SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชน
ในปัจจุบัน
สารบัญ
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากในปัจจุบัน สังคมไทยเห็นได้ชัดว่า เด็กๆและวัยรุ่นเริ่มมีปัญหาโรคซึมเศร้าเป็นจานวนมาก และยังคง เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และทา
ให้เกิดข่าวสารมากมายเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายหรือการทาร้ายตัวเองของเด็กเหล่านั้น หลายๆคนที่ประสบปัญหานี้มักหาทางแก้ไม่ได้เนื่องจาก
ความคิดในจิตใจที่ไม่สามารถหลุดพ้นจากปัญหาได้ทาให้เกิด ความเสียหายตามมา ครอบครัวที่ลูกๆประสบปัญหาโรคซึมเศร้าส่วนใหญ่มัก
ไม่ให้ความสนใจและมองว่าเป็นเรื่องไร้สาระ ทาให้เด็กๆหลายคนไม่ได้รับการรักษาและแก้ไขปัญหาด้วยตนเองด้วยวิธีที่ผิดๆ ทั้งนี้โรคซึมเศร้าใน
เด็กเป็น ปัญหาที่แก้ไขได้ยากกว่าโรคซึมเศร้าในผู้ใหญ่เพราะทางด้านความคิดและวุฒิภาวะที่ไม่มากพอ เด็กหลายคนจึงไม่ยอม เข้ารับการ
รักษาและไม่สนใจความช่วยเหลือของคนรอบข้างแม้แต่คนในครอบครัวก็ตาม
ทางผู้จัดทาโครงงานเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสังคมเด็กและเยาวนที่เริ่มเป็นปัญหาขนาดใหญ่ขึ้น จึงอยากหาแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาและทาความเข้าใจในผู้ป่วยมากขึ้นเพื่อช่วยในการแก้ปัญหานี้ จะศึกษาหาแนวทางอย่างละเอียดถูกต้อง และนาไปช่วยแก้ปัญหาให้กับ
เด็กและเยาวชนใกล้ตัวก่อน เพื่อช่วยเหลือให้เด็กๆที่ประสบปัญหาให้หายจากโรคซึมเศร้านี้และช่วยลดปัญหาการฆ่าตัวตายของเด็กและเยาวชน
ที่เกิดขึ้นได้อีก
วัตถุประสงค์
1.เพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคซึมเศร้าในเด็กและเยาวชนในปัจจุบัน
2.เพื่อช่วยเหลือครอบครัวที่ไม่สามารถหาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้
3.เพื่อช่วยลดอัตราการฆ่าตัวตายของเด็กที่เริ่มเพิ่มมากขึ้นจากปัญหาโรคซึมเศร้า
4.เพื่อช่วยรักษาคนใกล้ตัวที่ประสบปัญหาโรคซึมเศร้า
ขอบเขตของโครงงาน
เด็กและเยาวชน ช่วงอายุ 10-18 ปีที่แนวโน้มในการเป็นโรคซึมเศร้า
และเริ่มมีอาการทางโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าเป็นโรคทางอารมณ์ที่พบบ่อย โดยมีความชุกตลอดช่วงชีวิตถึง 12% พบในผู้หญิงมากกว่า
ผู้ชาย และพบได้ในทุกช่วงอายุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดเหตุการณ์เลวร้ายที่ส่งผลกระทบต่อความรู้สึก เช่น
การสูญเสีย ความผิดหวังหรือการหย่าร้าง การเป็นโรคนี้ไม่ได้หมายความว่าผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ
ล้มเหลวหรือไม่มี ความสามารถ เพราะมีหลักฐานทางการแพทย์ยืนยันว่าโรคซึมเศร้ามีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการ
ทางานของระบบสมองที่ ผิดปกติ ในปัจจุบันโรคซึมเศร้าสามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาและการรักษาทาง
