SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
บทที่ 1
บทนำ
1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
ผู้สูงอายุ เป็ นประชากรที่มีจานวนเพิ่มมากขึ้ นทุกปีอันเนื่ องมากจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์
เทคโนโลยีสมัยใหม่ การดูแลสุขภาพทั้งกาย จิตใจ รวมถึงการบริโภคอาหารอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามวัยผู้สูงอายุ
ปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุในทั่วโลกรวมถึงประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยพบว่า
ประเทศไทยมีประชากร 64.92ล้านคน มีจานวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 10.02ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 15.43
(ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และแนวทางการจัดเก็บข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข, 2558)
ผู้สูงอายุมีปัญหาด้านสุขภาพเนื่ องจากเป็ นความชรา เซลล์ เนื้ อเยื่อ อวัยวะต่างๆเสื่อมลงตามธรรมชาติ
ทาให้เกิดการเสื่อมของอวัยวะต่างๆ พบว่าประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมีความต้องการช่วยเหลือจากญาติพี่น้อง หรือคนดูแล
คิดเป็นร้อยละ 22และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี (สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย, 2551) โรคที่มักพบในผู้สูงอายุ ได้แก่
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง อัมพฤกษ์/อัมพาต เป็นต้น
ผลจ าก การส ารวจ สุ ข ภ าพ ป ระ ช าช น ไ ท ย โด ย ก ารต รวจ ร่ าง กาย ครั้ ง ที่ 4 พ .ศ. 2551-2552
โดย สานั กง าน สารวจสุ ข ภ าพ ประ ชาชน ไทย ที่ประเมิ น ภ าวะ สุข ภ าพ ข องผู้สูง อายุ จาน วน 9,195 คน
พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประเมินว่าสุขภาพตนเองโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 48.4และประเมินว่าดีถึงดีมากร้อยละ
38.1และผู้สูงอายุที่ประเมินว่าสุขภาพไม่ดีและไม่ดีเลย ร้อยละ 12.5และ 1.0ตามลาดับ(สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย,
2551)
ในจังหวัดเลย มีจานวนผู้สูงอายุ ทั้งหมด 88,107 คน อาเภอวังสะพุง มีจาน วนผู้สูงอายุ 16,553 คน
ตาบลหนองหญ้าปล้อง มีจานวนผู้สูงอายุ 1,860คน คิดเป็นร้อยละ 10.20 และในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต. เหมืองแบ่ง
มี ผู้ สู ง อ า ยุ จ า น ว น 1,202 ค น ( http://dopa.go.th ส ถิ ติ ป ร ะ ช า ก ร แ ล ะ บ้ า น , 2557)
ซึ่ ง ผู้สู ง อ ายุ เป็ น วัย ที่ เข้ าม ารั บ บ ริ ก าร ใ น โ ร ง พ ย าบ า ล่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ าพ ต าบ ล ม า ก ที่ สุ ด
เพื่ อ ใ ห้ การจั ดบ ริ การใ ห้ ต รง กับ ปั ญ ห าแ ล ะ ค วาม ต้อง ก ารข อ ง ผู้สู ง อายุ จึ ง ควรมี การศึ กษ า
และได้นาผลการศึกษาครั้งนี้มาเป็นข้อมูลพื้นฐานและหาแนวทางในการสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองและพึ่งพาตนเอ
ง ด้ า น สุ ข ภ า พ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ชุ ม ช น
และนามาใช้ในการดาเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพให้สอดคล้องปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุต่อไป
2. คำถำมกำรวิจัย
1. ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง มีปัญหาด้านสุขภาพด้าน
ไหนมากที่สุด
2. ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง มีความต้องการด้านสุขภาพ
ด้านไหนมากที่สุด
3. วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย :เพื่อศึกษา
1. ปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง
ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
2. ความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
บ้านเหมืองแบ่ง ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย
4. ขอบเขตกำรศึกษำ
ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง โดยเก็บขอมูลจากผู้สูงอายุ ในพื้นที่ 12หมู่บ้าน
ของตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ซึ่งมีขอบเขตการศึกษา คือ
5.1 ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ ศึกษาปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ 4ด้าน คือ
1.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านร่างกาย
2.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านจิตใจ
1.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านสงคม และเศรษฐกิจ
4.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านจิตวิญญาณ
5.2 ขอบเขตด้ำนกลุ่มเป้ ำหมำย และประชำกร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60ปี ขึ้นไป
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง
จังหวัดเลย จานวน 340 คน (จากฐานข้อมูลโปรแกรม HosXP_PCUเวอร์ชั่น 3.57.4.1)
5.3 ข อ บ เข ต ด้ ำน พื้ น ที่ ก ำร ศึ กษ ำ เป็ น ก ารศึ กษ าข้ อ มู ลใ น ป ระ ชากรผู้สู งอ ายุ 60 ปี ขึ้ น ไ ป
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง จานวน 12หมู่บ้าน
5.4 ขอบเขตด้ำนเวลำ ระหว่างเดือน ตุลาคม 2557 ถึง มีนาคม 2558
5. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
นาไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้วางแผน และ เพื่อแก้ไขปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพในผู้สูงอายุ
6. นิยำมศัพท์เฉพำะ
ผู้ สู ง อ ำ ยุ ห ม า ย ถึ ง ผู้ ที่ มี อ า ยุ ตั้ ง แ ต่ 60 ปี ขึ้ น ไ ป ทั้ ง ช า ย แ ล ะ ห ญิ ง
ที่อาศัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง
จังหวัดเลย
รำยได้ หมายถึง จานวนเงินของผู้สูงอายุต่อเดือน ที่ได้มาทุกรายได้อาจได้รับจากบุตรหลาน ญาติพี่น้อง เงินบานาญ
การประกอบอาชีพ หรือเงินช่วยเหลือจากรัฐเช่น เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุจากองค์การบริการส่วนท้องถิ่น
ปัญหำด้ำนสุขภำพหมายถึงความเจ็บป่วยที่ก่อให้เกิดความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ
ในการศึกษาครั้งนี้ทาการวัดปัญหาสุขภาพใน 4มิติและปัญหาเฉพาะในผู้สูงอายุเป็นการวัดจากการประมาณตนเองหรือการรับรู้
โดยใช้เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมา ทั้งหมด 23ข้อแบ่งออกเป็น 5ระดับ ดังนี้
มากที่สุด ให้คะแนน 5คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวมากที่สุด
มาก ให้คะแนน 4คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวมาก
ปานกลาง ให้คะแนน 3คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวปานกลาง
น้อย ให้คะแนน 2คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวน้อย
น้อยที่สุด ให้คะแนน 1คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวน้อยที่สุด
ควำมต้ องกำรด้ ำนสุ ขภำพ หมายถึง ความรู้สึกส่วนตัว ที่อยากได้รับการตอบสนองด้านร่างกาย จิ ตใจ
สังคมและจิตวิญญาณ ในการศึกษาครั้งนี้ ทาการวัดความต้องการด้านสุขภาพใน 4มิติ และความต้องการเฉพาะในผู้สูงอายุ
เป็นการวัดจากการประมาณตนเองหรือการรับรู้ โดยใช้เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมา ทั้งหมด 22ข้อแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
มากที่สุด ให้คะแนน 5คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพมากที่สุด
มาก ให้คะแนน 4คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพมาก
ปานกลาง ให้คะแนน 3คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพปานกลาง
น้อย ให้คะแนน 2คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพน้อย
น้อยที่สุด ให้คะแนน 1คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพน้อยที่สุด

