SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร?
วิชาปรัชญาศาสนา
วัตถุประสงค์ประจาบท
 ศึกษาความหมาย จุดกาเนิด และพัฒนาการสืบทอดความคิดทางศาสนา
ตั้งแต่ยุคปฐมกาลจนถึงปัจจุบัน
การนับถือศาสนาต่างๆ ทั่วโลก
What
is Religion?
ความหมายของศาสนา (Religion)
 ภาษาอังกฤษ
คาว่า “Religion” มาจากภาษาลาติน ว่า “Religare” หรือ “Religio”
แปลว่า ผูกพัน, สัมพันธ์ รวมเข้าด้วยกัน ซึ่งหมายถึงความสัมพันธ์
ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า หรือ การรวมตัวเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า
 ภาษาบาลี
คาว่า “สาสน” แปลว่า คาสั่งสอน
ศาสนาคืออะไร ??
 Saint Augustine กล่าวว่า ศาสนา คือ ความดีอันเกิดจาการถวายความ
บริสุทธิ์ซึ่งได้มาจากพระเจ้ากลับคืนไปยังพระเจ้า
 D.R. Bali กล่าวว่า ศาสนา คือ ความเชื่อและศรัทธาในสิ่งที่อยู่เหนือ
ปรากฏการณ์ของโลก ได้แก่เรื่องพระเจ้า
 ศาสตราจารย์เสฐียร พันธรังสี กล่าวว่า ศาสนาต้องเป็นเรื่องเชื่อถือได้โดยมี
ความศักดิ์สิทธิ์ มีคาสอนทางจรรยา มีศาสดา และมีผู้สืบทอด
 พุทธทาสภิกขุ กล่าวว่า ศาสนา คือระบบการปฏิบัติที่ทาให้เกิดการผูกพันและ
เข้าถึงกันระหว่างมนุษย์กับสิ่งสูงสุด
 ๑) เกิดจากความกลัว ต่อธรรมชาติ ( Fear of Nature)
บ่อเกิดศาสนา
บ่อเกิดศาสนา
๒) เกิดจากความไม่รู้ (Lack of Knowledge) ได้ แก่ ความไม่รู้ต่อสิ่ง
ที่อยู่รอบตัวของเรา ความไม่รู้ (อวิชชา) นี้ย่อมสร้างโนภาพให้กับมนุย์
จนเกิดเป็นศาสนาได้
บ่อเกิดศาสนา
๓) เกิดจากความต้องการผสมสนองตอบแทน (Need of Recompens)
ได้แก่ การที่มนุษย์มีศาสนาหรือศรัทธาต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งก็เพื่อต้องการ
ให้ได้สิ่งตอบแทน เช่น นับถือผี ต้องการให้ผีช่วย เพื่อความปลอดภัย
บ้าง หรือเชื่อพระเจ้า ก็ต้องการให้ชีวิตดีขึ้น
องค์ประกอบของศาสนา
 มีอยู่ ๕ ประการดังนี้
๑. ผู้ก่อตั้ง
องค์ประกอบของศาสนา
๒. ศาสนธรรมหรือคาสั่งสอน
องค์ประกอบของศาสนา
๓. ศาสนพิธี
องค์ประกอบของศาสนา
๔. ศาสนสถาน
องค์ประกอบของศาสนา
๕. ศาสนบุคคล
ลักษณะเด่นของศาสนา
 ๑. เน้นศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์
 ๒. เน้นการปฏิบัติตามคัมภีร์ด้วยความศรัทธาผ่านพิธีกรรมต่างๆ
 ๓. เน้นการเข้าถึงจุดหมายสูงสุดในชีวิตเบื้องหลังความตายเป็นส่วนใหญ่
 ๔. เน้นรูปแบบชุมชนหรือสังคมของบุคคลในศาสนา ในรูปแบบที่แตกต่างกัน
เช่น พระ นักพรต ฤาษี เป็นต้น
ศาสนาที่คนส่วนใหญ่นับถือ
แบ่งย่อยออกเป็น ๒ ประเภท ได้แก่