จิตใจ หากไม่ได้รับการรักษาอาจเกิดผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน การทางานและความสัมพันธ์กับคน
รอบข้าง นาไปสู่ภาวะซึมเศร้าที่รุนแรงขึ้น
หลักการและทฤษฎี
• เด็กรู้สึกเศร้าหรือสิ้นหวังเป็นเวลานาน
• มีอาการหงุดหงิดหรือไม่พอใจอยู่ตลอดเวลา
• เลิกสนใจในสิ่งที่ตนเองเคยชื่นชอบ
• รู้สึกอ่อนล้าหรือเหนื่อยตลอดเวลา
• มีปัญหาในการนอนหลับ หรือนอนหลับมากกว่าปกติ
• ขาดสมาธิในการจดจ่อ และมีปัญหาที่โรงเรียน
• มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครอบครัวลดน้อยลง
สัญญาณอาการของโรคซึมเศร้าในเด็ก
สัญญาณอาการของโรคซึมเศร้าในเด็ก
• มีน้าหนักตัวเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างมาก
• วิตกกังวล รู้สึกไม่ผ่อนคลาย หรือง่วงซึมมากกว่าปกติ
• รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า หรือมีความรู้สึกผิด
• ใช้สารเสพติด หรือดื่มแอลกอฮอล์
• มีความคิดฆ่าตัวตายหรือทาร้ายตัวเอง
• ทาร้ายร่างกายตนเองด้วยวิธีต่าง ๆ อย่างกรีดตามผิวหนังหรือใช้ยาเกิน
ปริมาณที่กาหนด
• เกิดจากสารเคมีที่เป็นสารสื่อประสาทในสมองบางอย่างแปรปรวนและไม่สมดุล
• เกิดจากกรรมพันธุ์ โอกาสที่คนอื่นในครอบครัวจะเป็นโรคนี้มีถึง 2.8 เท่าของคนทั่วไป
• เกิดจากความเสียหายของสมอง นอกจากนี้ยังอาจมีโรคทางกายอื่นที่ทาให้เกิดโรคซึมเศร้าได้
สาเหตุของโรคซึมเศร้าในวัยเด็ก
สาเหตุทางกาย (Biological Cause)
สาเหตุด้านจิตใจ (Psychological Cause)
• ความเครียดที่เกิดจากการเรียนหนัก
• เด็กขาดความมั่นใจในตนเอง กลัวการแข่งขัน กลัวความผิดหวัง ทาให้เกิด
ความเครียดสะสม
• เด็กถูกเพื่อนกลั่นแกล้งเสมอ ๆ หรือรู้สึกไม่ชอบ กลัว กังวล กับบุคคลรอบข้าง
• การเลี้ยงดูที่เข้มงวดเกินไป
วิธีรับมือโรคซึมเศร้าในเด็ก
• ครอบครัวสามารถป้องกันได้โดยการให้ความรักความเข้าใจ สอนให้เด็กเข้มแข็ง รู้จักใช้เหตุผล
และแสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม
• ครอบครัวควรใกล้ชิดและให้ความอบอุ่นแก่ลูก หมั่นสังเกตอารมณ์และพฤติกรรมของเด็ก
• พ่อแม่ต้องพูดคุยและรับฟังความคิดเห็นของลูกอยู่เสมอ ไม่ปิดกั้นความคิด
• พ่อแม่ควรพาลูกออกไปพักผ่อนเปลี่ยนบรรยากาศหรือชวนทากิจกรรมแปลก ๆ ใหม่ ๆ
วิธีรับมือโรคซึมเศร้าในเด็ก
• ครอบครัวควรตั้งกฎภายในบ้านให้ชัดเจนและบังคับใช้อย่างสมเหตุสมผล
• ครอบครัวต้องไม่เป็นต้นเหตุของปัญหา ทั้งนี้เพราะพ่อแม่อาจเป็นสาเหตุสาคัญ
ของความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ของลูกได้
• ผู้ปกครองและครูควรร่วมมือกันเพื่อช่วยเหลือเด็ก
• หากพบว่าเด็กมีอาการไม่ดีขึ้น ผู้ปกครองควรปรึกษาจิตแพทย์โดยด่วน
เพื่อให้เด็กได้รับการรักษาอย่างถูกต้องต่อไป
การฆ่าตัวตาย
สาเหตุของการฆ่าตัวตายมีหลายประการ
