ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)

Padvee Academy
Padvee AcademyEducator à Home school
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ




ซาร์ต เกิดที่ปารีสเมื่อ ค.ศ. 1905 บิดาเสียชีวิต
ตั้งแต่เป็นทารก ได้รับการเลี้ยงดูจากแม่ ยาย
และตา
เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นัก
ปรัชญา และผู้มีบทบาทสาคัญในแนวคิดอัตถิ
ภาวนิยม (Existentialism)
เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ใน
แง่ปัจเจกชน
ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ.
2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าว
ซาร์ต คือ ใคร??
ซาร์ต ชอบอ่านและชอบเขียนหนังสือตั้งแต่วัยเยาว์ >> อายุ 9 ขวบ คิด
ว่าต้องเป็นนักเขียนเท่านั้นจึงจะมีชีวิตที่อมตะ
“ฉันมีชีวิตอยู่ได้เพราะฉันเขียน ทาให้ฉันสามารถหนีพ้นจากพวกผู้ใหญ่
ทั้งหลายได้...”
อายุ 12 ขวบ ละทิ้งความเชื่อเรื่องพระเจ้าโดยเด็ดขาด
“ณ บัดดล พระองค์ลับตาไปในท้องฟ้าสีคราม แล้วก็หายไปโดยไม่
ชี้แจงอะไรเลย ข้าพเจ้าจึงพูดกับตัวเองอย่างสุภาพแกมงงงวยว่า พระ
เจ้าไม่มีจริง ข้าพเจ้าถือเป็นการตัดสินใจขั้นเด็ดขาด”
ซาร์ต คือ ใคร??
ฌ็อง-ปอล ซาร์ต เข้ารับการศึกษาที่ เอโกล นอร์มาล ซูเปรีเยอร์ ระหว่างปี
ค.ศ. 1924 – ค.ศ. 1929 เมื่อเรียนจบ ก็ได้เป็นอาจารย์สาขาปรัชญาที่ เลอ
แอร์ฟ เมื่อปี ค.ศ. 1931
ระหว่างปี 1931 - 1945 ซาร์ตได้เป็นอาจารย์สอนปรัชญาหลายที่ รวมทั้งใน
อังกฤษ และสุดท้ายก็กลับมาที่ปารีส
เป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี 1939 ต่อมาถูกจับเป็นเชลยในค่าย
กักกัน ปีถัดมาก็ได้รับการปลดปล่อย จึงมาร่วมตั้งหน่วยใต้ดินต่อต้าน
เยอรมัน
ช่วงเวลาที่สอนหนังสือนั้น ซาร์ตได้ตีพิมพ์หนังสือเรื่อง La Nausee, 1938
เป็นครั้งแรกที่ทาให้เขามีชื่อเสียง นวนิยายเรื่องนี้เขียนในรูปบันทึก
ประจาวัน เล่าถึงความรู้สึกชิงชัง เมื่อเผชิญหน้ากับโลกของทางวัตถุ ไม่
เพียงแต่โลกของคนอื่นเท่านั้น แต่ยังเป็นการรับรู้ถึงตัวของเขาด้วย
ซาร์ต คือ ใคร??
ตั้งแต่ยังเป็นนักเรียน ซาร์ตเบื่อชีวิตตามแบบแผน และสังคมของชน
ชั้นกลาง ต้องการแสวงหาอุดมการณ์ใหม่ที่เหมาะกับคนทุกคน
ซาร์ตไม่พอใจกับปรัชญาแบบดั้งเดิมที่เต็มไปด้วยแนวคิดแบบ
นามธรรม ที่ห่างไกลจากชีวิตที่แท้จริง
ซาร์ตสนใจศึกษาปรัชญาของเอ็ดมัน ฮุสเซิร์ล (ปรากฏการณ์นิยม -
Phenomenology), ไฮเดกเกอร์, อ่านงานของเกียกเกอการ์ด
แนวคิดของซาร์ตเกิดเป็น “อัตถิภาวนิยมแบบปรากฏการณ์วิทยา”
(Phenomenological existentialism) // “อัตถิภาวนิยมแบบอเทวะ”
(atheistic existentialism)
ซาร์ต คือ ใคร??
เมื่อสงครามสงบ และฝรั่งเศสได้รับการปลดปล่อยจากนาซีเยอรมัน ซาร์ต
ร่วมมือกับ กามูส์ (Albert Camus), โบวัวร์ (Simone de Beauvoir) และ
นักเขียนคนอื่นๆ ออกนิตยสาร ที่ปลุกใจให้ประชาชนเสียสละผลประโยชน์
และความสุขส่วนตัวเพื่อสร้างสังคมให้น่าอยู่กว่าเดิม
เรียกร้องให้ปรับปรุงสังคมตามแนวปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม >> มนุษย์ทั้ง
โลกมีภาวะเหมือนกัน คือ ไม่มีสารัตถะ มีแต่ภาวะเสรี จึงอยู่ในความ
รับผิดชอบของทุกคนที่จะให้คนแต่ละคนมีเสรีภาพอย่างแท้จริง
ถือคติ >> “แต่ละคนมีส่วนรับผิดชอบในความเลวร้ายที่เขาไม่พยายาม
ป้องกัน” (One is always responsible for what one does not try to prevent)
สนับสนุนลัทธิมาร์กซิส แต่คิดว่าควรปรับปรุงความคิดของมาร์กบางประการ
ให้เหมาะสมกับยุคสมัย
ซาร์ต คือ ใคร??


เรื่องราวการตั้งคาถามให้กับชีวิตของ
โรก็องแต็ง...(ฉันมีชีวิตอยู่ไปเพื่ออะไร?)
เขาคลื่นเหียนต่อชีวิตที่ซ้าซาก จาเจ
ของพวกชนชั้นกลาง ที่ก้มหน้าทาในสิ่ง
เดิมๆ โดยไม่เคยคิดถึงชีวิตแบบอื่นๆ
>> พวกโง่
คนควรหันมาสารวจความรู้สึกที่แท้จริง
ของตนเองว่าต้องการอะไร แล้ว
ตัดสินใจทาสิ่งนั้นให้กับตัวเอง
La Nausee – the first novel
โรก็องแต็งเป็นตัวแทนของซาร์ต ได้
แสวงหาความหมายให้กับชีวิตของตนใหม่
โดยการเป็นคนเขียนหนังสือ
การขจัดความไร้ความหมายของชีวิตก็คือ
การรู้จักสารวจความรู้สึกของตนเอง และลง
มือกระทากิจกรรมจากความรู้สึกที่แท้จริง
ของตน
เป็นหน้าที่ของบุคคลที่จะเป็นผู้สร้าง
สารัตถะให้แก่ตนเองอย่างอิสระ
เมื่อคนได้สร้างสารัตถะให้แก่ตนเอง
ความรู้สึกว่างเปล่า / ไร้จุดหมาย / ชีวิตดุจ
เครื่องจักรก็จะหมดไป
La Nausee – the first novel
 Being >> สิ่ง (ที่มีอยู่) >> Being in itself ,
Being for itself
มนุษย์กับโลก
ความว่างเปล่า (Nothingness)
มนุษย์กับเสรีภาพ (Freedom)
ชีวิตมนุษย์ไร้สาระ (Absurdity)
ความผิดหวังของมนุษย์ (Despairation)
การถูกทอดทิ้ง (Abandonment) ความ
กระวนกระวายใจ (Anxiety) และการ
หลอกตัวเอง (Bad faith)
แนวคิดสำคัญของซำร์ต

 The main idea of Jean-Paul Sartre is that we
are, as humans, "condemned to be free.“
 Theory states: there is no creator
 Lives are formed using the example of the
paper-cutter
 Sartre says that if one considered a paper-
cutter, one would assume that the creator
would have had a plan for it: an essence.
Sartre is an atheistic
existentialist
 What consequences does not believing in
God have for the existentialist?
 Existence precedes essence – we are
born and then make ourselves through our
choices.
 As we chose for ourselves we choose for
all humankind … How so?
 Anguish/Folornness.
 The existentialist feels these because without
the existence of God s/he is alone