๑) ศาสนาที่เชื่อในพระผู้สร้าง (God)
ผู้สร้างเป็นความจริง สูงสุดเป็นผู้สร้าง
สรรพสิ่งได้แก่ศาสนาคริสต์ อิสลาม และ
พราหมณ์ - ฮินดู
๒) ศาสนาไม่เชื่อในพระผู้สร้าง ความจริง
สูงสุดเป็นสภาวะที่ไม่มีใครกาหนด ศาสนา
เหล่านี้ได้แก่ ศาสนาพุทธและศาสนาเชน
1. ในการดาเนินชีวิตประจาวัน มนุษย์มีความจาเป็นต้องมีเกณฑ์ตัดสิน
ที่จะวัดหรือจาแนกแยกแยะว่าอะไรดีอะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด
อะไรควร อะไรไม่ควร
2. มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มิได้มีความต้องการทางด้านวัตถุแต่เพียงอย่าง
เดียว แต่มนุษย์ยังมีความคิดและจิตใจที่จาเป็นจะต้องได้รับการ
สนองตอบความต้องการอีกด้วย
3. ยิ่งมนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นสังคมใหญ่เท่าใด มนุษย์ก็ยิ่งมีความต้องการ
ศาสนามากขึ้นเท่านั้น
4. มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการที่พึ่งพิงทางจิตใจและต้องการหลักประกัน
ในการกระทาของตนเอง
5. ที่สาคัญที่สุดก็คือ ศาสนาเป็นสิ่งหนึ่งที่ทาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์
คนสัมผัส
กับโลก
ภายนอก
อารมณ์
เหตุผล
การ
คิด
ความ
คิด
กลุ่ม
หนึ่ง
การ
ยอมรับ
และ
ความ
เชื่อ
สถาบัน
ศาสนา
การ
ปฏิบัติทั้ง
ส่วนตัว
และ
ส่วนรวม
ลำดับขั้นตอนกำรเกิดศำสนำ
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลง
1. การเกิดความคิดใหม่ๆ ของมนุษย์
2. การนาความคิดใหม่ๆ มาปรับปรุง เพิ่มเติม และ ผสมผสาน
เข้ากับความคิดเดิม
3. อิทธิพลของความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถลบล้างความเชื่อแบบเดิมๆได้
ศาสนาพื้นฐานดั้งเดิม
วิวัฒนาการของศาสนา
• วิญญาณนิยม
• ธรรมชาติเทวนิยม
• เทวนิยม
• อเทวนิยม
วิญญาณนิยม สิ่งลี้ลับ : มนะ
(อานาจที่ไม่มีตัวตน
แต่มีชีวิตจิตใจ มีพลัง
วิเศษ)
- ยุคหมอผี (Shaman)
- มนะคือวิญญาณที่สิง
สถิตย์อยู่ทั่วไป
- เกิดรูปแกะสลักซึ่งเป็น
สัญลักษณ์ประจาเผ่า
(Totemism)
Totem ข้อห้ามเรียกว่า “ตาบู” (Taboo)
การเซ่นไหว้บรรพบุรุษ
ปิรามิด ศาลปู่ตา
แม่น้ำคงคำ
ธรรมชาติเทวนิยม • เรียก
วิญญาณว่า
เทวดา หรือ
เทพเจ้า
• เจ้าที่เจ้าทาง
• ผีบ้านผี
เรือน
เทพวรุณทรงช้าง 5 เศียร พระสุริยเทพ
เทวนิยม • เทพเจ้าสูงสุด
เหนือกว่าเทพเจ้า
ทั้งหลาย
• ทรงสร้างโลกและ
สรรพสิ่ง
• กาหนดชะตา
กรรมของมนุษย์
อเทวนิยม
• ทุกสิ่งทุกอย่าง
เป็นไปตามเหตุ
ปัจจัย
• กรรมหรือการ
กระทาของมนุษย์
คือตัวกาหนด
ความเป็นไป
พระพุทธเจ้ำ
มหำวีระ
ศาสนาดั้งเดิม คือศาสนา