• มีอาการซึมเศร้า ผู้ที่มีอาการซึมเศร้ามากๆ จะคิดว่าตนเองไร้ค่าอยู่ไปไม่มีประโยชน์
• มีอาการโรคจิต ผู้ที่เป็นโรคจิต มักมีอาการหูแว่ว, หลงผิด
• ผู้ที่ติดเหล้าหรื่อสารเสพติด เกิดอาการซึมเศร้า และขาดการยับยั้งใจตัวเอง
• ผู้ที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ จะเกิดปัญหาทางอารมณ์ได้ง่าย และอยากฆ่าตัวตายได้
ปัญหาฆ่าตัวตายในวัยรุ่น
สิ่งบอกเหตุของการที่จะเกิดการฆ่าตัวตายในวัยรุ่น
ได้แก่สิ่งต่างๆ ดังต่อไปนี้
• แยกตัวจากสังคม ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม พร้อมกับผลการเรียนด้อยลงเรื่อยๆ
• เกิดภาวะซึมเศร้าแล้วไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง
• อารมณ์ที่แปรเปลี่ยนง่ายเป็นปกติของวัยรุ่นอยู่แล้ว
• กล่าวถึงการตายหรือการฆ่าตัวตายบ่อยครั้ง
• ติดยาเสพติด โดยเฉพาะยาที่ทาให้เกิดประสาทหลอน
• การเปลี่ยนแปลงของบุคลิกภาพทันทีทันใด
ปัญหาฆ่าตัวตายในวัยรุ่น
• โรคซึมเศร้า สามารถรักษาให้หายได้ด้วยวิธีการรักษาทางจิตใจ และการรักษาด้วยยาหลายชนิด โดยที่แต่ละคนอาจ
ตอบสนอง ต่อการรักษาแต่ละชนิดไม่เท่ากันบางคนอาจต้องการการรักษาหลายอย่างร่วมกัน การรับประทานยา
จะทาให้อาการของโรคดีขึ้นเร็ว ในขณะที่การรักษาทางจิตใจจะช่วยให้คุณเหมือนมี “ภูมิคุ้มกัน” สามารถต่อสู้กับ
ปัญหาที่จะย่างกรายเข้ามาได้ดีกว่าเดิม
• เมื่ออาการของโรครุนแรง จนอาจมีอันตรายจากการพยายามฆ่าตัวตาย หรือผู้ป่วยไม่สามารถกินยาได้ หรือไม่
ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา อาจให้การรักษาด้วยไฟฟ้า แต่จะใช้ในกรณีที่จาเป็นจริงๆเท่านั้น
การรักษา
ยารักษาโรคซึมเศร้า
ในปัจจุบันยารักษาโรคซึมเศร้าแบ่งออกได้หลายกลุ่มตามลักษณะโครงสร้างทางเคมีและ
วิธีการออกฤทธิ์ คือ
• กลุ่ม tricyclic (คือยาที่มีโครงสร้างทางเคมีสามวง)
• กลุ่ม monoamine oxidase inhibitors เรียกย่อๆ ว่า MAOI
• กลุ่ม SSRI (serotonin-specific reuptake inhibitor)
ซึ่งแต่ละกลุ่มมีข้อดีข้อเสียต่างกัน แต่ประสิทธิภาพการรักษาเท่าเทียมกัน แพทย์
อาจเริ่มจ่ายยากลุ่มใดแก่ผู้ป่วย ก่อนก็ได้เพื่อดูผลตอบสนอง เนื่องจากเราไม่อาจทราบ
ก่อนได้เลยว่า ผู้ป่วยคนใดจะ”ถูก”กับยาชนิดใด แล้วแพทย์จะค่อยๆปรับขนาดยาให้
เหมาะสมกับอาการต่อไป
ยารักษาโรคซึมเศร้า
ผู้ป่วยส่วนใหญ่ มักต้องการหยุดกินยาเร็วกว่าที่ควรเป็น ข้อสาคัญและพึงปฏิบัติที่สุดก็คือ การกินยาอย่างต่อเนื่อง จนกว่าแพทย์
จะบอกให้ท่านหยุด ถึงแม้ว่าจะรู้สึกดึขึ้นแล้วก็ตามยาบางตัวต้องค่อยๆลดขนาดลง เพื่อให้โอกาสร่างกายปรับตัว
ไม่ต้องกังวลว่า ยารักษาโรคซึมเศร้าเป็นยาที่กินแล้วติดหยุดยาไม่ได้อย่างไรก็ตาม ก็เช่นเดียวกับการรักษาโรคอื่นๆ แพทย์อาจให้
ตรวจวัดระดับยาให้ถูกต้องกับอาการเป็นระยะๆ
สิ่งที่คุณหลีกเลี่ยงก็คือ การซื้อยากินเองจากร้านขายยา ยืมยาจากเพื่อน หรือกินยาจากแพทย์