 จุดเริ่มต้นของปรำกฏกำรณ์วิทยำคือกำรไม่เห็นด้วยกับคำอธิบำยด้ำนเดียวของศำสตร์ต่ำงๆ ที่มุ่ง
อธิบำยโลกด้วยวิธีวิทยำบำงประเภทที่จะนำมำซึ่งข้ออธิบำยที่เป็น “สำกล” และ “เป็นกลำง”
 ควำมพยำยำมของปรำกฏกำรณ์วิทยำในเบื้องต้นคือกำรเรียกร้องเอำชีวิตของโลกกลับคืนมำสู่
ปรัชญำอีกครั้งหนึ่ง >> เอ็ดมันด์ ฮุสเซิร์ล ต้องกำรเรียกร้องโลกแห่งชีวิตกลับมำคือ...
 กำรอธิบำยโลกใหม่ด้วยประสบกำรณ์จำกมนุษย์ในฐำนะบุรุษที่หนึ่ง ควำมพยำยำมประกำรนี้
เรียกร้องให้เรำต้องตอบคำถำมเรื่องธรรมชำติของกำรสำนึก เพรำะกำรสำนึกถึงสิ่งต่ำงๆ สำมำรถ
เรียกร้องสิ่งที่เป็นชีวิตกลับมำได้ สิ่งเหล่ำนี้ได้แก่ “ประสบกำรณ์” ในควำมหมำยที่กว้ำงที่สุด อันหมำย
รวมถึง อำรมณ์ควำมรู้สึก จินตนำกำร ควำมฝัน ควำมหวัง ควำมเชื่อ เป็นต้น
 ธรรมชำติของสำนึก คือ กำรมุ่งควำมสนใจไปที่กำรพุ่งไปของเจตสำนึก (intentionality) กำรสำนึกไม่
จำเป็นต้องพุ่งไปที่สิ่งที่มีอยู่ในโลกกำยภำพเท่ำนั้น หำกแต่สำมำรถพุ่งไปสู่สิ่งที่มีอยู่ในจินตนำกำร
และควำมทรงจำด้วย กำรสำนึกในรูปแบบนี้เองที่ทำให้สิ่งที่เรำสำนึกมีควำมหมำยต่อเรำ และด้วย
เหตุนี้เอง ปรำกฏกำรณ์วิทยำเน้นเรื่องควำมหมำยเป็นแกนกลำงในกำรอธิบำยสำนึก
Phenomenology

 ปรำกฏกำรณ์วิทยำมุ่งเน้นศึกษำ “ประสบกำรณ์” ของมนุษย์ในฐำนะประธำนบุรุษที่หนึ่งที่หมำย
รวมจินตนำกำร ควำมฝัน อำรมณ์ ควำมรู้สึกร่วม ไว้กับควำมหมำยของประสบกำรณ์ด้วย
กำรศึกษำดังกล่ำวมุ่งเน้นไปที่สำนึกของมนุษย์ และกำรพุ่งไปของเจตสำนึก นี่เองคือจุดยืนของ
ปรำกฏกำรณ์วิทยำ
 ฌองปอล ซำร์ต (Jean-Paul Sartre, 1905-1980) เสนอใน Being and Nothingness (1992) ว่ำ
นอกจำกสำนึกจะพุ่งสู่สิ่งที่อยู่ภำยนอกสำนึกแล้ว สำนึกยังสำนึกตัวเองได้ด้วย ***กำรเสนอเช่นนี้
ส่งผลต่อวิธีคิดแบบปรำกฏกำรณ์วิทยำสองประเด็นใหญ่คือ
 เรื่องที่หนึ่ง คำว่ำ “ฉัน” กลำยเป็นเพียงฉำกอันต่อเนื่องของสำนึก ตัวฉันไม่มีแก่นแกนหรือแก่นสำร
แต่อย่ำงใด ฉันเป็นเพียง “ควำมว่ำงเปล่ำ” (néant หรือ nothingness) เท่ำนั้น ไม่มีจิตไม่มีแก่น
สำรใดๆ ทั้งสิ้น
 ซำร์ต พูดอย่ำงชัดเจนว่ำ ดำไซน์คือสัตที่สำมำรถ “กระชำก” ตนเองออกจำกสิ่งที่ตัวเองเป็น กำร
ดึงตัวเองในลักษณะดังกล่ำวทำให้เกิดช่วงว่ำงหรือ “ควำมว่ำงเปล่ำ” ทำงภววิทยำขึ้นระหว่ำงตัว
เรำที่เป็นอยู่และตัวเรำในอนำคต****
Phenomenology

 ซำร์ต *** ได้รับอิทธิพลโดยตรงจำก ไฮเดกเกอร์
ไฮเดกเกอร์ >> มองมนุษย์แบบสัตภำวะ คือ มองว่ำธรรมชำติมนุษย์คือกำรที่
มนุษย์มีควำมหมำยของชีวิตที่ปลำยเปิด ที่จะนิยำมตนเองให้เป็นสิ่งใดก็ได้
ซำร์ต กล่ำวว่ำ >> มนุษย์มองเห็นควำมว่ำงเปล่ำที่ปรำกฎผ่ำนกำรสำนึกตนเอง
เช่น นำย ก เป็นคนขี้เกียจ แต่ต่อมำก็สำนึกได้ว่ำ กำรเป็นคนขยันจะทำให้ตนเอง
มีอนำคต กำรสำนึกตนเองในลักษณะนี้ทำให้เกิดช่องว่ำงขึ้นระหว่ำง นำย ก ที่ขี้
เกียจกับนำย ก ที่มีอนำคต ซำร์ต มองเห็นช่องว่ำงตรงนี้และเรียกสิ่งนี้ว่ำควำม
ว่ำงเปล่ำอันเป็น “แก่นแกน” ของมนุษย์ และช่องว่ำงตรงนี้เองที่ทำให้มนุษย์มี
ภำวะปลำยเปิด

ประกำรต่อมำ >> “กำรสำนึกตัวเอง” แสดงว่ำ ควำมเป็นมนุษย์คืออิสรภำพ เพรำะ
อิสรภำพโดยตัวของมันเองไม่มีแก่นสำร >> ด้วยควำมสำมำรถของสำนึกที่มีต่อ
ตัวเอง มนุษย์สำมำรถนิยำมให้ค่ำตนเองได้อย่ำงอิสระไร้ขอบเขต
ประเด็นเรื่องควำมว่ำงเปล่ำและอิสรภำพแบบสัมบูรณ์นี่เอง ที่ทำให้ซำร์ต เรียกมนุษย์
ในฐำนะดำไซน์ว่ำสัตเพื่อตัวเอง (être pour-soi หรือ being-for-itself) โดยนิยำมว่ำ
สัตเพื่อตัวเองสำมำรถสำนึกตัวเองได้ คือ มีอิสระไร้ขอบเขตที่จะนิยำมตัวเองให้เป็น
อะไรก็ได้ด้วยควำมสำมำรถของสำนึก และเนื่องจำกสัตเพื่อตัวเองเป็นเพียง “ควำม
ว่ำงเปล่ำ” ดังนั้น สัตเพื่อตัวเองจึงเป็นสิ่งที่ตัวเองไม่เป็น และไม่เป็นสิ่งที่ตัวเองเป็น
สิ่งที่ตรงข้ำมกับสัตเพื่อตัวเองคือ สัตในตัวเอง (être en-soi หรือ being-in-itself) ที่
สำนึกตัวเองและโลกไม่ได้ นำเอำควำมว่ำงเปล่ำมำสู่มนุษย์ไม่ได้ เป็นสิ่งที่ตัวมันเอง
เป็น และไม่เป็นสิ่งที่ตัวมันเองไม่เป็น เช่น โต๊ะ เป็นสัตเพื่อตัวเองที่ไม่สำมำรถสำนึกได้
เป็นโต๊ะอยู่วันยังค่ำ และไม่สำมำรถเป็นสิ่งอื่นได้นอกจำกโต๊ะ