Contenu connexe

Tendances

ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนNooa Love
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม Tuang Thidarat Apinya
 
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilClinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilVorawut Wongumpornpinit
 
นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61BrownSoul Tewada
 
Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Chanavi Kremla
 
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคารผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคารEASY ROOM
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องPPtocky
 

Tendances (12)

ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
อ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อนอ.บ ญเร อน
อ.บ ญเร อน
 
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
รายงานผลการทบทวนการบริโภคเกลือและโซเดียม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Clinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oilClinical practice guideline for using cannabis oil
Clinical practice guideline for using cannabis oil
 
นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61นิเทศงาน รอบ 1 61
นิเทศงาน รอบ 1 61
 
Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Region health plan_by region11
Region health plan_by region11
 
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคารผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
ผลิตภัณฑ์พูดวันอังคาร
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 

Similaire à บทที่ 1

การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นNamfon fon
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 sspravina Chayopan
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยMickey Toon Luffy
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงteeradejmwk
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพThanom Sak
 
การดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วม
การดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วมการดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วม
การดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วมssuserf124bf
 
Resilient for health innovation
Resilient for health innovationResilient for health innovation
Resilient for health innovationPhathai Singkham
 

Similaire à บทที่ 1 (20)

District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่นการดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
การดูแลสุขภาพในวัยรุ่น
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss58210401213 งาน 1 ss
58210401213 งาน 1 ss
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
1234
12341234
1234
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
Simenar Project
Simenar ProjectSimenar Project
Simenar Project
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
การดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วม
การดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วมการดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วม
การดูแลผู้ป่วยจิตเวช แบบมีส่วนร่วม
 
