี 9 อันเชื่อมติดกันเป็นหนึ่งกลุ่ม ชุดที่ 2 มี 1 อันแยกเป็นอิสระ เกสรเพศเมีย 1 อัน วงกลีบเลี้ยง
  • 9. จามจุรี ฉำฉา ( Albizia lebbeck (L.) Benth.) จามจุรีออกดอกเป็นช่อ อาจมีใบประดับย่อยรองรับดอกย่อย ดอกย่อยมี 2 แบบอยู่ในช่อเดียวกัน ไม่มีก้านดอกย่อย ดอกย่อยส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก แต่มีเกสรเพศผู้ยาว อยู่ล้อมรอบดอกย่อยอีก 1 ดอก ซึ่งอยู่ตรงกลางช่อ และมีขนาดใหญ่กว่าดอกย่อยอื่นๆ ชัดเจน แต่มีเกสรเพศผู้สั้นกว่า ดอกย่อยทั้งสองแบบกลีบเลี้ยงมีกลีบเลี้ยงสีเขียว เชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายแยกเป็นแฉกกลีบเลี้ยง กลีบดอกสีชมพูเชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายแยกเป็นแฉกกลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูมีสีขาวที่บริเวณครึ่งล่าง ส่วนครึ่งบนมีสีชมพู โคนก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหลอด ส่วนปลายแยกจากกันเป็นอิสระ อับเรณูสีเหลือง เกสรเพศเมีย 1 อัน รังไข่เหนือวงกลีบ รูปร่างยาว ก้านยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดอกย่อยดอกกลาง ดอกย่อย ก้านช่อดอก
  • 10. วงกลีบเลี้ยง (calyx) วงกลีบดอก (corolla) เกสรเพศผู้ (stamen) วงกลีบเลี้ยง วงกลีบดอก เกสรเพศผู้ ส่วนก้านชูอับเรณู ที่เชื่อมติดกัน รังไข่ (ovary) ก้านยอดเกสรเพศเมีย (style) ยอดเกสรเพศเมีย (stigma) รังไข่ ก้านยอดเกสร เพศเมีย ยอดเกสร เพศเมีย ออวุล (ovule) ลิขสิทธิ์ของหน่วยปฏิบัติการวิจัยพรรณไม้ประเทศไทย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฐานดอก (receptacle)