ซำร์ต ได้ตีควำมเรื่องภำวะของดำไซน์ของ
ไฮเดกเกอร์และนำมำใช้ในปรัชญำของตน
สำหรับไฮเดกเกอร์นั้น มนุษย์เป็นเพียงภำวะ ไม่มี
แก่นแกน แต่ซำร์ต ไปไกลว่ำในแง่ที่สำมำรถให้ค่ำ
“ภำวะ” (being) ว่ำเป็นอิสระแบบสัมบูรณ์ และสิ่ง
นี้คือ “แก่นแกน” ของควำมเป็นมนุษย์
ควำมว่ำงเปล่ำหรืออิสระแบบสัมบูรณ์ที่ซำร์ต
เสนอ >> เท่ำกับเป็นกำรบอกเป็นนัยยะว่ำมนุษย์
มีควำมสำมำรถที่จะ “ก้ำวข้ำม” (transcend)
ข้อจำกัดของตนเองได้อย่ำงไร้ข้อจำกัด
ขอบคุณข้อมูล จาก
http://www.parst.or.th/philospedia/phenomen
ology.html#6
 Being มี 2 ชนิด
1. สัตในตัวเอง (Being – in – itself) >> วัตถุทั้งหลาย ที่ไร้สานึก
เป็นสิ่งที่มีอยู่ แต่ไม่รู้ตัวว่ามีคุณค่าหรือประโยชน์อะไร มีลักษณะ
ตายตัว ปราศจากการเปลี่ยนแปลงและความเป็นไปได้ต่างๆ และ
ไม่มีเหตุผลในการมีอยู่
 2. สัตสาหรับตัวเอง (Being – for – itself) >> สิ่งที่มีอยู่ที่มีความ
สานึก >> สามารถกาหนดคุณค่าให้แก่ทุกสิ่งเพื่อตนเองได้ >>
มนุษย์
มนุษย์จึงเป็นสิ่งที่มีอยู่ที่แปลกเด่นไปกว่าสิ่งอื่น เพราะมีสานึก >>
การมีอยู่ของมนุษย์ จึงเรียก “อัตถิภาวนิยม” (Existence)
Being >> สิ่ง (ที่มีอยู่)
มนุษย์เป็นสิ่งที่สามารถกาหนดความหมายให้กับวัตถุได้
เมื่อมนุษย์มีเจตนารมณ์บางอย่าง มนุษย์ก็จะลงมือกระทา
กิจกรรม >> สิ่งที่อยู่รอบตัวมนุษย์ก็จะถูกแปลความหมายให้เป็น
เครื่องมือสนองการกระทาและเจตนารมณ์นั้นๆ
มนุษย์เป็นสิ่ง (Being) ที่สามารถกาหนดความหมายให้กับวัตถุได้
>> มนุษย์เป็นผู้สร้างโลกของตนเอง ตามเจตนารมณ์ของตน
สิ่งที่มีคุณค่า คือ สิ่งที่มีความหมาย และเราให้ความสนใจมันเท่า
นั้นเอง
มนุษย์กับโลก
มนุษย์ไม่มีธรรมชาติ หรือลักษณะใดๆ ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
เพราะไม่มีพระเจ้ามาออกแบบ สร้างสรรค์ให้มนุษย์
ลักษณะสาคัญของมนุษย์ คือ ความว่างเปล่า (Nothingness) หรือ
การไม่มีสภาวะเป็นจริง >> ธรรมชาติ หรือ สารัตถะของแต่ละ
บุคคลจะเกิดขึ้นพร้อมกับสิ่งที่มนุษย์ตัดสินใจเลือกกระทา
มนุษย์ คือ ความว่างเปล่า (Nothingness)
Folornness (ความสิ้นหวัง)
 "God does not exist and we must face all the
consequences."
 Why does this distress the existentialist?
 Because finding values in the "heaven of
ideas" disappears. (see Nietzsche)
 If existence precedes essence , we cannot
fall back on a fixed and given human nature.
There are no excuses.
 มนุษย์ถูกสาปให้มีเสรีภาพ >> มนุษย์ไม่ได้สร้างตัวเองขึ้น แต่
เขาก็มีเสรีภาพ >> ทันทีที่มนุษย์ถูกเหวี่ยงเข้ามาในโลก เขาคือ
ผู้รับผิดชอบทุกอย่างที่เขาทา
เสรีภาพคือธาตุแท้ของมนุษย์ >> มนุษย์มีทางเลือกเสมอ และมี
เสรีภาพที่จะปฏิเสธได้ >> ไม่มีที่ใด หรือในสถานการณ์ใดเลยที่
มนุษย์จะไม่มีเสรีภาพ
เสรีภาพทาให้มนุษย์ต้องเลือกไปตลอดชีวิต แม้จะเกิดความ
อ้างว้าง หว้าเหว่ โดดเดี่ยว ที่พึ่งพาหลักเกณฑ์ใดไม่ได้ แต่มนุษย์
ก็จะเป็นเสรีชนอย่างภาคภูมิ
มนุษย์กับเสรีภาพ (Freedom)

เสรีภาพต้องมาคู่กับความรับผิดชอบ >> มนุษย์ต้อง
รับผิดชอบกับทุกสิ่งที่เขาทา
การเลี่ยงความรับผิดชอบ หรือ ปฏิเสธเสรีภาพ ทาให้มนุษย์
เกิดความรู้สึก “หงุดหงิด” “เซ็ง” “เอียน” จิตใจอยู่ในสภาพ
“Alienation” (ความแปลกแยก) >> ทาให้ไม่เกิดความภูมิใจใน
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตน
นักปรัชญาอัตถิภาวนิยม เรียกร้องให้มนุษย์กลับมาสู่ตัวเอง
สู่เสรีภาพ สู่การสร้างสรรค์ตัวเองให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และ
มีศักดิ์ศรี แม้จะอ้างว้าง โดดเดี่ยวก็ต้องทน
Man is "condemned to be free"
 Why condemned? Why free?
 What is Sartre's view of failing to act?
 Hint: "man is nothing else than his plan."
 What can we count on?
 That which is in our power.
 There are no excuses outside ourselves
 “Love” equals a person's being in love
 “Genius” is nothing other than that
expressed in works of art.
"Culture" and freedom
 Some say we are determined by our culture.
How does Sartre respond?
 Man is free to determine his existence in
relation to the culture [culture is a condition,
not a characteristic]
 "There is a universality of man"; but it is not
given, it is being perpetually made."
 "I build the universal in choosing myself"

“มนุษย์มิใช่อะไรอื่น นอกจากผลิตผลที่
เขาสร้างขึ้นให้แก่ตัวเอง นั่นคือ หลัก
ข้อแรกของเอ็กซิสเท็นเชียลิสม์... คา
กล่าวนี้มิได้หมายความอื่นใด นอกจาก
ว่า เริ่มแรกก็มีชีวิตมนุษย์ขึ้นก่อน แล้ว
มนุษย์ก็หมุนไปสู่อนาคต เขาเป็นสิ่งที่รู้
สานึกตัวเอง และวาดภาพตัวเองใน
อนาคตได้...เขาไม่ใช่ตะไคร่น้า ขยะ
หรือ ดอกไม้ ไม่มีอะไรในสวรรค์ที่มีมา
ก่อนการมีชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึง
จะต้องเป็นสิ่งที่ตัวเขาเองวาดให้เป็น”

เสรีภาพไม่มีขอบเขตจากัด จริงหรือ?

