SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 2
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพ
อุปสงค์ (Demand)
ความหมายของอุปสงค์
อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ความต้องการสิ นค้าหรื อ
บริ การ (Desire) บวกด้วยความสามารถที่จะจ่ายเงินซื้ อ (Ability
to Pay) บวกด้วยความเต็มใจที่ซ้ื อ (Willingness to Pay) และได้
ซื้อสิ นค้านั้น
• ความต้องการซื้ อสิ นค้า
• ความเต็มใจที่จะซื้อสิ นค้า
• อานาจที่จะซื้ อสิ นค้า
2
กฎของอุปสงค์ (Law of Demand)
ปริ มาณการซื้ อสิ นค้าและบริ การใดๆ ชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ งย่อม
เป็ นปฏิภาคส่ วนกลับ (Inverse Relation) กับระดับราคาของ
สิ นค้าและบริ การชนิ ดนั้นเสมอ (จานวนการซื้ อจะเปลี่ยนแปลง
ในทิศทางตรงกันข้ามกับราคาสิ นค้า )
- ถ้าสิ นค้าราคาสูงขึ้น ผูซ้ือ ซื้อน้อยลง
้
- ถ้าสิ นค้าราคาถูกลง ผูซ้ือ ซื้อมากขึ้น
้
3
ตารางอุปสงค์ (Demand Table)
ตารางอุปสงค์ หมายถึง ชุดของตัวเลขที่แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างจานวนซื้อสิ นค้า ณ ระดับราคาต่างๆ
1. ตารางอุปสงค์เฉพาะบุคคล เป็ นตัวเลขที่แสดงให้ทราบจานวน
ซื้ อ สิ น ค้า และบริ ก ารชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ของบุ ค คลคนหนึ่ ง ณ
ระดับราคาต่างๆ
2. ตารางอุปสงค์ของตลาด เป็ นชุดของตัวเลขที่แสดงจานวนซื้ อ
สิ นค้าของตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ ทาได้โดยรวมจานวนซื้ อ
ของบุคคลทั้งหมดในตลาด ณ ระดับราคาต่างๆ
4
เส้ นอุปสงค์ (Demand Curve)

จากตัวเลขทั้งหมดในตารางอุปสงค์ เราสามารถแสดงเป็ น
รู ปกราฟได้ดวยการหาจุดต่างๆบนกราฟ แต่ละจุดจะแทนด้วย
้
ราคาสิ นค้าระดับหนึ่ งกับจานวนซื้ อสิ นค้า เมื่อลากเส้นเชื่ อมจุด
ต่างๆจะได้เส้นอุปสงค์ของตลาด ลาดลงจากซ้ายไปขวา

5
ชนิดของอุปสงค์

1.อุปสงค์ต่อราคา (price demand)
2.อุปสงค์ต่อรายได้ (income demand)
3.อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิดอื่น (cross demand)

6
1.อุปสงค์ ต่อราคา (price demand)

อุ ป สงค์ต่ อ ราคา หมายถึ ง จ านวนสิ น ค้า ที่ มี ผูต้อ งการ ณ
้
ระดับราคาต่างๆ ของสิ นค้าชนิ ดนั้น โดยกาหนดให้ปัจจัยอื่นๆ
คงที่

7
ตารางและเส้นอุปสงค์ต่อราคา (price demand)

ราคา
สิ นค้า
1
2
3
4

ปริ มาณซื้ อ
40
25
15
10

ราคาสินค้ า

4
3
2
1
0

D
10 20 30 40

ปริมาณซื้อ

8
2.อุปสงค์ ต่อรายได้ (income demand)
อุปสงค์ต่อรายได้ หมายถึง ปริ มาณสิ นค้าหรื อบริ การที่ผูบริ โภค
้
ต้องการซื้อภายในเวลาหนึ่ง ณ ระดับรายได้ต่างๆ ของผูบริ โภค
้
ั
อุปสงค์ต่อรายได้จะเปลี่ยนแปลงอย่างไรขึ้นอยู่กบประเภทสิ นค้า
โดยแบ่งเป็ น
2.1 สิ นค้าปกติ (Normal Goods) หมายถึง สิ นค้าทัวไปเมื่อรายได้สูง
่
จะบริ โภคมากขึ้น
2.2 สิ นค้าด้อย (Inferior Goods) หมายถึง สิ นค้าที่ให้ความรู ้สึกด้อย
กว่า เมื่อรายได้สูงขึ้นจะบริ โภคลดลง
9
ตารางและเส้นอุปสงค์ต่อรายได้สินค้าปกติ
รายได้ของ
ผูบริ โภค (Y)
้
1,000
2,000
3,000
4,000