Resilient for health innovation
Resilient for health innovationResilient for health innovation
Resilient for health innovation
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 บทนำ 1. ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ ผู้สูงอายุ เป็ นประชากรที่มีจานวนเพิ่มมากขึ้ นทุกปีอันเนื่ องมากจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ การดูแลสุขภาพทั้งกาย จิตใจ รวมถึงการบริโภคอาหารอย่างถูกต้องและครบถ้วนตามวัยผู้สูงอายุ ปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุในทั่วโลกรวมถึงประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยพบว่า ประเทศไทยมีประชากร 64.92ล้านคน มีจานวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 10.02ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 15.43 (ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด และแนวทางการจัดเก็บข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข, 2558) ผู้สูงอายุมีปัญหาด้านสุขภาพเนื่ องจากเป็ นความชรา เซลล์ เนื้ อเยื่อ อวัยวะต่างๆเสื่อมลงตามธรรมชาติ ทาให้เกิดการเสื่อมของอวัยวะต่างๆ พบว่าประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมีความต้องการช่วยเหลือจากญาติพี่น้อง หรือคนดูแล คิดเป็นร้อยละ 22และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี (สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย, 2551) โรคที่มักพบในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง อัมพฤกษ์/อัมพาต เป็นต้น ผลจ าก การส ารวจ สุ ข ภ าพ ป ระ ช าช น ไ ท ย โด ย ก ารต รวจ ร่ าง กาย ครั้ ง ที่ 4 พ .ศ. 2551-2552 โดย สานั กง าน สารวจสุ ข ภ าพ ประ ชาชน ไทย ที่ประเมิ น ภ าวะ สุข ภ าพ ข องผู้สูง อายุ จาน วน 9,195 คน พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประเมินว่าสุขภาพตนเองโดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 48.4และประเมินว่าดีถึงดีมากร้อยละ 38.1และผู้สูงอายุที่ประเมินว่าสุขภาพไม่ดีและไม่ดีเลย ร้อยละ 12.5และ 1.0ตามลาดับ(สานักงานสารวจสุขภาพประชาชนไทย, 2551) ในจังหวัดเลย มีจานวนผู้สูงอายุ ทั้งหมด 88,107 คน อาเภอวังสะพุง มีจาน วนผู้สูงอายุ 16,553 คน ตาบลหนองหญ้าปล้อง มีจานวนผู้สูงอายุ 1,860คน คิดเป็นร้อยละ 10.20 และในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต. เหมืองแบ่ง มี ผู้ สู ง อ า ยุ จ า น ว น 1,202 ค น ( http://dopa.go.th ส ถิ ติ ป ร ะ ช า ก ร แ ล ะ บ้ า น , 2557) ซึ่ ง ผู้สู ง อ ายุ เป็ น วัย ที่ เข้ าม ารั บ บ ริ ก าร ใ น โ ร ง พ ย าบ า ล่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ าพ ต าบ ล ม า ก ที่ สุ ด เพื่ อ ใ ห้ การจั ดบ ริ การใ ห้ ต รง กับ ปั ญ ห าแ ล ะ ค วาม ต้อง ก ารข อ ง ผู้สู ง อายุ จึ ง ควรมี การศึ กษ า และได้นาผลการศึกษาครั้งนี้มาเป็นข้อมูลพื้นฐานและหาแนวทางในการสนับสนุนให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองและพึ่งพาตนเอ ง ด้ า น สุ ข ภ า พ ที่ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ชุ ม ช น และนามาใช้ในการดาเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพให้สอดคล้องปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุต่อไป 2. คำถำมกำรวิจัย 1. ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง มีปัญหาด้านสุขภาพด้าน ไหนมากที่สุด 2. ผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง มีความต้องการด้านสุขภาพ ด้านไหนมากที่สุด 3. วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย :เพื่อศึกษา 1. ปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 2. ความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