เสรีภำพในกำรเลือก (1)
ควำมสำมำรถที่จะทำตำมกำรตัดสินใจ (2)
เสรีภำพในกำรเลือกนั้นอยู่ในขอบเขตของเรำเอง จึง
ไม่มีอะไรมำกีดกันได้ *** แต่ในทำงตรงกันข้ำม
ควำมสำเร็จที่จะทำตำมกำรตัดสินใจขึ้นอยู่กับปัจจัย
ต่ำงๆ นอกตัวเรำ
......ดังนั้น เสรีภำพที่จะทำได้ตำมควำมต้องกำรจึง
ต้องมีขอบเขตจำกัด ??
ชีวิตของมนุษย์ไร้สาระ ประหลาด
หรือ หาเหตุผลไม่ได้ (Absurdity)
การกระทาของมนุษย์ในแต่ละขณะ
ล้วนแต่เกิดจากการเลือกของมนุษย์
โดยไม่จาเป็นต้องมีสาเหตุมาจาก
ธรรมชาติภายในของมนุษย์หรือ
แม้แต่จุดหมาย
ดังนั้น การกระทาของมนุษย์จึงเป็น
อิสระอย่างแท้จริง จนอธิบายสาเหตุ
ไม่ได้ >> ทาเพราะอยากทา
ชีวิตมนุษย์ไร้สาระ (Absurdity)
มนุษย์มีความอยาก ความปรารถนา แต่สาหรับซาร์ต มนุษย์ไม่มีทาง
จะสมหวังได้เลย เพราะมนุษย์ต้องการสิ่งที่ขัดแย้งกับตัวเอง >> ความ
รักเป็นทุกข์ >> เพราะมนุษย์ต้องการสิ่งที่ขัดแย้งกันเอง คือ ต้องการ
ให้สิ่งที่ตนต้องการครอบครองนั้นมีเสรีภาพ และไม่มีเสรีภาพในเวลา
เดียวกัน >> ความรัก คือ การครอบครองเสรีชน ^__^
แม้มนุษย์จะมีเสรีภาพ แต่ในการเลือกของมนุษย์อาจไม่สมหวังไปทุก
อย่าง >> มนุษย์จึงมีความผิดหวังอยู่เสมอ และความทุกข์ก็มิอาจ
หลีกเลี่ยงได้ตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู่
เมื่อมีความตายเกิดขึ้นกับตน ก็หมายความว่า ความเป็นมนุษย์สิ้นสุด
ลงแล้ว ซึ่งเท่ากับว่าเขาไม่ต้องเลือก และไม่มีความผิดหวังอีกต่อไป
ความผิดหวังของมนุษย์
เมื่อมนุษย์มีเสรีภำพ >> มนุษย์สำมำรถ
เปลี่ยนแปลงตัวเอง และเปลี่ยนแปลงโลก
ด้วยกำรเลือกกระทำต่ำงๆ >> ทำให้เกิด
ควำมรับผิดชอบขึ้นมำกมำย >> ทำให้เกิด
ควำมทุกข์ และควำมกระวนกระวำยใจ
(Anxiety)
มนุษย์รู้สึกว่ำตัวเองถูกโยนเข้ำมำในโลก
และถูกพระเจ้ำทอดทิ้ง / ไม่มีเกณฑ์ศีลธรรม
ใดๆ เป็นหลักยึดได้อย่ำงแท้จริง
(Abandonment)
การถูกทอดทิ้ง (Abandonment)
ความกระวนกระวายใจ (Anxiety)
ในความคิดของซาร์ต >> มนุษย์จะต้อง
รับผิดชอบกับการสร้างโลกที่เขาเลือก
ขึ้นมา
การเลือกของมนุษย์คนหนึ่ง จะเกี่ยวข้อง
กับคนอื่นๆ ด้วย ในฐานะที่เป็นตัวอย่าง
การกระทาและเป็นพันธกิจของชีวิต
ดังนั้น มนุษย์จึงมีความรับผิดชอบทาง
สังคมรวมอยู่
การเลือกการกระทาต่างๆ ของคนแต่ละ
คนจะเกี่ยวข้องกับมวลมนุษย์โดยรวม
Being for the other

จำกสภำพเงื่อนไขของมนุษย์ >> มนุษย์ คือ
เสรีภำพ คือ ควำมว่ำงเปล่ำ และคือควำม
กังวลใจ >> ทำให้คนมีแนวโน้มที่จะหลอก
ตัวเอง หรือ Bad Faith
กำรมีชีวิตอยู่โดยกำรหลอกตัวเอง คือ กำร
สูญเสียตัวตนที่แท้จริงภำยในไป สูญเสีย
เสรีภำพ และสูญเสียควำมรับผิดชอบต่อกำร
เลือก
Bad Faith หมำยถึงกำรทำตัวเองให้เป็นวัตถุ
ไร้ชีวิตมำกกว่ำทำตัวให้เป็นคน หรือ ปัจเจก
ชน
การหลอกตัวเอง (Bad faith)
Two kinds of Humanism
1. Man as an end and a higher value:
 Value is assigned in relation to the best
that certain men have done.
 Sartre’s Critique: man isn't an "end",
because he is "always in the making"
2. Man as losing himself outside of himself.
Pursuing goals outside himself.
 Sartre believes that existentialism is
optimistic: a doctrine of action.
Man is not a "thing"
 Even the worst conditions do not render a man
inhuman.
 Everything that happens to me is mine
 To decide to be non-human is still MY
decision.. (Frankl - concentration camp)
 Example of war:
 If I am mobilized for war, it is MY war.
 "For lack of getting out of it, I have chosen it."
An example
 A young man in France during WWII is
faced with the choice of going to war or
staying with his grandmother who needs
him. He decides to go talk with a priest,
hoping the priest will make the choice for
him.
 What does Sartre say ?
 He has already made his choice by going to
the priest rather than a military official.
Absolute Freedom ,
that’s for dicision to
choose....??
Because of
abandonment
Is Sartre right?
• Are we entirely
responsible for
ourselves?
• What about nature
vs. nurture?
• Is there any inherent
meaning in life?
• Does our freedom to
choose really induce us
to take responsibility for
ourselves?
• If I know I’m going to
die in the end, why
should I bother to worry
about the effects of my
actions?
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 A. Madrid
 B. Paris
 C. Africa
 D. America
B
 A. Discipline
 B. Paper- Eater
 C. Paper- Cutter
 D. Paper-Trim
C
 A. Essence
 B. Existence
 C. Manipulation
 D. Being
A
 True
 False
TRUE
 A. Philosophy
 B. Consciousness
 C. Existentialism philosophy
 D. Naturism
C
 True
 False
FALSE, He believes that
man is a useless passion
 What is the name of Sartre’s novel????
La Nausée
 ปรัชญาอัตถิภาวนิยม เรียกร้องให้มนุษย์กลับมาสู่ตัวเอง สู่เสรีภาพ สู่การ
สร้างสรรค์ตัวเองให้เป็นมนุษย์ที่แท้อย่างมีศักดิ์ศรี ถึงแม้จะรู้สึกปวดร้าว หรือ
หว้าเหว่ โดดเดี่ยว ก็ต้องทน.... ถ้ามนุษย์เป็นเสรีชนอย่างภาคภูมิแล้ว มนุษย์ก็
ต้องยอมรับสภาพเช่นนี้....
 (นิพาดา เทวกุล)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม
1 sur 55

Contenu connexe

Tendances(20)

วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
สิ่งดีๆ เริ่มที่ใจ17.8K vues
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
นันทนา วงศ์สมิตกุล6.3K vues
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
โพธิ์ตะวัน ทีโยตระกูล242.1K vues
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
Wan Ngamwongwan37.6K vues
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
สำเร็จ นางสีคุณ30.7K vues