ท่านอื่นปนกับโรคซึมเศร้า โดยไม่ได้ปรึกษาแพทย์ของท่านก่อน อย่าวางใจว่า เป็นแค่ยาพื้นบ้าน
ธรรมดา คงไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงอะไรร้ายแรง การดื่มอัลกอฮอล์จากเหล้า เบียร์ หรือไวน์ จะ
ลดประสิทธิภาพของยาลง
ยารักษาโรคซึมเศร้า
ยานอนหลับหรือยาลดความกังวลไม่ใช่ยาที่สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้โดยลาพัง และไม่ควรใช้
ยากระตุ้นประสาทหรือยาม้าเพื่อหวังผลให้หายเพลียเพียงชั่วครั้งชั่วคราว ควรถามแพทย์ทุกครั้งที่
ท่านมีปัญหาที่เกิดจากยา หรือเกิดปัญหาที่คิดว่าอาจเกิดจากยา
ผลข้างเคียง
ผลข้างเคียงต่อไปนี้มักเกิดจากกลุ่มยา tricyclics ซึ่งเป็นกลุ่มยาที่ถูกสั่งใช้บ่อยที่สุด และเราได้
แนะนาวิธีบรรเทาผลข้างเคียงไว้ท้ายข้อแล้วดังนี้
• ปากแห้งคอแห้ง - ดื่มน้าบ่อยๆ เคี้ยวหมากฝรั่งที่ไม่มีน้าตาล รักษาสุขภาพช่องปากให้ดี
• ท้องผูก - กินอาหารที่มีกาก หรือมีฤทธิ์ระบายอ่อนๆ ผักผลไม้ เช่น ส้มโอ มะขาม มะละกอ
• ปัญหาการถ่ายปัสสาวะ - อาจมีการถ่ายปัสสาวะลาบาก ปัสสาวะไม่พุ่งเช่นเคย อาจใช้มือกอหน้าท้องช่วยและ
ปรึกษาแพทย์
• ปัญหาทางเพศ - อาจมีปัญหาขณะร่วมเพศได้บ้าง ซึ่งปรึกษาแพทย์ได้
ผลข้างเคียง
• ตาพร่ามัว - อาการนี้จะหายไปอย่างรวดเร็ว ไม่ต้องตัดแว่นใหม่
• เวียนศีรษะ - ลุกจากเก้าอี้ หรือเตียงช้าๆ ดื่มน้ามากขึ้น
• ง่วงนอน - อาการอาจหายไปเอง อย่าพยายามขับรถ หรือทางานกับเครื่องจักร หากง่วง
มากในช่วงเช้าให้เลื่อนยามื้อก่อนนอนมากินหัวค่ากว่าเดิม
สาหรับกลุ่ม SSRI
อาจมีผลข้างเคียงที่ต่างออกไป ดังต่อไปนี้
1.ปวดศรีษะ - อาจมีอาการสักช่วงหนึ่ง แล้วจะหายไป
2.คลื่นไส้ - มักเป็นเพียงชั่วคราว
3.นอนไม่หลับหรือกระวนกระวาย - พบได้ในช่วง 2 ถึง 3 สัปดาห์แรก
ของการกินยา หากคงอยู่นานควรปรึกษาแพทย์
ผลข้างเคียง
การรักษาทางจิตใจ
มีวิธีรักษาทางจิตใจอยู่หลายรูปแบบ ในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
ซึ่งอาจเป็นการ ”พูดคุย” กับจิตแพทย์ 10 ถึง 20 ครั้ง อันจะช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจกับสาเหตุของปัญหา และ
นาไปสู่การแก้ไขปัญหา โดยการเปลี่ยนมุมมองกับแพทย์ การรักษาทางพฤติกรรมจะช่วยให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีที่จะได้รับ
ความพอใจ หรือความสุขจากการกระทาของเขา และพบวิธีที่จะหยุดพฤติกรรมที่ อาจนาไปสู่ความซึมเศร้าด้วย
การรักษาอีก 2 รูปแบบต่อไปที่มีการศึกษาแล้วว่า สามารถรักษาโรคซึมเศร้าได้ดี คือการรักษาแบบปรับความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล และการรักษาแบบปรับความคิด,พฤติกรรม
โดยการรักษารูปแบบแรกมุ่งไปที่การแก้ไขปัญหาระหว่าง ผู้ป่วยกับคนรอบข้างที่อาจ เป็นสาเหตุและกระตุ้นให้เกิดความ