ปริ มาณซื้ อ
สิ นค้า(Q)
10
20
30
40

รายได้ หน่วย: พันบาท

D

4
3
2
1

10

20

30

40

ปริมาณซื้อ
10
ตารางและเส้นอุปสงค์ต่อรายได้สินค้าด้อย
รายได้ของ
ผูบริ โภค (Y)
้
1,000
2,000
3,000
4,000
5,000

ปริ มาณซื้ อ
สิ นค้า(Q)
60
40
20
10
0

รายได้ หน่วย: พันบาท
5
4
3
2

D

1

0

10

20 30

40

50 60 Q
11
3.อุปสงค์ ต่อราคาสิ นค้ าชนิดอืน (cross demand)
่
อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิ ดอื่ น หมายถึ ง ปริ มาณสิ นค้าที่
ผูบริ โภคต้องการซื้ อภายในระยะเวลาหนึ่ ง ณ ระดับราคาต่างๆ
้
ของสิ นค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยที่อุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าชนิ ดอื่นจะ
่ ั
เปลี่ยนแปลงอย่างไรขึ้นอยูกบประเภทสิ นค้า
(1) สิ นค้าใช้ประกอบกัน (Complementary Goods)
(2) สิ นค้าใช้ทดแทนกัน (Substituted Goods)

12
ตารางและเส้นอุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าใช้ประกอบกัน
ราคาปากกา
หมึกซึม (P)
40
25
15
10

ปริ มาณการซื้ อ
น้ าหมึก(Q)
3
6
9
12

P
40

30

20
D

10
2

4

6

8

10

12

Q

13
ตารางและเส้นอุปสงค์ต่อราคาสิ นค้าใช้ทดแทนกัน
ราคาหมู(P) ปริ มาณการซื้ อ
ไก่(Q)
80
100
120
140

1
2
3
4

P

D

140
120
100
80
0
1

2

3

4

Q

14
ปัจจัยทีเ่ ป็ นตัวกาหนดอุปสงค์

•
•
•
•

ราคาสิ นค้า (P)
รายได้ (Y)
ราคาสิ นค้าชนิดอื่น (P0)
การกระจายรายได้ (Di)

• รสนิยม (T)
• จานวนประชากร (Pz)
• ฤดูกาล (S)

15
ฟังก์ ชันอุปสงค์
จากปัจจัยที่เป็ นตัวกาหนดอุปสงค์ที่กล่าวมาข้างต้น สามารถนามา
เขียนเป็ นความสัมพันธ์ในรู ปฟังก์ชนได้ดงนี้
ั
ั

Qd = f(P,P0,Di,Y,T, Pz,S)

16
การเปลียนแปลงของอุปสงค์
่
1. การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์
ต่ อราคา หมายถึง การที่ จานวน
ซื้ อ สิ น ค้ า เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป
เนื่องจากราคาสิ นค้าเปลี่ยนแปลง
(โดยปั จจัยอื่นๆคงที่ ) ทาให้เส้น
อุปสงค์ไม่เปลี่ยนแปลง แต่เป็ น
การเคลื่ อ นย้า ยในเส้ น อุ ป สงค์
(move along curve)

P

P1

เคลื่อนย้ายบนเส้น
อุปสงค์เดิม

A
B

P2

Q1

Q2

Q

17
การเปลียนแปลงของอุปสงค์ (ต่ อ)
่
2. การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์ หมายถึง การที่ปัจจัยที่กาหนด
อุปสงค์ ตัวใดตัวหนึ่งหรื อหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่ ระดับราคา
สิ นค้าคงที่ ทาให้เส้นอุปสงค์เคลื่อนย้ายทั้งเส้น (shift)
P
D3