Similaire à ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)(20)

Osho WayOsho Way
Osho Way
Prapon Phasukyud902 vues
การไม ตัดสินใจการไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจ
Tanapat Tanakulpaisal266 vues
EditorstartEditorstart
Editorstart
ร้านกาแฟ คาเฟ่ เดอ322 vues
คนบ้าคนเมาคนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมา
Wat Thai Washington, D.C.779 vues

Plus de Padvee Academy(20)

Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy34.9K vues
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy3.5K vues
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
Padvee Academy21.8K vues

ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)

  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6. ซาร์ต เกิดที่ปารีสเมื่อ ค.ศ. 1905 บิดาเสียชีวิต ตั้งแต่เป็นทารก ได้รับการเลี้ยงดูจากแม่ ยาย และตา เป็นนักเขียนนวนิยาย, นักบทละคร, นัก ปรัชญา และผู้มีบทบาทสาคัญในแนวคิดอัตถิ ภาวนิยม (Existentialism) เป็นนักปรัชญาผู้ประกาศเสรีภาพของมนุษย์ใน แง่ปัจเจกชน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) แต่ไม่ยอมรับรางวัลดังกล่าว ซาร์ต คือ ใคร??
  • 7. ซาร์ต ชอบอ่านและชอบเขียนหนังสือตั้งแต่วัยเยาว์ >> อายุ 9 ขวบ คิด ว่าต้องเป็นนักเขียนเท่านั้นจึงจะมีชีวิตที่อมตะ “ฉันมีชีวิตอยู่ได้เพราะฉันเขียน ทาให้ฉันสามารถหนีพ้นจากพวกผู้ใหญ่ ทั้งหลายได้...” อายุ 12 ขวบ ละทิ้งความเชื่อเรื่องพระเจ้าโดยเด็ดขาด “ณ บัดดล พระองค์ลับตาไปในท้องฟ้าสีคราม แล้วก็หายไปโดยไม่ ชี้แจงอะไรเลย ข้าพเจ้าจึงพูดกับตัวเองอย่างสุภาพแกมงงงวยว่า พระ เจ้าไม่มีจริง ข้าพเจ้าถือเป็นการตัดสินใจขั้นเด็ดขาด” ซาร์ต คือ ใคร??
  • 8. ฌ็อง-ปอล ซาร์ต เข้ารับการศึกษาที่ เอโกล นอร์มาล ซูเปรีเยอร์ ระหว่างปี ค.ศ. 1924 – ค.ศ. 1929 เมื่อเรียนจบ ก็ได้เป็นอาจารย์สาขาปรัชญาที่ เลอ แอร์ฟ เมื่อปี ค.ศ. 1931 ระหว่างปี 1931 - 1945 ซาร์ตได้เป็นอาจารย์สอนปรัชญาหลายที่ รวมทั้งใน อังกฤษ และสุดท้ายก็กลับมาที่ปารีส เป็นทหารในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อปี 1939 ต่อมาถูกจับเป็นเชลยในค่าย กักกัน ปีถัดมาก็ได้รับการปลดปล่อย จึงมาร่วมตั้งหน่วยใต้ดินต่อต้าน เยอรมัน ช่วงเวลาที่สอนหนังสือนั้น ซาร์ตได้ตีพิมพ์หนังสือเรื่อง La Nausee, 1938 เป็นครั้งแรกที่ทาให้เขามีชื่อเสียง นวนิยายเรื่องนี้เขียนในรูปบันทึก ประจาวัน เล่าถึงความรู้สึกชิงชัง เมื่อเผชิญหน้ากับโลกของทางวัตถุ ไม่ เพียงแต่โลกของคนอื่นเท่านั้น แต่ยังเป็นการรับรู้ถึงตัวของเขาด้วย ซาร์ต คือ ใคร??
  • 9. ตั้งแต่ยังเป็นนักเรียน ซาร์ตเบื่อชีวิตตามแบบแผน และสังคมของชน ชั้นกลาง ต้องการแสวงหาอุดมการณ์ใหม่ที่เหมาะกับคนทุกคน ซาร์ตไม่พอใจกับปรัชญาแบบดั้งเดิมที่เต็มไปด้วยแนวคิดแบบ นามธรรม ที่ห่างไกลจากชีวิตที่แท้จริง ซาร์ตสนใจศึกษาปรัชญาของเอ็ดมัน ฮุสเซิร์ล (ปรากฏการณ์นิยม - Phenomenology), ไฮเดกเกอร์, อ่านงานของเกียกเกอการ์ด แนวคิดของซาร์ตเกิดเป็น “อัตถิภาวนิยมแบบปรากฏการณ์วิทยา” (Phenomenological existentialism) // “อัตถิภาวนิยมแบบอเทวะ” (atheistic existentialism) ซาร์ต คือ ใคร??
  • 10. เมื่อสงครามสงบ และฝรั่งเศสได้รับการปลดปล่อยจากนาซีเยอรมัน ซาร์ต ร่วมมือกับ กามูส์ (Albert Camus), โบวัวร์ (Simone de Beauvoir) และ นักเขียนคนอื่นๆ ออกนิตยสาร ที่ปลุกใจให้ประชาชนเสียสละผลประโยชน์ และความสุขส่วนตัวเพื่อสร้างสังคมให้น่าอยู่กว่าเดิม เรียกร้องให้ปรับปรุงสังคมตามแนวปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม >> มนุษย์ทั้ง โลกมีภาวะเหมือนกัน คือ ไม่มีสารัตถะ มีแต่ภาวะเสรี จึงอยู่ในความ รับผิดชอบของทุกคนที่จะให้คนแต่ละคนมีเสรีภาพอย่างแท้จริง ถือคติ >> “แต่ละคนมีส่วนรับผิดชอบในความเลวร้ายที่เขาไม่พยายาม ป้องกัน” (One is always responsible for what one does not try to prevent) สนับสนุนลัทธิมาร์กซิส แต่คิดว่าควรปรับปรุงความคิดของมาร์กบางประการ ให้เหมาะสมกับยุคสมัย ซาร์ต คือ ใคร??
  • 11.
  • 12.
  • 13. เรื่องราวการตั้งคาถามให้กับชีวิตของ โรก็องแต็ง...(ฉันมีชีวิตอยู่ไปเพื่ออะไร?) เขาคลื่นเหียนต่อชีวิตที่ซ้าซาก จาเจ ของพวกชนชั้นกลาง ที่ก้มหน้าทาในสิ่ง เดิมๆ โดยไม่เคยคิดถึงชีวิตแบบอื่นๆ >> พวกโง่ คนควรหันมาสารวจความรู้สึกที่แท้จริง ของตนเองว่าต้องการอะไร แล้ว ตัดสินใจทาสิ่งนั้นให้กับตัวเอง La Nausee – the first novel
  • 14. โรก็องแต็งเป็นตัวแทนของซาร์ต ได้ แสวงหาความหมายให้กับชีวิตของตนใหม่ โดยการเป็นคนเขียนหนังสือ การขจัดความไร้ความหมายของชีวิตก็คือ การรู้จักสารวจความรู้สึกของตนเอง และลง มือกระทากิจกรรมจากความรู้สึกที่แท้จริง ของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลที่จะเป็นผู้สร้าง สารัตถะให้แก่ตนเองอย่างอิสระ เมื่อคนได้สร้างสารัตถะให้แก่ตนเอง ความรู้สึกว่างเปล่า / ไร้จุดหมาย / ชีวิตดุจ เครื่องจักรก็จะหมดไป La Nausee – the first novel