ซึมเศร้า ส่วนการรักษาแบบหลังจะช่วยให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความคิด และพฤติกรรมในแง่ลบกับตนเอง
ส่วนการรักษาโดยอาศัยทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ก็นามารักษาโรคนี้ โดยช่วยผู้ป่วยค้นหาปัญหาข้อขัดแย้งภายในจิตใจผู้ป่วย
ซึ่งอาจมีรากฐานมาจากประสบการณ์ตั้งแต่เด็ก
โดยทั่วไปสาหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้ารุนแรง มีอาการกาเริบซ้าๆ จะต้องการการรักษาด้วยยาร่วมกับการรักษาทาง
จิตใจควบคู่กัน เพื่อผลการรักษาในระยะยาวที่ดีที่สุด
การรักษาทางจิตใจ
จะช่วยรักษาตนเองได้อย่างไร
การป่วยด้วยโรคซึมเศร้ามักจะทาให้คุณรู้สึกเพลีย รู้สึกไร้ค่า เหมือนช่วยตัวเองไม่ได้
ไม่มีความหวัง ความคิดในแง่ลบกับตนเองในแบบนี้ มักจะทาให้ผู้ป่วยบางคนท้อถอย
และยอมแพ้ เป็นเรื่องสาคัญที่ต้องทราบว่าความคิดหรือความรู้สึก เหล่านี้เป็นเพียง
แค่อาการของโรค มิได้สะท้อนเรื่องจริงในชีวิตของคุณอย่างถูกต้องแต่อย่างใด
ความคิดเหล่านี้จะค่อยๆหมดไปเมื่อเริ่มต้นการรักษาไปสักระยะหนึ่ง
• อย่านาตัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน
• อย่าตั้งเป้าหมายที่บรรลุได้ยาก หรือเข้าไปแบกความรับผิดชอบมากๆ
• พยายามย่อยงานใหญ่ให้เป็นงานเล็ก เลือกทาที่สาคัญกว่าก่อน แล้วทาให้
เต็มที่เท่าที่จะเป็นไปได้
• อย่าคาดหวังกับตนเองมากเกินไป เพราะนั่นคือ คุณกาลังสร้างความล้มเหลว
ในระหว่างนี้คุณควรจะ
•ร่วมกิจกรรมที่คุณอาจเพลินใจ เช่น การออกกาลังกาย ดูหนัง ดูกีฬา แต่อย่าหักโหมหรือหงุดหงิด ถ้ามันไม่ช่วยให้คุณ
รู้สึกสบายใจขึ้นอย่างทันใจ เพราะอาจใช้เวลาบ้าง
•อย่าด่วนตัดสินใจกับเรื่องใหญ่ๆ ในชีวิต เช่น ลาออก เปลี่ยนงาน แต่งงาน หรือหย่า โดยไม่ปรึกษาคนอื่นที่รู้จักคุณดี
และ มีมุมมองที่เป็นกลางต่อปัญหาพอ ไม่ว่าด้วยเหตุใด พยายามเลื่อนการตัดสินใจออกไปก่อนจนกว่าอาการป่วยของ
คุณจะดีขึ้น
ในระหว่างนี้คุณควรจะ
•อย่าหวังว่าจะหายจากอาการซึมเศร้าแบบ “ลัดนิ้วมือเดียว”
เพราะเป็นไปได้ยาก จงพยายามช่วยตนเองให้มากที่สุด
•พึงระลึกว่า จะไม่ยอมรับความคิดในแง่ร้าย บอกตนเองว่ามันเป็น
สวนหนึ่งของอาการของโรค และจะหายไปเมื่ออาการของโรคดีขึ้น
ในระหว่างนี้คุณควรจะ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กที่เข้าข่ายการป่วยเป็นโรคซึมเศร้านั้นในที่สุดแล้วไม่เป็นโรคซึมเศร้าเพราะได้รับการช่วยรักษาและหาวิธี
ป้องกัน ให้อย่างถูกวิธี
2.เด็กที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าเข้ารับการรักษาอย่างถูกวิธีพ่อแม่ยอมรับการให้ลูกเข้ารักษา
3.ครอบครัวที่ประสบปัญหาได้รับการช่วยเหลือ
4.อัตราของเด็กที่เป็นโรคซึมเศร้าลดลงและไม่มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้น
แหล่งอ้างอิง
•
•
•
•
ผู้จัดทา
น.ส.ธัญชนก ฟั่นแจ้ง ชั้น ม.6/6 เลขที่ 20 น.ส.ณัฏฐาภัชช์ อัมพรพิสิฏฐ์ ชั้น ม.6/6 เลขที่ 37

