SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ลักษณะครูที่ดี
บุคลิกภาพ หมายถึง ลักษณะโดยรวมของบุคคลทั้งภายนอกและภายใน
ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้บางอย่างก็แสดงออกให้ผู้อื่นรับรู้ได้บางอย่างก็
ไม่แสดงออกให้ผู้อื่นรับรู้ และมีความสาคัญต่อการปรับตัวในการอยู่
ร่วมกันของมนุษย์
บุคคลิกภาพ
บุคลิกภาพของครูผู้สอนแบ่งออกเป็น ๕ องค์ประกอบ ดังนี้
 ด้านกายภาพ
 ด้านวาจา
 ด้านสติปัญญา
 ด้านอารมณ์
 ด้านความสนใจ
บุคคลิกภาพของครู
รูปร่างหน้าตากิริยาอาการและการแต่งกายเป็นสาคัญ ผู้สอนที่มี
บุคลิกภาพด้านกายภาพเป็นปกติหรือดูน่าเชื่อถือ จะมีโอกาสประสบ
ความสาเร็จในการอยู่ร่วมกันกับผู้เรียนมากกว่าผู้สอนที่มีบุคลิกภาพด้าน
กายภาพผิดปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผิดปกติในทางที่ไม่ดี หากจะ
กล่าวเฉพาะในด้านการแต่งกายแล้ว อาจสรุปได้ว่า การแต่งกายที่
เหมาะสมที่สุดของผู้สอน คือการแต่งกายที่สะอาด เรียบร้อย ดูดี
น่าเชื่อถือ รวมถึงการแต่งหน้าและทรงผมที่เหมาะสมด้วย
บุคคลิกภาพของครูด้านกายภาพ
การแสดงออกโดยทางวาจา การพูดด้วยถ้อยคาที่ถูกต้อง ชัดเจน
เหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียนไม่ยากหรือง่ายเกินไป การพูดด้วย
น้าเสียงที่แฝงด้วยความเมตตา ปรารถนาดี นุ่มนวล การพูดด้วยลีลาที่
เหมาะสม ไม่ช้าไม่เร็วเกินไปรวมถึงไม่พูดน้อยจนดูเงียบขรึม หรือ
พูดมากจนน่าราคาญ
บุคคลิกภาพของครูด้านวาจา
การมีไหวพริบที่ดี สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างเหมาะสม
มีการตัดสินใจที่ดีและมีอารมณ์ขันที่พอดี สามารถสร้างอารมณ์ขันให้แก่
ผู้เรียนและตอบรับอารมณ์ขันของผู้เรียนได้
บุคคลิกภาพของครูด้านสติปัญญา
การควบคุมอารมณ์ได้ดีไม่แสดงความรู้สึกต่างๆออกไปง่ายจนเกินไป
ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ดีใจ อารมณ์โกรธ อารมณ์เศร้า อารมณ์หงุดหงิด ราคาญ
หรืออารมณ์ใดๆ ผู้สอนที่มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่เหมาะสมคือ ผู้สอนที่มี
อารมณ์ดี มั่นคง เสมอต้นเสมอปลาย ซึ่งจะแสดงออกให้เห็นทางสีหน้า แววตา
ท่าทาง และวาจาให้ผู้เรียนรับรู้ได้ อย่างไรก็ตามผู้สอนอาจโกรธผู้เรียนได้บ้าง
หากมีเหตุผลอันสมควร แต่ไม่ใช่การโกรธเนื่องจากการมีความผิดปกติทาง
อารมณ์และดูเหมือนว่าจะมีผู้สอนไม่น้อนที่โกรธหรือขัดใจกับผู้เรียนอยู่เป็น
ประจา แต่ผู้เรียนสามารถปรับตัวได้เพราะเกิดการเรียนรู้ว่านั่นคือลักษณะของ
ผู้สอนซึ่งเป็นไปตามคากล่าวที่ว่า หากอารมณ์ดีเสมอต้นเสมอปลายไม่ได้ ก็
ขอให้อารมณ์ร้ายคงเส้นคงวาดีกว่าคุ้มดีคุ้มร้าย เพราะผู้สอนที่อารมณ์แปรปวน
จะเป็นอุปสรรคต่อการปรับตัวของผู้เรียนนั่นเอง
บุคคลิกภาพของครูด้านอารมณ์
การมีความกระตือรือร้นที่จะรับรู้ข้อมูลหรือความรู้ต่างๆรอบตัว
อย่างหลากหลาย เนื่องจากความสนใจที่หลากหลายนั้นจะก่อให้เกิด
ประสบการณ์รอบด้าน นาไปสู่ทักษะในการสื่อสารที่ดีโดยมีหลักคิดหนึ่ง
กล่าวไว้ว่า บุคคลที่มีความสนใจตรงกันจะสื่อสารความคิดกันได้ดี ซึ่งใน
การสอนที่ผู้เรียนจานวนมากมีความสนใจต่างกันไป ผู้สอนที่มีความสนใจ
หลากหลายนั้น จะสามารถเลือกใช้คาพูดหรือการกระทาเพื่อสื่สารกับผู้เรียน
กลุ่มต่างๆได้ดี สื่อสารได้หลายลักษณะ สร้างความพอใจในการรับสารของ
ผู้เรียนส่วนมากได้เพราะถ้าผู้สอนขาดทักษะทางด้านนี้แล้ว การสอนเป็น
การสื่อสารที่ถูกใจผู้เรียนบางกลุ่มและไม่ถูกใจผู้เรียนบางกลุ่มได้
บุคคลิกภาพของครูด้านความสนใจ
ครูที่ดีควรมีองค์ประกอบสาคัญดดังีี้
การเป็นผู้มีความรู้
ครูต้องมีทักษะการสอน
ครูต้องสามารถนาความรู้ทาง
ทฤษฎีไปปฏิบัติได้
ครูต้องสามารถสื่อสารให้ผู้เรียน
เกิดความเข้าใจได้อย่างชัดเจน
ครูต้องมีความสามารถในศิลปะ
และวิทยาการที่หลากหลาย
 ครูต้องมีความเชื่อมั่นใน
ตนเอง
 กระทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี
งาม
 ครูต้องมีความยืดหยุ่น
 ครูต้องมีความซื่อสัตย์
 การมีจิตวิญญาณครู
การเป็นครูที่ดี
ครูต้องเป็นผู้มีความรู้ในเนื้อหาที่ตนจะสอนและรู้รอบด้าน รวมทั้ง
มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ
การเป็นผู้มีความรู้
ครูควรมีทักษะการสอนที่หลากหลาย การสอนที่มีประสิทธิภาพ
ไม่ใช่การบอกต่อ หรือเป็นเพียงการที่เป็นผู้มีความรู้มากกว่าถ่ายทอดความรู้
ไปยังผู้ที่มีความรู้น้อยกว่าเท่านั้น แต่การสอนที่มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัย
ยุทธวิธีหลายอย่างในการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้และ
ยั่งยืน
ครูต้องมีทักษะการสอน
ครูที่ดีต้องสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาเล่าเรียนมา
ประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติจริง ซึ่งในระหว่างที่เป็นนักศึกษาครูควรต้องมีการ
ฝึกฝนและสั่งสมประสบการณ์ในการสอนให้มากที่สุด ต้องมีส่วนร่วมใน