  • 15.  Being >> สิ่ง (ที่มีอยู่) >> Being in itself , Being for itself มนุษย์กับโลก ความว่างเปล่า (Nothingness) มนุษย์กับเสรีภาพ (Freedom) ชีวิตมนุษย์ไร้สาระ (Absurdity) ความผิดหวังของมนุษย์ (Despairation) การถูกทอดทิ้ง (Abandonment) ความ กระวนกระวายใจ (Anxiety) และการ หลอกตัวเอง (Bad faith) แนวคิดสำคัญของซำร์ต
  • 16.
  • 17.  The main idea of Jean-Paul Sartre is that we are, as humans, "condemned to be free.“  Theory states: there is no creator  Lives are formed using the example of the paper-cutter  Sartre says that if one considered a paper- cutter, one would assume that the creator would have had a plan for it: an essence.
  • 18. Sartre is an atheistic existentialist  What consequences does not believing in God have for the existentialist?  Existence precedes essence – we are born and then make ourselves through our choices.  As we chose for ourselves we choose for all humankind … How so?  Anguish/Folornness.  The existentialist feels these because without the existence of God s/he is alone
  • 19.   จุดเริ่มต้นของปรำกฏกำรณ์วิทยำคือกำรไม่เห็นด้วยกับคำอธิบำยด้ำนเดียวของศำสตร์ต่ำงๆ ที่มุ่ง อธิบำยโลกด้วยวิธีวิทยำบำงประเภทที่จะนำมำซึ่งข้ออธิบำยที่เป็น “สำกล” และ “เป็นกลำง”  ควำมพยำยำมของปรำกฏกำรณ์วิทยำในเบื้องต้นคือกำรเรียกร้องเอำชีวิตของโลกกลับคืนมำสู่ ปรัชญำอีกครั้งหนึ่ง >> เอ็ดมันด์ ฮุสเซิร์ล ต้องกำรเรียกร้องโลกแห่งชีวิตกลับมำคือ...  กำรอธิบำยโลกใหม่ด้วยประสบกำรณ์จำกมนุษย์ในฐำนะบุรุษที่หนึ่ง ควำมพยำยำมประกำรนี้ เรียกร้องให้เรำต้องตอบคำถำมเรื่องธรรมชำติของกำรสำนึก เพรำะกำรสำนึกถึงสิ่งต่ำงๆ สำมำรถ เรียกร้องสิ่งที่เป็นชีวิตกลับมำได้ สิ่งเหล่ำนี้ได้แก่ “ประสบกำรณ์” ในควำมหมำยที่กว้ำงที่สุด อันหมำย รวมถึง อำรมณ์ควำมรู้สึก จินตนำกำร ควำมฝัน ควำมหวัง ควำมเชื่อ เป็นต้น  ธรรมชำติของสำนึก คือ กำรมุ่งควำมสนใจไปที่กำรพุ่งไปของเจตสำนึก (intentionality) กำรสำนึกไม่ จำเป็นต้องพุ่งไปที่สิ่งที่มีอยู่ในโลกกำยภำพเท่ำนั้น หำกแต่สำมำรถพุ่งไปสู่สิ่งที่มีอยู่ในจินตนำกำร และควำมทรงจำด้วย กำรสำนึกในรูปแบบนี้เองที่ทำให้สิ่งที่เรำสำนึกมีควำมหมำยต่อเรำ และด้วย เหตุนี้เอง ปรำกฏกำรณ์วิทยำเน้นเรื่องควำมหมำยเป็นแกนกลำงในกำรอธิบำยสำนึก Phenomenology
  • 20.   ปรำกฏกำรณ์วิทยำมุ่งเน้นศึกษำ “ประสบกำรณ์” ของมนุษย์ในฐำนะประธำนบุรุษที่หนึ่งที่หมำย รวมจินตนำกำร ควำมฝัน อำรมณ์ ควำมรู้สึกร่วม ไว้กับควำมหมำยของประสบกำรณ์ด้วย กำรศึกษำดังกล่ำวมุ่งเน้นไปที่สำนึกของมนุษย์ และกำรพุ่งไปของเจตสำนึก นี่เองคือจุดยืนของ ปรำกฏกำรณ์วิทยำ  ฌองปอล ซำร์ต (Jean-Paul Sartre, 1905-1980) เสนอใน Being and Nothingness (1992) ว่ำ นอกจำกสำนึกจะพุ่งสู่สิ่งที่อยู่ภำยนอกสำนึกแล้ว สำนึกยังสำนึกตัวเองได้ด้วย ***กำรเสนอเช่นนี้ ส่งผลต่อวิธีคิดแบบปรำกฏกำรณ์วิทยำสองประเด็นใหญ่คือ  เรื่องที่หนึ่ง คำว่ำ “ฉัน” กลำยเป็นเพียงฉำกอันต่อเนื่องของสำนึก ตัวฉันไม่มีแก่นแกนหรือแก่นสำร แต่อย่ำงใด ฉันเป็นเพียง “ควำมว่ำงเปล่ำ” (néant หรือ nothingness) เท่ำนั้น ไม่มีจิตไม่มีแก่น สำรใดๆ ทั้งสิ้น  ซำร์ต พูดอย่ำงชัดเจนว่ำ ดำไซน์คือสัตที่สำมำรถ “กระชำก” ตนเองออกจำกสิ่งที่ตัวเองเป็น กำร ดึงตัวเองในลักษณะดังกล่ำวทำให้เกิดช่วงว่ำงหรือ “ควำมว่ำงเปล่ำ” ทำงภววิทยำขึ้นระหว่ำงตัว เรำที่เป็นอยู่และตัวเรำในอนำคต**** Phenomenology
  • 21.   ซำร์ต *** ได้รับอิทธิพลโดยตรงจำก ไฮเดกเกอร์ ไฮเดกเกอร์ >> มองมนุษย์แบบสัตภำวะ คือ มองว่ำธรรมชำติมนุษย์คือกำรที่ มนุษย์มีควำมหมำยของชีวิตที่ปลำยเปิด ที่จะนิยำมตนเองให้เป็นสิ่งใดก็ได้ ซำร์ต กล่ำวว่ำ >> มนุษย์มองเห็นควำมว่ำงเปล่ำที่ปรำกฎผ่ำนกำรสำนึกตนเอง เช่น นำย ก เป็นคนขี้เกียจ แต่ต่อมำก็สำนึกได้ว่ำ กำรเป็นคนขยันจะทำให้ตนเอง มีอนำคต กำรสำนึกตนเองในลักษณะนี้ทำให้เกิดช่องว่ำงขึ้นระหว่ำง นำย ก ที่ขี้ เกียจกับนำย ก ที่มีอนำคต ซำร์ต มองเห็นช่องว่ำงตรงนี้และเรียกสิ่งนี้ว่ำควำม ว่ำงเปล่ำอันเป็น “แก่นแกน” ของมนุษย์ และช่องว่ำงตรงนี้เองที่ทำให้มนุษย์มี ภำวะปลำยเปิด
  • 22.  ประกำรต่อมำ >> “กำรสำนึกตัวเอง” แสดงว่ำ ควำมเป็นมนุษย์คืออิสรภำพ เพรำะ อิสรภำพโดยตัวของมันเองไม่มีแก่นสำร >> ด้วยควำมสำมำรถของสำนึกที่มีต่อ ตัวเอง มนุษย์สำมำรถนิยำมให้ค่ำตนเองได้อย่ำงอิสระไร้ขอบเขต ประเด็นเรื่องควำมว่ำงเปล่ำและอิสรภำพแบบสัมบูรณ์นี่เอง ที่ทำให้ซำร์ต เรียกมนุษย์ ในฐำนะดำไซน์ว่ำสัตเพื่อตัวเอง (être pour-soi หรือ being-for-itself) โดยนิยำมว่ำ สัตเพื่อตัวเองสำมำรถสำนึกตัวเองได้ คือ มีอิสระไร้ขอบเขตที่จะนิยำมตัวเองให้เป็น อะไรก็ได้ด้วยควำมสำมำรถของสำนึก และเนื่องจำกสัตเพื่อตัวเองเป็นเพียง “ควำม ว่ำงเปล่ำ” ดังนั้น สัตเพื่อตัวเองจึงเป็นสิ่งที่ตัวเองไม่เป็น และไม่เป็นสิ่งที่ตัวเองเป็น สิ่งที่ตรงข้ำมกับสัตเพื่อตัวเองคือ สัตในตัวเอง (être en-soi หรือ being-in-itself) ที่ สำนึกตัวเองและโลกไม่ได้ นำเอำควำมว่ำงเปล่ำมำสู่มนุษย์ไม่ได้ เป็นสิ่งที่ตัวมันเอง เป็น และไม่เป็นสิ่งที่ตัวมันเองไม่เป็น เช่น โต๊ะ เป็นสัตเพื่อตัวเองที่ไม่สำมำรถสำนึกได้ เป็นโต๊ะอยู่วันยังค่ำ และไม่สำมำรถเป็นสิ่งอื่นได้นอกจำกโต๊ะ