More Related Content

What's hot

ลูกเสือกับการดูแลเยียวยา ช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ลูกเสือกับการดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดลูกเสือกับการดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ลูกเสือกับการดูแลเยียวยา ช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
Duangnapa Inyayot
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
softganz
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
svuthiarpa
 

What's hot (17)

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
ลูกเสือกับการดูแลเยียวยา ช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ลูกเสือกับการดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติดลูกเสือกับการดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
ลูกเสือกับการดูแลเยียวยา ช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
 
Book club 2
Book club 2Book club 2
Book club 2
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 
แนะนำบทเรียนออนไลน์ NCD School
แนะนำบทเรียนออนไลน์ NCD Schoolแนะนำบทเรียนออนไลน์ NCD School
แนะนำบทเรียนออนไลน์ NCD School
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
Yyam.mmook
Yyam.mmookYyam.mmook
Yyam.mmook
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตาบทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
บทที่1 โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา
 

Similar to Kronggnan kuu

การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
Da Arsisa
 
Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน
Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบันPresentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน
Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน
kymajesty
 
งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14
Min Chatchadaporn
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
Jintana Somrit
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
Kat Suksrikong
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
fainaja
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
จ๊ะจ๋า ขอทาน
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
huloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
huloo
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 

Similar to Kronggnan kuu (20)

การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน
Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบันPresentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน
Presentation-final ปัญหายาเสพติดในวัยรุ่นปัจจุบัน
 
งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยาเครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
เครื่องดื่มทำลายฤทธิ์ยา
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1คู่มือมะเร็งชุด1
คู่มือมะเร็งชุด1
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มากโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่มาก
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
ความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติดความรู้เรื่องยาเสพติด
ความรู้เรื่องยาเสพติด
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
Final Project
Final ProjectFinal Project
Final Project
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 

Kronggnan kuu