  • 2. บ้านเหมืองแบ่ง ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย 4. ขอบเขตกำรศึกษำ ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล เ กี่ ย ว กั บ ปั ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ผู้ สู ง อ า ยุ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง โดยเก็บขอมูลจากผู้สูงอายุ ในพื้นที่ 12หมู่บ้าน ของตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ซึ่งมีขอบเขตการศึกษา คือ 5.1 ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ ศึกษาปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ 4ด้าน คือ 1.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านร่างกาย 2.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านจิตใจ 1.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านสงคม และเศรษฐกิจ 4.)ปัญหา และความต้องการสุขภาพด้านจิตวิญญาณ 5.2 ขอบเขตด้ำนกลุ่มเป้ ำหมำย และประชำกร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60ปี ขึ้นไป ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย จานวน 340 คน (จากฐานข้อมูลโปรแกรม HosXP_PCUเวอร์ชั่น 3.57.4.1) 5.3 ข อ บ เข ต ด้ ำน พื้ น ที่ ก ำร ศึ กษ ำ เป็ น ก ารศึ กษ าข้ อ มู ลใ น ป ระ ชากรผู้สู งอ ายุ 60 ปี ขึ้ น ไ ป ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง จานวน 12หมู่บ้าน 5.4 ขอบเขตด้ำนเวลำ ระหว่างเดือน ตุลาคม 2557 ถึง มีนาคม 2558 5. ผลที่คำดว่ำจะได้รับ นาไปเป็นข้อมูลพื้นฐานเพื่อใช้วางแผน และ เพื่อแก้ไขปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพในผู้สูงอายุ 6. นิยำมศัพท์เฉพำะ ผู้ สู ง อ ำ ยุ ห ม า ย ถึ ง ผู้ ที่ มี อ า ยุ ตั้ ง แ ต่ 60 ปี ขึ้ น ไ ป ทั้ ง ช า ย แ ล ะ ห ญิ ง ที่อาศัยในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเหมืองแบ่ง ตาบลหนองหญ้าปล้อง อาเภอวังสะพุง จังหวัดเลย รำยได้ หมายถึง จานวนเงินของผู้สูงอายุต่อเดือน ที่ได้มาทุกรายได้อาจได้รับจากบุตรหลาน ญาติพี่น้อง เงินบานาญ การประกอบอาชีพ หรือเงินช่วยเหลือจากรัฐเช่น เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุจากองค์การบริการส่วนท้องถิ่น ปัญหำด้ำนสุขภำพหมายถึงความเจ็บป่วยที่ก่อให้เกิดความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ ในการศึกษาครั้งนี้ทาการวัดปัญหาสุขภาพใน 4มิติและปัญหาเฉพาะในผู้สูงอายุเป็นการวัดจากการประมาณตนเองหรือการรับรู้ โดยใช้เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมา ทั้งหมด 23ข้อแบ่งออกเป็น 5ระดับ ดังนี้ มากที่สุด ให้คะแนน 5คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวมากที่สุด มาก ให้คะแนน 4คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวมาก ปานกลาง ให้คะแนน 3คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวปานกลาง น้อย ให้คะแนน 2คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวน้อย น้อยที่สุด ให้คะแนน 1คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีปัญหาดังกล่าวน้อยที่สุด
  • 3. ควำมต้ องกำรด้ ำนสุ ขภำพ หมายถึง ความรู้สึกส่วนตัว ที่อยากได้รับการตอบสนองด้านร่างกาย จิ ตใจ สังคมและจิตวิญญาณ ในการศึกษาครั้งนี้ ทาการวัดความต้องการด้านสุขภาพใน 4มิติ และความต้องการเฉพาะในผู้สูงอายุ เป็นการวัดจากการประมาณตนเองหรือการรับรู้ โดยใช้เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมา ทั้งหมด 22ข้อแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ มากที่สุด ให้คะแนน 5คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพมากที่สุด มาก ให้คะแนน 4คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพมาก ปานกลาง ให้คะแนน 3คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพปานกลาง น้อย ให้คะแนน 2คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพน้อย น้อยที่สุด ให้คะแนน 1คะแนน หมายถึง ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านสุขภาพน้อยที่สุด