D1

ลด

เคลื่อนย้ายทั้งเส้น

D2

เพิ่ม

I +, (Ps +, Pc -), Pz +, Di +, T+ , S

Q3

Q1

Q2

Q

18
อุปทาน (supply)
ความหมายของอุปทาน
อุปทาน(supply) หมายถึง ปริ มาณสิ นค้าหรื อบริ การที่ผผลิต
ู้
ต้องการผลิตเพื่อจาหน่ าย ณ ระดับราคาต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่ ง
โดยสมมุติให้ปัจจัยอื่นๆคงที่
- ความเต็มใจที่จะเสนอขาย
- ความพร้อมหรื อความสามารถที่จะเสนอขาย
19
กฎของอุปทาน(Law of Supply)
ปริ มาณของสิ นค้าและบริ การชนิ ดใดชนิ ดหนึ่ งผูผลิตหรื อ
้
พ่อค้าต้องการจะขายย่อมแปรผันโดยตรงกับราคาของสิ นค้าและ
บริ การชนิดนั้นเสมอ
- ถ้าราคาสิ นค้าสูงขึ้น ผูผลิตจะผลิตเพื่อขายมากขึ้น
้
- ถ้าราคาสิ นค้าลดลง ผูผลิตจะผลิตเพื่อขายน้อยลง
้
จานวนการผลิตจะเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกันกับราคา
สิ นค้า เรี ยกว่า กฎของอุปทาน
20
ตารางอุปทาน (Supply Table)
ตารางอุ ป ทาน หมายถึ ง ชุ ด ตัว เลขที่ แ สดงจ านวนสิ น ค้า ที่ ธุร กิ จ
ต้องการขาย ณ ระดับราคาต่างๆ
1. ตารางอุปทานเฉพาะบุคคล (individual supply table)หมายถึง ตารางที่
แสดงจานวนขายสิ นค้าของผูขายคนใดคนหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ
้
2. ตารางอุปทานของตลาด (total supply table or market supply table) เป็ น
ชุ ดของตัว เลขที่ แสดงจ านวนการผลิ ตสิ นค้าของตลาด ณ ระดับราคา
ต่างๆ ทาได้โดยรวมจ านวนผลิ ตของหน่ ว ยธุ รกิ จ ทั้งหมดในตลาด ณ
ระดับราคาต่างๆ
21
เส้ นอุปทาน (Supply Curve)

จากตัวเลขทั้งหมดในตารางอุปทาน เราสามารถแสดงเป็ น
รู ปกราฟได้ดวยการหาจุดต่างๆบนกราฟ แต่ละจุดจะแทนด้วย
้
ราคาสิ นค้าระดับหนึ่ งกับจานวนซื้ อสิ นค้า เมื่อลากเส้นเชื่ อมจุด
ต่างๆจะได้เส้นอุปสงค์ของตลาด ลาดขึ้นจากซ้ายไปขวา

22
ชนิดของอุปทาน

1.อุปทานต่ อราคา (price demand) หมายถึง จานวนขายสิ นค้า
และบริ การชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ขึ้ น อยู่กับ ราคาของสิ น ค้า และ
บริ การชนิดนั้น โดยที่ปัจจัยอื่น ถูกกาหนดให้คงที่

23
ตารางและเส้ นอุปทานต่ อราคา
ราคา
(บาท)

ปริ มาณ
(ชิ้น)

P1: 10 Q1 : 100

S

P
B
P2
P1

A

P2 : 20 Q2 : 200
Q1

Q2

Q
24
ปัจจัยทีเ่ ป็ นตัวกาหนดอุปทาน

•
•
•
•
•
•

ราคาสิ นค้า (P)
จุดมุ่งหมายของธุรกิจ (O)
สภาพเทคโนโลยี (t)
ต้นทุนการผลิต (C)
ระดับราคาสิ นค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Py)
ฤดูกาล (S)
25
ฟังก์ ชันอุปทาน (supply function)
จากปั จ จั ย ที่ เ ป็ นตั ว ก าหนดอุ ป ทานที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น
สามารถนามาเขียนเป็ นความสัมพันธ์ในรู ปฟังก์ชนได้ดงนี้
ั
ั
Qs = f(P, O, t, C, Py, S)
ในการศึกษาอุปทาน จะให้ความสาคัญเฉพาะความสัมพันธ์
ระหว่ า งจ านวนขายสิ น ค้า และบริ การกับ ราคาเท่ า นั้ น โดย
กาหนดให้ปัจจัยตัวอื่นๆคงที่
Qs = f(PX)
26
การเปลียนแปลงของอุปทาน
่
1. การเปลียนแปลงของอุปทานต่ อราคา หมายถึง จานวนขายเปลี่ยนแปลง
่
เมื่อราคาสิ นค้านั้นเปลี่ยนแปลง โดยที่ปัจจัยกาหนดอุปทานอื่นๆคงที่ ทา
ให้เส้นอุปทานไม่เปลี่ ยนแปลง แต่เป็ นการเคลื่ อนย้ายในเส้นอุปทาน
(move along curve)
S

