SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
- 1 -
ประมวลการสอน
ภาคต้น ปีการศึกษา 2558
1. คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา
2. รหัสวิชา 01387101 ชื่อวิชา (ไทย) ศิลปะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
จานวนหน่วยกิต 3(3-0) (อังกฤษ) The Art of Living with Others
วิชาพื้นฐาน ไม่มี
หมู่ 350 วัน จันทร์ เวลา 16.00 น. - 19.00 น. สถานที่สอน LH-4 ห้อง 506
3. ผู้สอน
อาจารย์ ดร.สรณีย์ สายศร
4. การให้นิสิตเข้าพบและให้คาแนะนานอกเวลาเรียน
วันอังคาร, พุธ เวลา 13.00 น.- 15.00 น.
หรือ ตามเวลาที่นัดหมายได้ที่ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ ห้อง มน.1- 513
โทร 0 2579 6525 ต่อ 109
WEBSITE : www.philosophychicchic.com
philosophychicchic
5. จุดประสงค์ของวิชา
5.1 เพื่อวางรากฐานในการรู้จักและเข้าใจตนเอง
5.2 เพื่อประเมินตนเองตามสภาพที่เป็นจริง และนาไปสู่การปรับปรุงตนเอง
5.3 เพื่อวางรากฐานในการเข้าใจผู้อื่น
5.4 เพื่อพัฒนาการอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีและมีความสุข
- 2 -
6. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาศิลปะแห่งการใช้ชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีอย่างมีคุณค่าและมีความสุข ธรรมเนียมไทย
และธรรมเนียมสากลเกี่ยวกับมรรยาทในสังคม การรู้จักตัวเองเพื่อปรับปรุงตัวเอง การฝึกการพัฒนาจิตใจ
7. เนื้อหารายวิชา ประกอบด้วยบทเรียนทั้งหมด 10 บท
** ภาคที่ 1 “การรู้จักตนเอง”
1. บทนา – ทาความรู้จัก กับ “ศิลปะแห่งชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น”
2. การรู้เท่าทันตนเอง – ศึกษาแนวทางการรู้จักและรู้เท่าทันการกระทาของตนเอง
3. การรู้ว่าอะไรเป็นอะไร – ศึกษาความจริงของชีวิตในมุมมองต่างๆ
4. อุดมคติและเป้าหมายของชีวิต – ศึกษาและค้นหาเป้าหมายของชีวิต
** ภาคที่ 2 “การรู้จักผู้อื่น”
5. ความแตกต่างระหว่างบุคคล – ศึกษาถึงลักษณะความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านต่างๆ ตาม
แนวคิดทางจิตวิทยาและศาสนา
6. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม – ศึกษาถึงปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่กาหนดบทบาทการกระทาของมนุษย์
** ภาคที่ 3 “ศิลปะในการดาเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น”
7. ศิลปะแห่งจิตใจ – ศึกษาแนวทางการพัฒนาจิตใจทั้งทางศาสนา ปรัชญา และจิตวิทยา
8. ศิลปะแห่งความรัก – ศึกษาแนวทางของความรักที่สร้างสรรค์และเป็นสุข
9. ศิลปะในการศึกษาและการทางาน - ศึกษาแนวทางในการศึกษาและการทางานให้ประสบ
ความสาเร็จและมีความสุข
10. ศิลปะในการดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น - ศึกษาแนวทางในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขและทักษะ
ทางมนุษย์สัมพันธ์
8. วิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
- บรรยาย ทากิจกรรม เสนองาน ร่วมอภิปราย ซักถามปัญหา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในหัวข้อที่ศึกษา
9. อุปกรณ์สื่อการสอน
เอกสารประกอบการสอน, ใบงานกิจกรรม, เกมส์, Power Point , สไลด์ ,คลิปวีดีโอ, สารคดี บทความ เพลง
และภาพยนตร์ เป็นต้น
10. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
1. การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 10 คะแนน
2. กิจกรรมในห้องเรียน หรือกิจกรรมเดี่ยว 15 คะแนน
3. กิจกรรมหลักประจาวิชา ( ART OF LIVING PROJECT ) 15 คะแนน
2. การสอบปลายภาค 60 คะแนน
(สัดส่วนคะแนน อาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม *)
** หมายเหตุ นิสิตจะต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า ๘๐% (ขาดเรียนได้ไม่เกิน ๓ ครั้ง) ตามระเบียบของ
มหาวิทยาลัย
- 3 -
11. การประเมินผลการเรียน
ใช้ทั้งการอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม โดยพิจารณาจากจานวน ประเภท ชั้นปีของนิสิตที่ลงทะเบียน
12. เอกสารอ่านประกอบ
1. ศิริวรรณ เกษมศานต์กิดาการ. 2547. ศิลปะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการ
ชลประทาน.
2. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). 2548. คู่มือชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ:บริษัทพิมพ์
สวย.
3. พุทธทาสภิกขุ. ม.ป.ป. คู่มือมนุษย์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ธรรมสภา.
4. วศิน อินทสระ. 2547. เพื่อความสุขใจ. (พิมพ์ครั้งที่20). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ธรรมดา.
5. ทีมงานจิตวิทยา นพ.สัณห์ ศัลยศิริ. 2548. E.Q. บริหารอารมณ์อย่างฉลาด. กรุงเทพฯ:
ชบา พับลิชชิ่ง เวิร์กส.
6. ติชนัทฮันท์ เขียนธารา รินศานต์ แปล.2542. เมตตาภาวนา คาสอนว่าด้วยรัก. กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง. (และหนังสืออื่นๆของ ติช นัท ฮันห์)
7. พระธรรมวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวัณโณ). 2549. การพัฒนาจิต. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ:
สร้างสรรค์บุ๊ค.
8. สาทิส อินทรกาแหง. 2547. ชีวจิต การใช้ชีวิตอย่างเข้าใจธรรมชาติ. (พิมพ์ครั้งที่ 32).
กรุงเทพฯ: คลินิกสุขภาพ.
9. หนังสือและงานเขียนของ “หนูดี” วนิษา เรซ เช่น “อัจฉริยะสร้างได้”, “อัจฉริยะเรียนสนุก”,
“อัจฉริยะสร้างสุข”
10. หนังสือและงานเขียนของ “นิ้วกลม”
11. หนังสือชุด “เข็มทิศชีวิต” เขียนโดย ฐิตินาถ ณ พัทลุง.
12. หนังสือ “ศิลปะแห่งความสุข” เขียนโดย ดาไลลามะ ที่ 14 (The Art of Happiness -
Dalai Lama XIV )
13. หนังสือ “เปิดห้องเรียนวิชาความสุข” เขียนโดย ดร. ทาล เบน-ชาฮาร์, พรเลิศ อิฐฐ์ (แปล)
(Happier – Tal Ben-Shahar, Ph.d.)
