SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
ทาไมจึงมีไขมันในเลือดสูง
           ภาวะไขมันในเลือดสูงนั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยเรามักจะพบคนที่มีไขมันใน
           เลือดสูงในกลุ่มคนเหล่านี้



อาหารรัก
           1.เป็นคนอ้วน หรือมีน้าหนักตัวเกิน
           2.กินอาหารที่มีไขมันกับแป้งมาก
           3.มีคนในครอบครัวมีไขมันในเลือดสูง
           ซึ่งการมีไขมันในเลือดสูงจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ยิ่งมี
           ภาวะความดันโลหิตสูงอยู่ด้วย ยิ่งพบว่ามีความเสี่ยงที่มากขึ้น

           ไขมันในเลือดมีอะไรบ้าง
           ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ ไตรกลีเซอไรด์(Triglyceride) และ
           โคเลสเตอรล (Cholesterol)
           1. ไตรกลีเซอไรด์จะมาจากไขมันที่เราทานเข้าไป รวมไปถึงพลังงานที่ได้รับมาก
                 เกินความต้องการของร่างกาย ก็จะน้าไปสร้างเป็นไขมัน และไตรกลีเซอไรด์
           2. โคเลสเตอรอล ที่ควรรู้จักมี 2 ชนิดคือ
                   • โคเลสเตอรอลชนิดดี หรือ HDL ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงของโรคหลอด
                         เลือดหัวใจ
                   • โคเลสเตอรอลชนิดเลว หรือ LDL ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอด
                         เลือดหัวใจ
           ในการตรวจสุขภาพจึงจะมีการตรวจไขมันทั้ง 3 ตัวร่วมกันเรียกว่า Lipid profile โดย
           ค่าปรกติส้าหรับไขมันแต่ละตัวมีดังนี้
                   • ไตรกลีเซอไรด์ ต้องน้อยกว่า 150
                   • โคเลสเตอรอลชนิดดี ต้องมากกว่า 40 ในผู้ชาย และ 50 ในผู้หญิง
                   • โคเลสเตอรอลชนิดเลว ต้องน้อยกว่า 130
รู้จักกรดไขมันในอาหารกันก่อน                                                     เนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่า
กรดไขมันในอาหารมี 4 ชนิดใหญ่ๆ คือ                                                 เนื้อสัตว์เป็นแหล่งที่ส้าคัญของโปรตีน ที่ช่วยในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ
• กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid) ซึ่งจะเพิ่มไตรกลีเซอไรด์ และ             ร่างกาย และท้าให้ร่างกายแข็งแรง แต่เนื้อสัตว์บก มักจะมีไขมันอยู่ด้วย โดยเฉพาะ
  โคเลสเตอรอล ชนิดเลวในเลือดให้เพิ่มขึ้น และยังลดโคเลสเตอรอลชนิดดีด้วย            ไขมันอิ่มตัว ส่วนเนื้อสัตว์น้าส่วนใหญ่จะมีไขมันต่้า เหมาะแก่การน้ามาประกอบ
  กรดไขมันอิ่มตัวมีมากในไขมันจากสัตว์ เช่น มันหมู มันไก่ มันวัว เบคอน เนย         อาหาร ตัวอย่างของเนื้อสัตว์ไขมันต่้าได้แก่
  น้้ามันพืชอย่าง น้้ามันมะพร้าว น้้ามันปาล์ม กะทิ                                          • เนื้อปลาน้้าจืด ที่ไม่ใช่ปลาสวาย
                                                                                            • ปลาทะเล
• กรดไขมันไม่อิ่มตัวต้าแหน่งเดียว (Monounsaturated fatty acid) จะลดระดับ                    • สัตว์ทะเลอย่าง ปู กุ้ง ปลาหมึก
  ของ ไตรกลีเซอไรด์ และโคเลสเตอรอลชนิดเลวให้น้อยลง เมื่อกินในระดับที่พอดี                   • แต่ไม่นับรวมไข่ของสัตว์ทะเล และไข่ปลา
  กรดไขมันชนิดนี้มีมากใน น้้ามันมะกอก น้้ามันคาโนลา น้้ามันร้าข้าว น้้ามันถั่ว   ดัดแปลงอาหารเพื่อให้หัวใจที่รัก
  ลิสง
                                                                                  อาหารที่ใช้ป้องกันโรคหัวใจคือ อาหารที่มีไขมันและเกลือน้อย แต่มีคุณค่าทางอาหาร
• กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายต้าแหน่ง (Polyunsaturated fatty acid) จะลดระดับของ        สูง มีผักเยอะ เนื้อสัตว์ควรจะเป็นเนื้อที่มีมันน้อย อย่างเช่นเนื้อปลา เนื้ออกไก่ สันใน
  โคเลสเตอรอลชนิดเลวให้ลดน้อยลง เมื่อกินในปริมาณที่เหมาะสม                        หมู และใช้กะทิแต่น้อยเป็นส่วนประกอบในการท้า
  กรดไขมันชนิดนี้มีมากใน น้้ามันดอกทานตะวัน น้้ามันถั่วเหลือง น้้ามันข้าวโพด
  และ น้้ามันปลา                                                                  ตัวอย่างการดัดแปลงอาหาร
                                                                                  กะทิ           เปลี่ยนไปใช้       นมพร่องมันเนย
• กรดไขมันดัดแปลง (Trans-fatty acid) จะเพิ่มระดับโคเลสเตอรอลชนิดเลว และ           น้้าตาล         เปลี่ยนไปใช้      น้้าตาลเทียม
  ลดระดับของโคเลสเตอรอลชนิดดีให้ลดลง ไม่สมควรจะทานอย่างยิ่ง                       กะปิ            เปลี่ยนไปใช้      กุ้งแห้งป่น
  กรดไขมันชนิดนี้มีอยู่มากในอาหารไขมันแปลงสภาพ เช่น มาการีน หรือเนยเทียม          น้้ามันปาล์ม เปลี่ยนไปใช้         น้้ามันร้าข้าว
  ซึ่งน้ามาใช้ในการท้าขนมปัง, ขนมปังกรอบ, ขนมปังกรอบไส้ครีมทั้งหลาย, เค้ก,
  อาหาร fast food, พิซซ่า

ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มี ไขมันอิ่มตัว และไขมันดัดแปลงให้มากที่สุด
ข้าวกล้องผัดข่า                                                                             หมูตะไคร้
ข้าวกล้องหุงสวย          เนื้ออกไก่                                                         เนื้อสันใน           ตะไคร้
พริกไทยป่น               หัวหอมซอย                                                          ขิงแก่               ขมิ้นผง
ข่า                      เห็ดหอมแห้ง                                                        น้้าตาล              พริกไทยป่น
น้้าตาลทรายแดง           ใบโหระพา                                                           1. ล้างหมูให้สะอาด หั่นเป็นชิ้นโต
กระเทียมซอย              น้้ามันร้าข้าว                                                     หมักกับน้้าตาล ขมิ้นผง พริกไทยป่น
ผักต่างๆ ส้าหรับรับประทานกับข้าวผัด                                                         ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง
เช่น ก้านคะน้า แตงกวา ดอกดาหลา                                                              2. ทุบตะไคร้ และขิงแก่พอแตก แล้ว
มะเฟือง ฯลฯ                                                                                 หั่นเป็นท่อนสั้นประมาณ 2 นิ้ว หรือฉีกเป็นเส้นยาว
1. ฝานข่าเป็นแว่นบางๆ แล้วซอยเป็นชิ้นเล็กยาวตามขวางของแว่น ให้ได้ประมาณ 3/4
ถ้วยตวง เห็ดหอมแช่น้าร้อนให้นิ่ม หั่นเป็นเส้นเล็กยาว ไก่หั่นเป็นชิ้นเล็ก รวนให้แห้งพักไว้   3. ใส่น้าสะอาด 2 ถ้วย ลงในหม้อ ตั้งไฟปานกลาง พอน้้าเดือด ใส่ขิง ตะไคร้ ลงพร้อมกับ
โหระพาล้างสะอาด ให้สะเด็ดน้้า ส่วนหอม กระเทียม น้าไปเจียวให้เหลืองสวย พักไว้                เนื้อหมูที่หมักไว้ เคี่ยวไฟอ่อน จนเหลือน้้าขลุกขลิก และเนื้อหมูนุ่มดี เหมาะที่จะ
2. ตั้งกระทะ ใส่น้ามัน ใส่ข่าลงผัด เติม น้้าตาลทรายแดง และรสดีรสไก่ ลงเคี่ยวไฟอ่อน          รับประทาน กับข้าวเหนียวนึ่งร้อนๆ
สักครู่ จากนั้นจึงใส่เห็ดหอมลง พร้อมกับพริกไทยป่น เคี่ยวไปจนเกือบแห้ง ใส่ไก่ลงผัด
พร้อมกับข้าวกล้อง คนให้ทั่ว ใส่ใบโหระพาลงผัด ยกลง โรยหอม กระเทียมเจียว                      ซุปฟักทอง
รับประทานร้อนๆ กับผักต่างๆ                                                                  ฟักทองนึ่งยีละเอียด น้้าซุปผัก
ปลาปิ้งขมิ้น                                                                                หอมใหญ่สับ          ผงกะหรี่
•ปลาสดชนิดใดก็ได้                                                                           นมพร่องมันเนย       สะระแหน่
•ขมิ้นชันปอกผิวออก หั่นหยาบๆ
•กระเทียมหั่นหยาบๆ                                                                          1. ค่อยๆ เทน้้าซุปผักลงในเนื้อฟักทองยี
•พริกไทยเม็ด                                                                                คนให้กระจายตัว แล้วรอไว้ก่อน
1.ล้างปลาให้สะอาด หั่นแว่นหรือ                                                              2. ตั้งกระทะผัดหอมหัวใหญ่ กับน้้าซุป
อาจใช้ทั้งตัว เลาะออกเป็น 2 ซีก                                                             จนหัวหอมสุกใส ตักใส่หม้อฟักทอง
ก็ได้ ตามลักษณะของปลา ที่จะปิ้งผึ่งให้สะเด็ดน้้า                                            3. ยกหม้อฟักทองขึ้นตั้งไฟ คนตลอดเวลา พอเดือดใส่นม ปรุงรสด้วยและผงกะหรี่ ยก
2.โขลกพริกไทย ขมิ้น กระเทียม รวมกันให้แหลก ใส่น้าลง 1-2 ช้อนชา คนให้เข้ากัน                 หม้อลง เมื่อเสิร์ฟตักใส่ถ้วยซุป และโรยหน้าด้วย สะระแหน่หั่นฝอย
3.ชโลมชิ้นปลาด้วยเครื่องที่โขลกไว้ให้ทั่ว หมักไว้ในตู้เย็นประมาณ 20-30 นาที
4.ปิ้งด้วยไฟค่อนข้างอ่อนสุกดี
5.เสิร์ฟกับสวยร้อนๆ