P
B
P2
P1

A

Q1

Q2

เปลี่ยนแปลงบนเส้น
อุปทานเดิม

Q

27
การเปลียนแปลงของอุปทาน (ต่ อ)
่
2. การเปลี่ยนแปลงของปริ มาณอุปทาน หมายถึง การที่ปัจจัยที่กาหนด
อุปทาน ตัวใดตัวหนึ่งหรื อหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ในขณะที่ ระดับราคา
สิ นค้าคงที่ ทาให้เส้นอุปทานเคลื่อนย้ายทั้งเส้น (shift)
P
S3

ลด

Q3

Q1

S1

S2

เพิ่ม

Q2

ต้องการยอดขาย (Q+),
t+, C-, Py-, S+

Q
28
ดุลยภาพ (Equilibrium)
จุดดุลยภาพ (Equilibrium Point) หมายถึง จุดที่ราคาระดับ
หนึ่งที่ปริ มาณซื้ อเท่ากับปริ มาณขายพอดี
จากกฎของอุปสงค์และอุปทาน ทาให้ทราบว่าปริ มาณซื้ อ
เปลี่ ย นแปลง ไปในทิ ศทางตรงกันข้ามกับราคาสิ น ค้า ขณะที่
ปริ มาณขายเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกับราคาสิ นค้า
ภาวะดุ ล ยภาพของตลาดเช่ น นี้ จะสมดุ ล หยุ ด นิ่ ง นาน
จนกระทังมีปัจจัยหรื อสาเหตุมาทาให้ราคาเปลี่ยนแปลง ราคาก็
่
จะทาหน้าที่ปรับตัวเข้าสู่จุดดุลยภาพอีกครั้ง เรี ยกว่า กลไกราคา
29
ตารางและกราฟแสดงจุดดุลภาพ

P Qd

Qs

D-S

10
8
6
4
2

5
4
3
2
1

-4
-2
0
2
4

P

1
2
3
4
5

อุปทานส่ วนเกิน (excess supply)
S
E
6
2

อุปสงค์ส่วนเกิน (excess demand)
1

3

D
Q

5
30
อุปสงค์ และ อุปทานส่ วนเกิน
อุปทานส่ วนเกิน (Excess Supply) คือ ราคาสิ นค้าสู งกว่าจุด
ดุลยภาพ ทาให้ปริ มาณขาย > ปริ มาณซื้ อ เกิ ดภาวะสิ นค้าล้น
ตลาด กลไกราคาจะปรับตัวลดลงมาสู่จุดดุลยภาพ
อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess Demand) คือ ราคาสิ นค้าต่ากว่า
จุดดุลยภาพ ทาให้ปริ มาณขาย < ปริ มาณซื้ อ เกิดภาวะสิ นค้าขาด
ตลาด กลไกราคาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นมาสู่จุดดุลยภาพ
31
การเปลียนแปลงดุลยภาพของตลาด
่

การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ เกิ ดจากการที่อุปสงค์และ
อุปทาน หรื ออย่างใดอย่างหนึ่ งเปลี่ยนแปลงไป ย่อมมีผลทาให้
ปริ มาณซื้อและปริ มาณขายเปลี่ยนแปลง

32
การเปลียนแปลงดุลยภาพของตลาด (ต่ อ)
่

1. อุปสงค์เพิมขึ้น อุปทานคงที่
่
2. อุปสงค์ลดลง อุปทานคงที่
3. อุปสงค์คงที่ อุปทานเพิมขึ้น
่
4. อุปสงค์คงที่ อุปทานลดลง

5. อุปสงค์เพิ่มขึ้น อุปทานเพิ่มขึ้น
6. อุปสงค์ลดลง อุปทานลดลง
7. อุปสงค์เพิ่มขึ้น อุปทานลดลง
8. อุปสงค์ลดลง อุปทานเพิ่มขึ้น

33
1.อุปสงค์เปลี่ยนแปลงแต่อุปทานคงที่
P
S
E1
E
E2

D1
D
D2

Q
34
2.อุปทานเปลี่ยนแปลงแต่อุปสงค์คงที่
S2

P

S

E2
E
E1

D
Q
35
3. อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกันในทางเดียวกัน
S2
S
S1

D1
D
D2
36
4. อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกันในทิศทางตรงกันข้าม
S
S1

D
D1

37
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ

Contenu connexe

Tendances

การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีพัน พัน
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกิตติธัช สืบสุนทร
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 

Tendances (20)

การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Plus de Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

Plus de Ornkapat Bualom (16)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