  • 23.  ซำร์ต ได้ตีควำมเรื่องภำวะของดำไซน์ของ ไฮเดกเกอร์และนำมำใช้ในปรัชญำของตน สำหรับไฮเดกเกอร์นั้น มนุษย์เป็นเพียงภำวะ ไม่มี แก่นแกน แต่ซำร์ต ไปไกลว่ำในแง่ที่สำมำรถให้ค่ำ “ภำวะ” (being) ว่ำเป็นอิสระแบบสัมบูรณ์ และสิ่ง นี้คือ “แก่นแกน” ของควำมเป็นมนุษย์ ควำมว่ำงเปล่ำหรืออิสระแบบสัมบูรณ์ที่ซำร์ต เสนอ >> เท่ำกับเป็นกำรบอกเป็นนัยยะว่ำมนุษย์ มีควำมสำมำรถที่จะ “ก้ำวข้ำม” (transcend) ข้อจำกัดของตนเองได้อย่ำงไร้ข้อจำกัด ขอบคุณข้อมูล จาก http://www.parst.or.th/philospedia/phenomen ology.html#6
  • 24.  Being มี 2 ชนิด 1. สัตในตัวเอง (Being – in – itself) >> วัตถุทั้งหลาย ที่ไร้สานึก เป็นสิ่งที่มีอยู่ แต่ไม่รู้ตัวว่ามีคุณค่าหรือประโยชน์อะไร มีลักษณะ ตายตัว ปราศจากการเปลี่ยนแปลงและความเป็นไปได้ต่างๆ และ ไม่มีเหตุผลในการมีอยู่  2. สัตสาหรับตัวเอง (Being – for – itself) >> สิ่งที่มีอยู่ที่มีความ สานึก >> สามารถกาหนดคุณค่าให้แก่ทุกสิ่งเพื่อตนเองได้ >> มนุษย์ มนุษย์จึงเป็นสิ่งที่มีอยู่ที่แปลกเด่นไปกว่าสิ่งอื่น เพราะมีสานึก >> การมีอยู่ของมนุษย์ จึงเรียก “อัตถิภาวนิยม” (Existence) Being >> สิ่ง (ที่มีอยู่)
  • 25. มนุษย์เป็นสิ่งที่สามารถกาหนดความหมายให้กับวัตถุได้ เมื่อมนุษย์มีเจตนารมณ์บางอย่าง มนุษย์ก็จะลงมือกระทา กิจกรรม >> สิ่งที่อยู่รอบตัวมนุษย์ก็จะถูกแปลความหมายให้เป็น เครื่องมือสนองการกระทาและเจตนารมณ์นั้นๆ มนุษย์เป็นสิ่ง (Being) ที่สามารถกาหนดความหมายให้กับวัตถุได้ >> มนุษย์เป็นผู้สร้างโลกของตนเอง ตามเจตนารมณ์ของตน สิ่งที่มีคุณค่า คือ สิ่งที่มีความหมาย และเราให้ความสนใจมันเท่า นั้นเอง มนุษย์กับโลก
  • 26. มนุษย์ไม่มีธรรมชาติ หรือลักษณะใดๆ ที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด เพราะไม่มีพระเจ้ามาออกแบบ สร้างสรรค์ให้มนุษย์ ลักษณะสาคัญของมนุษย์ คือ ความว่างเปล่า (Nothingness) หรือ การไม่มีสภาวะเป็นจริง >> ธรรมชาติ หรือ สารัตถะของแต่ละ บุคคลจะเกิดขึ้นพร้อมกับสิ่งที่มนุษย์ตัดสินใจเลือกกระทา มนุษย์ คือ ความว่างเปล่า (Nothingness)
  • 27. Folornness (ความสิ้นหวัง)  "God does not exist and we must face all the consequences."  Why does this distress the existentialist?  Because finding values in the "heaven of ideas" disappears. (see Nietzsche)  If existence precedes essence , we cannot fall back on a fixed and given human nature. There are no excuses.
  • 28.  มนุษย์ถูกสาปให้มีเสรีภาพ >> มนุษย์ไม่ได้สร้างตัวเองขึ้น แต่ เขาก็มีเสรีภาพ >> ทันทีที่มนุษย์ถูกเหวี่ยงเข้ามาในโลก เขาคือ ผู้รับผิดชอบทุกอย่างที่เขาทา เสรีภาพคือธาตุแท้ของมนุษย์ >> มนุษย์มีทางเลือกเสมอ และมี เสรีภาพที่จะปฏิเสธได้ >> ไม่มีที่ใด หรือในสถานการณ์ใดเลยที่ มนุษย์จะไม่มีเสรีภาพ เสรีภาพทาให้มนุษย์ต้องเลือกไปตลอดชีวิต แม้จะเกิดความ อ้างว้าง หว้าเหว่ โดดเดี่ยว ที่พึ่งพาหลักเกณฑ์ใดไม่ได้ แต่มนุษย์ ก็จะเป็นเสรีชนอย่างภาคภูมิ มนุษย์กับเสรีภาพ (Freedom)
  • 29.  เสรีภาพต้องมาคู่กับความรับผิดชอบ >> มนุษย์ต้อง รับผิดชอบกับทุกสิ่งที่เขาทา การเลี่ยงความรับผิดชอบ หรือ ปฏิเสธเสรีภาพ ทาให้มนุษย์ เกิดความรู้สึก “หงุดหงิด” “เซ็ง” “เอียน” จิตใจอยู่ในสภาพ “Alienation” (ความแปลกแยก) >> ทาให้ไม่เกิดความภูมิใจใน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของตน นักปรัชญาอัตถิภาวนิยม เรียกร้องให้มนุษย์กลับมาสู่ตัวเอง สู่เสรีภาพ สู่การสร้างสรรค์ตัวเองให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์และ มีศักดิ์ศรี แม้จะอ้างว้าง โดดเดี่ยวก็ต้องทน
  • 30. Man is "condemned to be free"  Why condemned? Why free?  What is Sartre's view of failing to act?  Hint: "man is nothing else than his plan."  What can we count on?  That which is in our power.  There are no excuses outside ourselves  “Love” equals a person's being in love  “Genius” is nothing other than that expressed in works of art.
  • 31. "Culture" and freedom  Some say we are determined by our culture. How does Sartre respond?  Man is free to determine his existence in relation to the culture [culture is a condition, not a characteristic]  "There is a universality of man"; but it is not given, it is being perpetually made."  "I build the universal in choosing myself"
  • 32.  “มนุษย์มิใช่อะไรอื่น นอกจากผลิตผลที่ เขาสร้างขึ้นให้แก่ตัวเอง นั่นคือ หลัก ข้อแรกของเอ็กซิสเท็นเชียลิสม์... คา กล่าวนี้มิได้หมายความอื่นใด นอกจาก ว่า เริ่มแรกก็มีชีวิตมนุษย์ขึ้นก่อน แล้ว มนุษย์ก็หมุนไปสู่อนาคต เขาเป็นสิ่งที่รู้ สานึกตัวเอง และวาดภาพตัวเองใน อนาคตได้...เขาไม่ใช่ตะไคร่น้า ขยะ หรือ ดอกไม้ ไม่มีอะไรในสวรรค์ที่มีมา ก่อนการมีชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึง จะต้องเป็นสิ่งที่ตัวเขาเองวาดให้เป็น”