More Related Content

What's hot

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )Rose Banioki
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการNattaka_Su
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพChirarat Boonperm
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานAobinta In
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 

What's hot (18)

แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
พีระมิดอาหาร ( Food guide pyramid )
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Food&life
Food&lifeFood&life
Food&life
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 

Viewers also liked

อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการKhannikar Elle
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่า
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่ามารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่า
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่าPpitchy Saisanongyod
 
TAEM10:Emergency chest pain
TAEM10:Emergency chest painTAEM10:Emergency chest pain
TAEM10:Emergency chest paintaem
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for ImmunityPha C
 
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacistการจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacistUtai Sukviwatsirikul
 
English conversation for pharmacist
English conversation for pharmacistEnglish conversation for pharmacist
English conversation for pharmacistUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast foodบทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast foodKkae Rujira
 
Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015Utai Sukviwatsirikul
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่Batt Nives
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยUtai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่า
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่ามารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่า
มารยาทและจริยธรรมทางวิชาการในการใช้ กลุ่มทหารเสือค่า
 
TAEM10:Emergency chest pain
TAEM10:Emergency chest painTAEM10:Emergency chest pain
TAEM10:Emergency chest pain
 
Supplement for Immunity
Supplement for ImmunitySupplement for Immunity
Supplement for Immunity
 
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
ร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
 
Bmc vpd-2016
Bmc vpd-2016Bmc vpd-2016
Bmc vpd-2016
 
Service design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdcService design workbook by tcdc
Service design workbook by tcdc
 
ATMinHealthcare
ATMinHealthcareATMinHealthcare
ATMinHealthcare
 
Handbook medical conversation
Handbook medical conversationHandbook medical conversation
Handbook medical conversation
 
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
 
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacistการจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
การจัดทำภาษีมูลค่าเพิ่ม for community pharmacist
 