และความเชื่อทั้งหลายที่มี
อยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์
สรุปวิวัฒนาการของความเชื่อทางศาสนา
(เสฐียร พันธรังษี)
 การนับถือธรรมชาติ (Nature Worship)
 การนับถือผีสางเทวดา (Animal Worship)
 การนับถือบรรพบุรุษ (Ancestor Worship)
 การนับถือพระเจ้าหลายองค์ (Poly-theism)
 การนับถือพระเจ้าองค์เดียว (Heno-theism)
 ขั้นการนับถือเทพเจ้าองค์หนึ่งของชนกลุ่มหนึ่ง (Heno-theism)
 ขั้นการนับถือเทพเจ้าองค์เดียว (Meno-theism)
 ขั้นเหตุผล (พระพุทธศาสนา)
ลักษณะเด่นของศำสนำแต่ละยุค
๑. ศำสนำดึกดำบรรพ์
- เน้นผลประโยชน์ในโลกนี้
(กลัวมำกๆ + ระคนดวยควำมหวัง)
๒. ศำสนำโบรำณ
- เน้นสัญลักษณ์หรือปรัมปรวิทยำ
(กลัวน้อยลง หวังมำกขึ้น)
๓. ศำสนำยิว
- เน้นประวัติศำสตร์และกฎหมำย (หวังมำกขึ้น)
๔. ศำสนำคริสต์
- เน้นประวัติศำสตร์และควำมเชื่อเพื่อภพหน้ำ (หวังมำกๆ)
๕. ศำสนำอิสลำม
- เน้นกฎหมำยหรือระเบียบ ประเพณี
๖. ศำสนำฮินดู
- เน้นพิธีกรรม
๗. ศำสนำเชน
- เน้นภำคปฏิบัติเพื่อภพหน้ำ
๘. ศำสนำพุทธ
- เน้นกำรวิเครำะห์ด้วยสติปัญญำเพื่อภพหน้ำ
๙. ศำสนำเต๋ำ
- เน้นควำมสันโดษและกลมกลืนกับธรรมชำติ
๑๐. ศำสนำขงจื๊อ
- เน้นกำรเมืองเชิงจริยธรรม
๑๑. ศำสนำซิกส์
- เน้นควำมเคำรพระหว่ำงครูกับ ศิษย์
๑๒. ศำสนำชินโต
- เน้นประวัติศำสตร์ (ควำมเชื่อ + รำชสำนัก)
ทฤษฎีต่ำงๆ
จิตวิทยำ: ทฤษฎีเอกภำพทำงจิตของ มนุษย์ (Psychic
Unity of Mankind)
มนุษย์ยุคบุพพกำลมีควำมเชื่อทำงศำสนำคล้ำยคลึงกัน
ทั้งๆ ที่มิได้ติดต่อกัน เพรำะ :-
- เกิดจำกประสบกำรณ์ขั้นพื้นฐำนที่คล้ำยคลึงกัน
- เกิดจำกควำมจำเป็นเพื่อดำรงชีวิตที่คล้ำยคลึงกัน
- บทสรุปจึงตั้งอยู่บนพื้นฐำนทำงควำมเชื่อที่เร้นลับหรือ
วิญญำณ
ทฤษฎีบ่อเกิดของศาสนา
สามารถสรุปทฤษฎีบ่อเกิดของศาสนา
ออกเป็น 3 กลุ่มคือ
1. ทฤษฎีจิตวิทยา
2. ทฤษฏีมานุษยวิทยา
3. ทฤษฎีสังคมวิทยา
ทฤษฏีจิตวิทยา
Religious Instinct
 ศาสนาเกิดจากสัญชาตญาณพิเศษทางศาสนาของมนุษย์
 ถือว่ามนุษย์มีสัญชาตญาณทางศาสนามาแต่กาเนิด
Fear
 ศาสนาก่อตัวมาจากความกลัว
 ได้รับการสนับสนุนมาก
ทฤษฎีมานุษยวิทยา
 ศาสนาและอารยธรรมของโลกมีจุดกาเนิดมาจากแหล่งเดียวกัน
หรือมีจุดร่วมกัน
 อูราอัลไต, ซีไมท์ และอารยันทูราเนียเป็นต้นกาเนิดทางภาษา
ศาสนาและเชื้อชาติต่างๆ
 จึงได้บทสรุปว่า แนวความคิดทางศาสนาเดิมของมนุษย์ทั่วโลกมี
ลักษณะคล้ายคลึงกัน เพราะมีจุดกาเนิดร่วมกันมาแต่เดิม
ทฤษฎีมานุษยวิทยาที่สาคัญ
John Lubbock
 ในยุคแรกวิวัฒนาการทาง
ความคิดของมนุษย์เริ่ม