14. หนังสือ และนิตยสารอื่นๆ แนวจิตวิทยาเชิงบวก (Positive Psychology), ธรรมะใน
ชีวิตประจาวัน (Dhamma in daily life) และ ปรัชญาและศาสนาเชิงประยุกต์ (Applied
Philosophy & Religion)
15. สื่อวีดีโอสร้างสรรค์ และอื่นๆ ใน YOUTUBE GOOGLE FACEBOOK
- 4 -
13. ตารางกิจกรรมการเรียนการสอน (45 คาบ 15 สัปดาห์)
สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม
1 ** ภาคที่ 1 – การรู้จักตนเอง
บทที่ 1 บทนา – ทาความรู้จักกับ วิชา “ศิลปะการ
ดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น”
- บรรยาย อภิปราย
- แนะนากิจกรรมและงานประจา
วิชา
2. บทที่ 2 การรู้เท่าทันตนเอง
- การรู้เท่าทันตนเอง และการรู้จักตัวเองใน
รูปแบบต่างๆ
- บรรยาย/อภิปราย
- ทากิจกรรมสารวจตนเอง
3 บทที่ 3 การรู้ว่าอะไรเป็นอะไร
- ความจริงของชีวิต (ชีวิตคืออะไร)
- ชมวีดีทัศน์
- บรรยาย/อภิปราย
4 บทที่ 3 การรู้ว่าอะไรเป็นอะไร (ต่อ)
- ความจริงของชีวิต (ชีวิตควรเป็นไปอย่างไร)
- บรรยาย/อภิปราย/กิจกรรม
- กิจกรรม “มองโลกให้เป็น...เห็น
ทุกข์ สนุกดี”
5 บทที่ 4 อุดมคติและเป้าหมายของชีวิต
- แนวคิดเรื่องอุดมคติของชีวิตของนักคิดต่างๆ
และบุคคลที่น่าสนใจ
- กิจกรรม “ร่วมกันแสวงหา
ความหมายของชีวิต ผ่าน
ภาพยนตร์ บทความ และเรื่องราว
ต่างๆ”
6 บทที่ 4 อุดมคติของชีวิต (ต่อ)
- กิจกรรมค้นหาเป้าหมายของชีวิต
(Special Workshop)
- บรรยาย/อภิปราย
- กิจกรรม “เข็มทิศชีวิต” (Art of
Compass)
7 ** ภาคที่ 2 – การรู้จักผู้อื่น
บทที่ 5 ความแตกต่างระหว่างบุคคล
- ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านต่างๆ
- บรรยาย/อภิปราย
- กิจกรรมการรู้จักผู้อื่น
8 บทที่ 6 อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
- อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรมของ
มนุษย์
- บรรยาย/อภิปราย
- กิจกรรมการเข้าใจผู้อื่น
(I see you in myself)
9 ** ภาคที่ 3 – ศิลปะในการดาเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกับ
ผู้อื่น
บทที่ 7 ศิลปะแห่งจิตใจ
- สุขภาพจิต /EQ : การบริหารอารมณ์
อย่างฉลาด
- บรรยาย/อภิปราย
-กิจกรรม“รู้ทันจิตรู้จักคิดในแง่ดี”
- กิจกรรม “ทาแบบทดสอบทาง
จิตวิทยา” (Funny Psychology)
- 5 -
10 บทที่ 7 ศิลปะแห่งจิตใจ (ต่อ)
- ศิลปะแห่งความสุข
- การพัฒนาจิตตามแนวทางของ
พระพุทธศาสนา และแนวประยุกต์
- บรรยาย/อภิปราย
- กิจกรรม Modern Meditation
11 บทที่ 7 ศิลปะแห่งความรัก
- การรักตนเองและผู้อื่นให้เป็น
อย่างไม่เป็นทุกข์ (Positive Love for
Happiness Life)
- กิจกรรม “มองความรักผ่านเพลง
และเรื่องราวต่างๆ”
- กิจกรรมร่วมเสวนาเพื่อค้นหา
ความหมายของรักแท้
12 บทที่ 8 ศิลปะแห่งความรัก (ต่อ)
- การพัฒนาความรักในมิติต่างๆ
(Compassion Development)
- บรรยาย/อภิปราย
- กิจกรรม
13 บทที่ 9 ศิลปะในการศึกษาและการทางาน
- ทักษะในการศึกษาและการทางานให้
ประสบความสาเร็จและมีความสุข
- บรรยาย/อภิปราย
- กิจกรรมศึกษาชีวิตบุคคลที่
ประสบความสาเร็จ
14 บทที่ 10 ศิลปะในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น
- แนวทางในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