English conversation for pharmacist
English conversation for pharmacistEnglish conversation for pharmacist
English conversation for pharmacist
 
Business Models of Social Business
Business Models of Social BusinessBusiness Models of Social Business
Business Models of Social Business
 
บทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast foodบทที่ 2 อาหาร fast food
บทที่ 2 อาหาร fast food
 
Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015Nsh management of acne guidelines jan 2015
Nsh management of acne guidelines jan 2015
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
 

Similar to CVD Brochure

Ku cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพ
Ku cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพKu cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพ
Ku cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพVorawut Wongumpornpinit
 
สูตรหมูปิ้ง
สูตรหมูปิ้งสูตรหมูปิ้ง
สูตรหมูปิ้งekkawit sittiwa
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1narueporn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1narueporn
 
งานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้วงานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้วMatthew Tewin
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมthkitiya
 
สูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบสูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบSEoZa
 
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงAmontep Posarat
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรกnarueporn
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารWanlop Chimpalee
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 
อาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางอาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางพัน พัน
 

Similar to CVD Brochure (20)

Ku cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพ
Ku cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพKu cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพ
Ku cookbook เมนูอร่อย อาหารลดโซเดียมเพื่อสุขภาพ
 
สูตรหมูปิ้ง
สูตรหมูปิ้งสูตรหมูปิ้ง
สูตรหมูปิ้ง
 
ตำราอาหารไทย.ppt
ตำราอาหารไทย.pptตำราอาหารไทย.ppt
ตำราอาหารไทย.ppt
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้วงานคอมเสร็จแล้ว
งานคอมเสร็จแล้ว
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
 
สูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบสูตรยำผักบุ้งกรอบ
สูตรยำผักบุ้งกรอบ
 
Wisdom2
Wisdom2Wisdom2
Wisdom2
 
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยงอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
อาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตรายและหลีกเลี่ยง
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
THAIFOODS
THAIFOODSTHAIFOODS
THAIFOODS
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
อาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลางอาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลาง
 