สถานการณ์จริงให้มากต้องหมั่นซักถามข้อสงสัยจากอาจารย์หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิเมื่อตนเองไม่เข้าใจ สอบถามความเห็นจากผู้เรียนและขอ
คาแนะนาจากผู้บริหารและผู้ปกครอง เพื่อนากลับมาพิจารณาปรับปรุงให้ดี
ขึ้น
ครูต้องสามารถนาความรู้ทางทฤษฎีไปปฏิบัติได้
ครูต้องสามารถสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้อย่างชัดเจน
กระชับ ตรงประเด็นทั้งในภาษาพูดและภาษาเขียน
ครูต้องสามารถสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจได้
แม้ว่าครูหรือผู้สอนจะเลือกศึกษาวิชาสาขาใดสาขาหนึ่งเป็น
วิชาเอก เช่น การศึกษาปฐมวัย ภาษาไทย สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ หรืออื่นๆ แต่ครูที่ประสบความสาเร็จส่วนมาก
ไม่ได้มีความรู้เพียงด้านใดด้านหนึ่งดังที่กล่าวมาข้างต้นเท่านั้น
ครูต้องมีความสามารถในศิลปะและวิทยาการที่หลากหลาย
วิธีที่ดีที่สุดในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับตนเองก็คือ การทดสอบ
ตนเองและพัฒนาความเชื่อมั่นในประสบการณ์ต่างๆที่สัมพันธ์กับการสอน
ให้มากที่สุด การได้รับข้อสังเกตในทางบวกจากงานที่ได้กระทาสาเร็จลง
ด้วยดีจะช่วยส่งเสริมความเชื่อมั่นของบุคคลได้อย่างดี
ครูต้องมีความเชื่อมั่นในตนเอง
ครูควรเป็นบุคคลที่กระทาตยให้เป็นแบบอย่างที่ดีเป็นพิเศษและ
กระทาสิ่งที่ถูกต้องดีงามเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตขิงตน เพราะ
เด็กและเยาวชนต้องการแบบอย่างและมักจะเลียนแบบ ปัจจุบันพฤติกรรม
ต่างๆของเด็กจานวนมากมักจะได้แบบอย่างมาจากโทรทัศน์ ภาพยนตร์
หรือเพื่อนบ้าน แบบอย่างบางประการที่ได้มาจากสื่อมวลชนอาจจะดี แต่ก็มี
พฤติกรรมบางอย่างที่ลอกเลียนไปในทางลบ เยาวชนที่ขาดความรักความ
อบอุ่นจากบิดามารดา ปู่ย่า ตายายและไม่ได้แบบอย่างที่ดีงามจากครู มักจะ
ปฏิบัติตัวไปในทางเสื่อมเสียตามที่ตนเองได้ตัดสินใจ ดังนั้นครูควรระลึกอยู่
เสมอว่า การกระทาตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีกับเด็กๆ ที่ตนเองรับผิดชอบเป็ย
สิ่งหนึ่งที่ดีที่สุดที่ครูอาจารย์สามารถให้ความช่วยเหลือสังคมได้
กระทาตนเป็นแบบอย่างที่ดีงาม
การเป็นผู้ที่มีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้น
ครูต้องมีความยืดหยุ่น
การมีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นคุณลักษณะที่มีความสาคัญมาก
สาหรับคนทุกคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เป็นครู ครูที่ดีมีความซื่อสัตย์จริงใจ
ต่อคาพูดและการกระทา เมื่อบอกผู้เรียนว่าจะทาอะไรก็ทาสิ่งนัในให้สาเร็จ
ครูที่มีจิตวิญญาณครูโดยแท้จริงแล้ว จะเป็นผู้ที่มีความรักความ
เมตตาในตัวผู้เรียนและยินดีในภารกิจการสอน
การมีจิตวิญญาณครู
ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน
ปฏิสัมพัีธ์ ( interaction) หมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างบุคคล
๒ คน หรือบุคคล ๒ ฝ่าย โดยต่างฝ่ายต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน
ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียนมี ๓ ลักษณะ
ปฏิสัมพัีธ์ระหว่างครูกับีักเรียี
ถ้าปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนเป็นไปด้วยดี หมายถึง ทั้งครู
และนักเรียนต่างมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้
ซักถาม ครูให้ความเป็นกันเองแก่นักเรียน ให้นักเรียนมีอิสระ และมีความ
สบายใจในการทากิจกรรม บรรยากาศภายในห้องเรียนก็จะไม่ตึงเครียด เป็น
บรรยากาศที่รื่นรมย์น่าเรียน น่าสอน ซึ่งจะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี
ปฏิสัมพัีธ์ระหว่างีักเรียีกับีักเรียี
บรรยากาศในห้องเรียนจะเต็มไปด้วยความอบอุ่น สร้างความรู้สึกที่ดี
ให้แก่นักเรียนได้ถ้านักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน คือ มีความสมัครสมาน
สามัคคี รักใคร่กลมเกลียวกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีน้าใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่ง
กันและกัน นักเรียนจะมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันได้นั้น ขึ้นอยู่กับครูเป็นสาคัญ คือ
เป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน ปกครองดูแลนักเรียนได้ทั่วถึง สั่งสอนอบรมบ่ม
นิสัย และแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของนักเรียนได้ถูกต้อง นักเรียนก็จะ
ค่อยๆ ซึมซาบและซับเอาสิ่งที่ดีงามไว้ปฏิบัติจนเป็นคุณลักษณะเฉพาะตนที่พึง
ประสงค์ เมื่อนักเรียนทุกคนต่างเป็นคนดี เพราะมีครูดี ทุกคนก็จะมีปฏิสัมพันธ์ที่
ดีต่อกัน อันเป็นส่วนสร้างเสริมให้เกิดบรรยากาศที่พึงปรารถนาขึ้นในห้องเรียน
ปฏิสัมพัีธ์ทางวาจา
หมายถึง การพูดจาร่วมกันในชั้นเรียนระหว่างครูกับนักเรียน อาจ เป็นการ
บรรยาย การอภิปราย การถามคาถาม การมอบหมายงาน การพูดของ
นักเรียน เป็นต้น ทั้งหมดนี้มีอิทธิพลต่อการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
เช่นกัน
จัดทาโดย
ีางสาวพิมพ์ชีก พาีทอง
รหัส 5801602095 รุ่ี 2 กลุ่ม 4