ความสุขและทักษะทางมนุษย์สัมพันธ์
- นิสิตนาเสนอกิจกรรม
15 บทสรุป – สรุปผลการเรียนรู้แบบบูรณาการ - นิสิตนาเสนอกิจกรรม
สอบปลายภาค
ขอบคุณค่ะ
อาจารย์ สรณีย์ สายศร

More Related Content

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

แผนการสอน Art หมู่ 350 เทอม1/2558

  • 1. - 1 - ประมวลการสอน ภาคต้น ปีการศึกษา 2558 1. คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 01387101 ชื่อวิชา (ไทย) ศิลปะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น จานวนหน่วยกิต 3(3-0) (อังกฤษ) The Art of Living with Others วิชาพื้นฐาน ไม่มี หมู่ 350 วัน จันทร์ เวลา 16.00 น. - 19.00 น. สถานที่สอน LH-4 ห้อง 506 3. ผู้สอน อาจารย์ ดร.สรณีย์ สายศร 4. การให้นิสิตเข้าพบและให้คาแนะนานอกเวลาเรียน วันอังคาร, พุธ เวลา 13.00 น.- 15.00 น. หรือ ตามเวลาที่นัดหมายได้ที่ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ ห้อง มน.1- 513 โทร 0 2579 6525 ต่อ 109 WEBSITE : www.philosophychicchic.com philosophychicchic 5. จุดประสงค์ของวิชา 5.1 เพื่อวางรากฐานในการรู้จักและเข้าใจตนเอง 5.2 เพื่อประเมินตนเองตามสภาพที่เป็นจริง และนาไปสู่การปรับปรุงตนเอง 5.3 เพื่อวางรากฐานในการเข้าใจผู้อื่น 5.4 เพื่อพัฒนาการอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีและมีความสุข
  • 2. - 2 - 6. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาศิลปะแห่งการใช้ชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีอย่างมีคุณค่าและมีความสุข ธรรมเนียมไทย และธรรมเนียมสากลเกี่ยวกับมรรยาทในสังคม การรู้จักตัวเองเพื่อปรับปรุงตัวเอง การฝึกการพัฒนาจิตใจ 7. เนื้อหารายวิชา ประกอบด้วยบทเรียนทั้งหมด 10 บท ** ภาคที่ 1 “การรู้จักตนเอง” 1. บทนา – ทาความรู้จัก กับ “ศิลปะแห่งชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น” 2. การรู้เท่าทันตนเอง – ศึกษาแนวทางการรู้จักและรู้เท่าทันการกระทาของตนเอง 3. การรู้ว่าอะไรเป็นอะไร – ศึกษาความจริงของชีวิตในมุมมองต่างๆ 4. อุดมคติและเป้าหมายของชีวิต – ศึกษาและค้นหาเป้าหมายของชีวิต ** ภาคที่ 2 “การรู้จักผู้อื่น” 5. ความแตกต่างระหว่างบุคคล – ศึกษาถึงลักษณะความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านต่างๆ ตาม แนวคิดทางจิตวิทยาและศาสนา 6. อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม – ศึกษาถึงปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่กาหนดบทบาทการกระทาของมนุษย์ ** ภาคที่ 3 “ศิลปะในการดาเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น” 7. ศิลปะแห่งจิตใจ – ศึกษาแนวทางการพัฒนาจิตใจทั้งทางศาสนา ปรัชญา และจิตวิทยา 8. ศิลปะแห่งความรัก – ศึกษาแนวทางของความรักที่สร้างสรรค์และเป็นสุข 9. ศิลปะในการศึกษาและการทางาน - ศึกษาแนวทางในการศึกษาและการทางานให้ประสบ ความสาเร็จและมีความสุข 10. ศิลปะในการดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น - ศึกษาแนวทางในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขและทักษะ ทางมนุษย์สัมพันธ์ 8. วิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ - บรรยาย ทากิจกรรม เสนองาน ร่วมอภิปราย ซักถามปัญหา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในหัวข้อที่ศึกษา 9. อุปกรณ์สื่อการสอน เอกสารประกอบการสอน, ใบงานกิจกรรม, เกมส์, Power Point , สไลด์ ,คลิปวีดีโอ, สารคดี บทความ เพลง และภาพยนตร์ เป็นต้น 10. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 1. การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 10 คะแนน 2. กิจกรรมในห้องเรียน หรือกิจกรรมเดี่ยว 15 คะแนน 3. กิจกรรมหลักประจาวิชา ( ART OF LIVING PROJECT ) 15 คะแนน 2. การสอบปลายภาค 60 คะแนน (สัดส่วนคะแนน อาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม *) ** หมายเหตุ นิสิตจะต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า ๘๐% (ขาดเรียนได้ไม่เกิน ๓ ครั้ง) ตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย
  • 3. - 3 - 11. การประเมินผลการเรียน ใช้ทั้งการอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม โดยพิจารณาจากจานวน ประเภท ชั้นปีของนิสิตที่ลงทะเบียน 12. เอกสารอ่านประกอบ 1. ศิริวรรณ เกษมศานต์กิดาการ. 2547. ศิลปะการอยู่ร่วมกับผู้อื่น. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยการ ชลประทาน. 2. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). 2548. คู่มือชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ:บริษัทพิมพ์ สวย. 3. พุทธทาสภิกขุ. ม.ป.ป. คู่มือมนุษย์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ธรรมสภา. 4. วศิน อินทสระ. 2547. เพื่อความสุขใจ. (พิมพ์ครั้งที่20). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ธรรมดา. 5. ทีมงานจิตวิทยา นพ.สัณห์ ศัลยศิริ. 2548. E.Q. บริหารอารมณ์อย่างฉลาด. กรุงเทพฯ: ชบา พับลิชชิ่ง เวิร์กส. 6. ติชนัทฮันท์ เขียนธารา รินศานต์ แปล.2542. เมตตาภาวนา คาสอนว่าด้วยรัก. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง. (และหนังสืออื่นๆของ ติช นัท ฮันห์) 7. พระธรรมวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวัณโณ). 2549. การพัฒนาจิต. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์บุ๊ค. 8. สาทิส อินทรกาแหง. 2547. ชีวจิต การใช้ชีวิตอย่างเข้าใจธรรมชาติ. (พิมพ์ครั้งที่ 32). กรุงเทพฯ: คลินิกสุขภาพ. 9. หนังสือและงานเขียนของ “หนูดี” วนิษา เรซ เช่น “อัจฉริยะสร้างได้”, “อัจฉริยะเรียนสนุก”, “อัจฉริยะสร้างสุข” 10. หนังสือและงานเขียนของ “นิ้วกลม” 11. หนังสือชุด “เข็มทิศชีวิต” เขียนโดย ฐิตินาถ ณ พัทลุง. 12. หนังสือ “ศิลปะแห่งความสุข” เขียนโดย ดาไลลามะ ที่ 14 (The Art of Happiness - Dalai Lama XIV ) 13. หนังสือ “เปิดห้องเรียนวิชาความสุข” เขียนโดย ดร. ทาล เบน-ชาฮาร์, พรเลิศ อิฐฐ์ (แปล) (Happier – Tal Ben-Shahar, Ph.d.) 14. หนังสือ และนิตยสารอื่นๆ แนวจิตวิทยาเชิงบวก (Positive Psychology), ธรรมะใน ชีวิตประจาวัน (Dhamma in daily life) และ ปรัชญาและศาสนาเชิงประยุกต์ (Applied Philosophy & Religion) 15. สื่อวีดีโอสร้างสรรค์ และอื่นๆ ใน YOUTUBE GOOGLE FACEBOOK
  • 4. - 4 - 13. ตารางกิจกรรมการเรียนการสอน (45 คาบ 15 สัปดาห์) สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม 1 ** ภาคที่ 1 – การรู้จักตนเอง บทที่ 1 บทนา – ทาความรู้จักกับ วิชา “ศิลปะการ ดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น” - บรรยาย อภิปราย - แนะนากิจกรรมและงานประจา วิชา 2. บทที่ 2 การรู้เท่าทันตนเอง - การรู้เท่าทันตนเอง และการรู้จักตัวเองใน รูปแบบต่างๆ - บรรยาย/อภิปราย - ทากิจกรรมสารวจตนเอง 3 บทที่ 3 การรู้ว่าอะไรเป็นอะไร - ความจริงของชีวิต (ชีวิตคืออะไร) - ชมวีดีทัศน์ - บรรยาย/อภิปราย 4 บทที่ 3 การรู้ว่าอะไรเป็นอะไร (ต่อ) - ความจริงของชีวิต (ชีวิตควรเป็นไปอย่างไร) - บรรยาย/อภิปราย/กิจกรรม - กิจกรรม “มองโลกให้เป็น...เห็น ทุกข์ สนุกดี” 5 บทที่ 4 อุดมคติและเป้าหมายของชีวิต - แนวคิดเรื่องอุดมคติของชีวิตของนักคิดต่างๆ และบุคคลที่น่าสนใจ - กิจกรรม “ร่วมกันแสวงหา ความหมายของชีวิต ผ่าน ภาพยนตร์ บทความ และเรื่องราว ต่างๆ” 6 บทที่ 4 อุดมคติของชีวิต (ต่อ) - กิจกรรมค้นหาเป้าหมายของชีวิต (Special Workshop) - บรรยาย/อภิปราย - กิจกรรม “เข็มทิศชีวิต” (Art of Compass) 7 ** ภาคที่ 2 – การรู้จักผู้อื่น บทที่ 5 ความแตกต่างระหว่างบุคคล - ความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านต่างๆ - บรรยาย/อภิปราย - กิจกรรมการรู้จักผู้อื่น 8 บทที่ 6 อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม - อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรมของ มนุษย์ - บรรยาย/อภิปราย - กิจกรรมการเข้าใจผู้อื่น (I see you in myself) 9 ** ภาคที่ 3 – ศิลปะในการดาเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกับ ผู้อื่น บทที่ 7 ศิลปะแห่งจิตใจ - สุขภาพจิต /EQ : การบริหารอารมณ์ อย่างฉลาด - บรรยาย/อภิปราย -กิจกรรม“รู้ทันจิตรู้จักคิดในแง่ดี” - กิจกรรม “ทาแบบทดสอบทาง จิตวิทยา” (Funny Psychology)
  • 5. - 5 - 10 บทที่ 7 ศิลปะแห่งจิตใจ (ต่อ) - ศิลปะแห่งความสุข - การพัฒนาจิตตามแนวทางของ พระพุทธศาสนา และแนวประยุกต์ - บรรยาย/อภิปราย - กิจกรรม Modern Meditation 11 บทที่ 7 ศิลปะแห่งความรัก - การรักตนเองและผู้อื่นให้เป็น อย่างไม่เป็นทุกข์ (Positive Love for Happiness Life) - กิจกรรม “มองความรักผ่านเพลง และเรื่องราวต่างๆ” - กิจกรรมร่วมเสวนาเพื่อค้นหา ความหมายของรักแท้ 12 บทที่ 8 ศิลปะแห่งความรัก (ต่อ) - การพัฒนาความรักในมิติต่างๆ (Compassion Development) - บรรยาย/อภิปราย - กิจกรรม 13 บทที่ 9 ศิลปะในการศึกษาและการทางาน - ทักษะในการศึกษาและการทางานให้ ประสบความสาเร็จและมีความสุข - บรรยาย/อภิปราย - กิจกรรมศึกษาชีวิตบุคคลที่ ประสบความสาเร็จ 14 บทที่ 10 ศิลปะในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น - แนวทางในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุขและทักษะทางมนุษย์สัมพันธ์ - นิสิตนาเสนอกิจกรรม 15 บทสรุป – สรุปผลการเรียนรู้แบบบูรณาการ - นิสิตนาเสนอกิจกรรม สอบปลายภาค ขอบคุณค่ะ อาจารย์ สรณีย์ สายศร