อาหารแก้โลหิตจาง
อาหารแก้โลหิตจางอาหารแก้โลหิตจาง
อาหารแก้โลหิตจาง
 
42101
4210142101
42101
 

CVD Brochure

  • 1. ทาไมจึงมีไขมันในเลือดสูง ภาวะไขมันในเลือดสูงนั้นเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยเรามักจะพบคนที่มีไขมันใน เลือดสูงในกลุ่มคนเหล่านี้ อาหารรัก 1.เป็นคนอ้วน หรือมีน้าหนักตัวเกิน 2.กินอาหารที่มีไขมันกับแป้งมาก 3.มีคนในครอบครัวมีไขมันในเลือดสูง ซึ่งการมีไขมันในเลือดสูงจะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ยิ่งมี ภาวะความดันโลหิตสูงอยู่ด้วย ยิ่งพบว่ามีความเสี่ยงที่มากขึ้น ไขมันในเลือดมีอะไรบ้าง ไขมันในเลือดแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ ไตรกลีเซอไรด์(Triglyceride) และ โคเลสเตอรล (Cholesterol) 1. ไตรกลีเซอไรด์จะมาจากไขมันที่เราทานเข้าไป รวมไปถึงพลังงานที่ได้รับมาก เกินความต้องการของร่างกาย ก็จะน้าไปสร้างเป็นไขมัน และไตรกลีเซอไรด์ 2. โคเลสเตอรอล ที่ควรรู้จักมี 2 ชนิดคือ • โคเลสเตอรอลชนิดดี หรือ HDL ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงของโรคหลอด เลือดหัวใจ • โคเลสเตอรอลชนิดเลว หรือ LDL ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอด เลือดหัวใจ ในการตรวจสุขภาพจึงจะมีการตรวจไขมันทั้ง 3 ตัวร่วมกันเรียกว่า Lipid profile โดย ค่าปรกติส้าหรับไขมันแต่ละตัวมีดังนี้ • ไตรกลีเซอไรด์ ต้องน้อยกว่า 150 • โคเลสเตอรอลชนิดดี ต้องมากกว่า 40 ในผู้ชาย และ 50 ในผู้หญิง • โคเลสเตอรอลชนิดเลว ต้องน้อยกว่า 130
  • 2. รู้จักกรดไขมันในอาหารกันก่อน เนื้อสัตว์ที่มีไขมันต่า กรดไขมันในอาหารมี 4 ชนิดใหญ่ๆ คือ เนื้อสัตว์เป็นแหล่งที่ส้าคัญของโปรตีน ที่ช่วยในการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ • กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid) ซึ่งจะเพิ่มไตรกลีเซอไรด์ และ ร่างกาย และท้าให้ร่างกายแข็งแรง แต่เนื้อสัตว์บก มักจะมีไขมันอยู่ด้วย โดยเฉพาะ โคเลสเตอรอล ชนิดเลวในเลือดให้เพิ่มขึ้น และยังลดโคเลสเตอรอลชนิดดีด้วย ไขมันอิ่มตัว ส่วนเนื้อสัตว์น้าส่วนใหญ่จะมีไขมันต่้า เหมาะแก่การน้ามาประกอบ กรดไขมันอิ่มตัวมีมากในไขมันจากสัตว์ เช่น มันหมู มันไก่ มันวัว เบคอน เนย อาหาร ตัวอย่างของเนื้อสัตว์ไขมันต่้าได้แก่ น้้ามันพืชอย่าง น้้ามันมะพร้าว น้้ามันปาล์ม กะทิ • เนื้อปลาน้้าจืด ที่ไม่ใช่ปลาสวาย • ปลาทะเล • กรดไขมันไม่อิ่มตัวต้าแหน่งเดียว (Monounsaturated fatty acid) จะลดระดับ • สัตว์ทะเลอย่าง ปู กุ้ง ปลาหมึก ของ ไตรกลีเซอไรด์ และโคเลสเตอรอลชนิดเลวให้น้อยลง เมื่อกินในระดับที่พอดี • แต่ไม่นับรวมไข่ของสัตว์ทะเล และไข่ปลา กรดไขมันชนิดนี้มีมากใน น้้ามันมะกอก น้้ามันคาโนลา น้้ามันร้าข้าว น้้ามันถั่ว ดัดแปลงอาหารเพื่อให้หัวใจที่รัก ลิสง อาหารที่ใช้ป้องกันโรคหัวใจคือ อาหารที่มีไขมันและเกลือน้อย แต่มีคุณค่าทางอาหาร • กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายต้าแหน่ง (Polyunsaturated fatty acid) จะลดระดับของ สูง มีผักเยอะ เนื้อสัตว์ควรจะเป็นเนื้อที่มีมันน้อย อย่างเช่นเนื้อปลา เนื้ออกไก่ สันใน โคเลสเตอรอลชนิดเลวให้ลดน้อยลง