More Related Content

What's hot

21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
krupornpana55
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
krupornpana55
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
เทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
sasithorn woralee
 

What's hot (20)

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
การพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะการพูดแสดงทรรศนะ
การพูดแสดงทรรศนะ
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 

Similar to ลักษณะครูที่ดี

บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
Decode Ac
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
Nok Tiwung
 
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
นายจักราวุธ คำทวี
 

Similar to ลักษณะครูที่ดี (10)

ครูสวนฯควรรู้ "ลักษณะของครูที่ดี" ครูลักษณา.pptx
ครูสวนฯควรรู้ "ลักษณะของครูที่ดี" ครูลักษณา.pptxครูสวนฯควรรู้ "ลักษณะของครูที่ดี" ครูลักษณา.pptx
ครูสวนฯควรรู้ "ลักษณะของครูที่ดี" ครูลักษณา.pptx
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
ประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการ
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 5
 
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารีแฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา  ยอดนารี
แฟ้มสะสมผลงานครูมัลลิกา ยอดนารี
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
๑.๑๓ ผู้บริหารมืออาชีพ จักราวุธ คำทวี
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
Kru jotjana
Kru jotjanaKru jotjana
Kru jotjana
 

More from Naracha Nong

แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
Naracha Nong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Naracha Nong
 

More from Naracha Nong (6)

การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
การสร้างความสนใจในการเรียนรู้
 
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
แบบทดสอบวัดความถนัดของนักเรียน (แบบพหุปัญญา)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยมกลุ่มพุทธิปัญญานิยม
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
สภาวะของจิตสำนึก (Conscious)
 

ลักษณะครูที่ดี