  • 34.  เสรีภำพในกำรเลือก (1) ควำมสำมำรถที่จะทำตำมกำรตัดสินใจ (2) เสรีภำพในกำรเลือกนั้นอยู่ในขอบเขตของเรำเอง จึง ไม่มีอะไรมำกีดกันได้ *** แต่ในทำงตรงกันข้ำม ควำมสำเร็จที่จะทำตำมกำรตัดสินใจขึ้นอยู่กับปัจจัย ต่ำงๆ นอกตัวเรำ ......ดังนั้น เสรีภำพที่จะทำได้ตำมควำมต้องกำรจึง ต้องมีขอบเขตจำกัด ??
  • 35. ชีวิตของมนุษย์ไร้สาระ ประหลาด หรือ หาเหตุผลไม่ได้ (Absurdity) การกระทาของมนุษย์ในแต่ละขณะ ล้วนแต่เกิดจากการเลือกของมนุษย์ โดยไม่จาเป็นต้องมีสาเหตุมาจาก ธรรมชาติภายในของมนุษย์หรือ แม้แต่จุดหมาย ดังนั้น การกระทาของมนุษย์จึงเป็น อิสระอย่างแท้จริง จนอธิบายสาเหตุ ไม่ได้ >> ทาเพราะอยากทา ชีวิตมนุษย์ไร้สาระ (Absurdity)
  • 36. มนุษย์มีความอยาก ความปรารถนา แต่สาหรับซาร์ต มนุษย์ไม่มีทาง จะสมหวังได้เลย เพราะมนุษย์ต้องการสิ่งที่ขัดแย้งกับตัวเอง >> ความ รักเป็นทุกข์ >> เพราะมนุษย์ต้องการสิ่งที่ขัดแย้งกันเอง คือ ต้องการ ให้สิ่งที่ตนต้องการครอบครองนั้นมีเสรีภาพ และไม่มีเสรีภาพในเวลา เดียวกัน >> ความรัก คือ การครอบครองเสรีชน ^__^ แม้มนุษย์จะมีเสรีภาพ แต่ในการเลือกของมนุษย์อาจไม่สมหวังไปทุก อย่าง >> มนุษย์จึงมีความผิดหวังอยู่เสมอ และความทุกข์ก็มิอาจ หลีกเลี่ยงได้ตราบใดที่ยังมีชีวิตอยู่ เมื่อมีความตายเกิดขึ้นกับตน ก็หมายความว่า ความเป็นมนุษย์สิ้นสุด ลงแล้ว ซึ่งเท่ากับว่าเขาไม่ต้องเลือก และไม่มีความผิดหวังอีกต่อไป ความผิดหวังของมนุษย์
  • 37. เมื่อมนุษย์มีเสรีภำพ >> มนุษย์สำมำรถ เปลี่ยนแปลงตัวเอง และเปลี่ยนแปลงโลก ด้วยกำรเลือกกระทำต่ำงๆ >> ทำให้เกิด ควำมรับผิดชอบขึ้นมำกมำย >> ทำให้เกิด ควำมทุกข์ และควำมกระวนกระวำยใจ (Anxiety) มนุษย์รู้สึกว่ำตัวเองถูกโยนเข้ำมำในโลก และถูกพระเจ้ำทอดทิ้ง / ไม่มีเกณฑ์ศีลธรรม ใดๆ เป็นหลักยึดได้อย่ำงแท้จริง (Abandonment) การถูกทอดทิ้ง (Abandonment) ความกระวนกระวายใจ (Anxiety)
  • 38. ในความคิดของซาร์ต >> มนุษย์จะต้อง รับผิดชอบกับการสร้างโลกที่เขาเลือก ขึ้นมา การเลือกของมนุษย์คนหนึ่ง จะเกี่ยวข้อง กับคนอื่นๆ ด้วย ในฐานะที่เป็นตัวอย่าง การกระทาและเป็นพันธกิจของชีวิต ดังนั้น มนุษย์จึงมีความรับผิดชอบทาง สังคมรวมอยู่ การเลือกการกระทาต่างๆ ของคนแต่ละ คนจะเกี่ยวข้องกับมวลมนุษย์โดยรวม Being for the other
  • 39.  จำกสภำพเงื่อนไขของมนุษย์ >> มนุษย์ คือ เสรีภำพ คือ ควำมว่ำงเปล่ำ และคือควำม กังวลใจ >> ทำให้คนมีแนวโน้มที่จะหลอก ตัวเอง หรือ Bad Faith กำรมีชีวิตอยู่โดยกำรหลอกตัวเอง คือ กำร สูญเสียตัวตนที่แท้จริงภำยในไป สูญเสีย เสรีภำพ และสูญเสียควำมรับผิดชอบต่อกำร เลือก Bad Faith หมำยถึงกำรทำตัวเองให้เป็นวัตถุ ไร้ชีวิตมำกกว่ำทำตัวให้เป็นคน หรือ ปัจเจก ชน การหลอกตัวเอง (Bad faith)
  • 40. Two kinds of Humanism 1. Man as an end and a higher value:  Value is assigned in relation to the best that certain men have done.  Sartre’s Critique: man isn't an "end", because he is "always in the making" 2. Man as losing himself outside of himself. Pursuing goals outside himself.  Sartre believes that existentialism is optimistic: a doctrine of action.
  • 41. Man is not a "thing"  Even the worst conditions do not render a man inhuman.  Everything that happens to me is mine  To decide to be non-human is still MY decision.. (Frankl - concentration camp)  Example of war:  If I am mobilized for war, it is MY war.  "For lack of getting out of it, I have chosen it."
  • 42. An example  A young man in France during WWII is faced with the choice of going to war or staying with his grandmother who needs him. He decides to go talk with a priest, hoping the priest will make the choice for him.  What does Sartre say ?  He has already made his choice by going to the priest rather than a military official.
  • 43. Absolute Freedom , that’s for dicision to choose....?? Because of abandonment
  • 44. Is Sartre right? • Are we entirely responsible for ourselves? • What about nature vs. nurture? • Is there any inherent meaning in life? • Does our freedom to choose really induce us to take responsibility for ourselves? • If I know I’m going to die in the end, why should I bother to worry about the effects of my actions?
  • 46.  A. Madrid  B. Paris  C. Africa  D. America B
  • 47.  A. Discipline  B. Paper- Eater  C. Paper- Cutter  D. Paper-Trim C
  • 48.  A. Essence  B. Existence  C. Manipulation  D. Being A
  • 50.  A. Philosophy  B. Consciousness  C. Existentialism philosophy  D. Naturism C
  • 51.  True  False FALSE, He believes that man is a useless passion
  • 52.  What is the name of Sartre’s novel???? La Nausée
  • 53.  ปรัชญาอัตถิภาวนิยม เรียกร้องให้มนุษย์กลับมาสู่ตัวเอง สู่เสรีภาพ สู่การ สร้างสรรค์ตัวเองให้เป็นมนุษย์ที่แท้อย่างมีศักดิ์ศรี ถึงแม้จะรู้สึกปวดร้าว หรือ หว้าเหว่ โดดเดี่ยว ก็ต้องทน.... ถ้ามนุษย์เป็นเสรีชนอย่างภาคภูมิแล้ว มนุษย์ก็ ต้องยอมรับสภาพเช่นนี้....  (นิพาดา เทวกุล)