เมื่อกินในปริมาณที่เหมาะสม หมู และใช้กะทิแต่น้อยเป็นส่วนประกอบในการท้า กรดไขมันชนิดนี้มีมากใน น้้ามันดอกทานตะวัน น้้ามันถั่วเหลือง น้้ามันข้าวโพด และ น้้ามันปลา ตัวอย่างการดัดแปลงอาหาร กะทิ เปลี่ยนไปใช้ นมพร่องมันเนย • กรดไขมันดัดแปลง (Trans-fatty acid) จะเพิ่มระดับโคเลสเตอรอลชนิดเลว และ น้้าตาล เปลี่ยนไปใช้ น้้าตาลเทียม ลดระดับของโคเลสเตอรอลชนิดดีให้ลดลง ไม่สมควรจะทานอย่างยิ่ง กะปิ เปลี่ยนไปใช้ กุ้งแห้งป่น กรดไขมันชนิดนี้มีอยู่มากในอาหารไขมันแปลงสภาพ เช่น มาการีน หรือเนยเทียม น้้ามันปาล์ม เปลี่ยนไปใช้ น้้ามันร้าข้าว ซึ่งน้ามาใช้ในการท้าขนมปัง, ขนมปังกรอบ, ขนมปังกรอบไส้ครีมทั้งหลาย, เค้ก, อาหาร fast food, พิซซ่า ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มี ไขมันอิ่มตัว และไขมันดัดแปลงให้มากที่สุด
  • 3. ข้าวกล้องผัดข่า หมูตะไคร้ ข้าวกล้องหุงสวย เนื้ออกไก่ เนื้อสันใน ตะไคร้ พริกไทยป่น หัวหอมซอย ขิงแก่ ขมิ้นผง ข่า เห็ดหอมแห้ง น้้าตาล พริกไทยป่น น้้าตาลทรายแดง ใบโหระพา 1. ล้างหมูให้สะอาด หั่นเป็นชิ้นโต กระเทียมซอย น้้ามันร้าข้าว หมักกับน้้าตาล ขมิ้นผง พริกไทยป่น ผักต่างๆ ส้าหรับรับประทานกับข้าวผัด ทิ้งไว้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง เช่น ก้านคะน้า แตงกวา ดอกดาหลา 2. ทุบตะไคร้ และขิงแก่พอแตก แล้ว มะเฟือง ฯลฯ หั่นเป็นท่อนสั้นประมาณ 2 นิ้ว หรือฉีกเป็นเส้นยาว 1. ฝานข่าเป็นแว่นบางๆ แล้วซอยเป็นชิ้นเล็กยาวตามขวางของแว่น ให้ได้ประมาณ 3/4 ถ้วยตวง เห็ดหอมแช่น้าร้อนให้นิ่ม หั่นเป็นเส้นเล็กยาว ไก่หั่นเป็นชิ้นเล็ก รวนให้แห้งพักไว้ 3. ใส่น้าสะอาด 2 ถ้วย ลงในหม้อ ตั้งไฟปานกลาง พอน้้าเดือด ใส่ขิง ตะไคร้ ลงพร้อมกับ โหระพาล้างสะอาด ให้สะเด็ดน้้า ส่วนหอม กระเทียม น้าไปเจียวให้เหลืองสวย พักไว้ เนื้อหมูที่หมักไว้ เคี่ยวไฟอ่อน จนเหลือน้้าขลุกขลิก และเนื้อหมูนุ่มดี เหมาะที่จะ 2. ตั้งกระทะ ใส่น้ามัน ใส่ข่าลงผัด เติม น้้าตาลทรายแดง และรสดีรสไก่ ลงเคี่ยวไฟอ่อน รับประทาน กับข้าวเหนียวนึ่งร้อนๆ สักครู่ จากนั้นจึงใส่เห็ดหอมลง พร้อมกับพริกไทยป่น เคี่ยวไปจนเกือบแห้ง ใส่ไก่ลงผัด พร้อมกับข้าวกล้อง คนให้ทั่ว ใส่ใบโหระพาลงผัด ยกลง โรยหอม กระเทียมเจียว ซุปฟักทอง รับประทานร้อนๆ กับผักต่างๆ ฟักทองนึ่งยีละเอียด น้้าซุปผัก ปลาปิ้งขมิ้น หอมใหญ่สับ ผงกะหรี่ •ปลาสดชนิดใดก็ได้ นมพร่องมันเนย สะระแหน่ •ขมิ้นชันปอกผิวออก หั่นหยาบๆ •กระเทียมหั่นหยาบๆ 1. ค่อยๆ เทน้้าซุปผักลงในเนื้อฟักทองยี •พริกไทยเม็ด คนให้กระจายตัว แล้วรอไว้ก่อน 1.ล้างปลาให้สะอาด หั่นแว่นหรือ 2. ตั้งกระทะผัดหอมหัวใหญ่ กับน้้าซุป อาจใช้ทั้งตัว เลาะออกเป็น 2 ซีก จนหัวหอมสุกใส ตักใส่หม้อฟักทอง ก็ได้ ตามลักษณะของปลา ที่จะปิ้งผึ่งให้สะเด็ดน้้า 3. ยกหม้อฟักทองขึ้นตั้งไฟ คนตลอดเวลา พอเดือดใส่นม ปรุงรสด้วยและผงกะหรี่ ยก 2.โขลกพริกไทย ขมิ้น กระเทียม รวมกันให้แหลก ใส่น้าลง 1-2 ช้อนชา คนให้เข้ากัน หม้อลง เมื่อเสิร์ฟตักใส่ถ้วยซุป และโรยหน้าด้วย สะระแหน่หั่นฝอย 3.ชโลมชิ้นปลาด้วยเครื่องที่โขลกไว้ให้ทั่ว หมักไว้ในตู้เย็นประมาณ 20-30 นาที 4.ปิ้งด้วยไฟค่อนข้างอ่อนสุกดี 5.เสิร์ฟกับสวยร้อนๆ