ตั้งแต่ไม่มีแนวความคิด
ทางศาสนา ต่อมามนุษย์
จึงเริ่มนับถือธรรมชาติว่า
เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ศาสนา
(บุพกาล) จึงปรากฏขึ้น
ทฤษฎีมานุษยวิทยาที่สาคัญ (ต่อ)
E.B. Tyler
 จุดเริ่มต้นของการเกิด
ศาสนาทั่วโลก มาจาก
ความเชื่อของมนุษย์ที่ว่า
วิญญาณมีอยู่จริง ซึ่งเป็น
ความเชื่อรูปแบบเก่าแก่
ที่สุดและสาคัญที่สุด เป็น
ความเชื่อที่สร้างอารย
ธรรมให้กับสังคมมนุษย์
ทฤษฎีมานุษยวิทยาที่สาคัญ (ต่อ)
Herbert Spencer
 ลัทธิบูชาบรรพบุรุษคือ
รูปแบบที่เก่าแก่ที่สุดใน
แนวความคิดทางความ
เชื่อหรือศาสนาของมนุษย์
ความคิดนี้ ไม่ได้รับ
สนับสนุนเหมือนความคิด
ของ E.B. Tylor
ทฤษฎีสังคมวิทยา
Joachim Wech
 ถือว่าศาสนาเป็นสถาบันทางสังคม
 จัดบ่อเกิดทางศาสนาเป็น 2
ประเภท
1. เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
(Natural Religion)
2. เกิดจากระบบของสังคม
(Associative Religion)
Natural Religion
 เกิดจากการที่มนุษย์ไม่เข้าใจในธรรมชาติ
 ยกย่องปรากฏการณ์ธรรมชาติเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์
 บางครั้งเรียกว่าศาสนาสากล
 ลักษณะที่สาคัญ
1. ยึดมั่นกับความเชื่อที่แสดงออกด้านพื้นฐานของสังคม
เดิม
2. เน้นหนักด้นพฤติกรรมทางศาสนาที่ในสังคมต่างๆ
3. ระบบความเชื่อ ผูกพันกับสภาวะเหนือธรรมชาติ
Associative Religion
 มีองค์พิธีการ (Rites) เป็นส่วนควบคุมกากับ
 เป็นไปตามกระแสแห่งพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมนั้นๆ
 มีวิวัฒนาการมาเป็นลาดับ
 มีรูปแบบ ระบบที่ตอบสนองสังคมนั้นๆ
 เป็นศาสนาประเภทที่มีความมั่นคงถาวร
ศาสนาที่ตายแล้ว www.themegallery.com
เห็นด้วยหรือไม่?
The End
สวัสดี...
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

What's hot (20)

พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 

Viewers also liked

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 

Viewers also liked (6)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

Similar to บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร

บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 

Similar to บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร (20)

บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
111
111111
111
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
Chris
ChrisChris
Chris
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร