SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
หลักธรรมะสำหรับนักศึกษำ
2
เรื่องรักๆ อย่ำรีบร้อน
“อันเงินงาน การศึกษา หาเสียก่อน
อย่ารีบร้อนไปหารัก งานจักเสีย
ถ้าขาดเงิน ขาดงาน พาลขาดเมีย
เพื่อนก็เขี่ย แฟนก็จาก รักก็จร”
3
ชีวิตที่ก้ำวหน้ำและสำเร็จ
ผู้ที่ต้องกำรดำเนินชีวิตให้เจริญก้ำวหน้ำประสบควำมสำเร็จไม่ว่ำจะ
ด้ำนกำรศึกษำ หรืออำชีพก็ตำม พึงปฏิบัติตำมหลักต่อไปนี้
4
ก. หลักควำมเจริญ จักร ๔
คือกำรปฏิบัติตำมหลักธรรม ที่จะนำไปสู่ควำมเจริญรุ่งเรือง
ที่เรียกว่ำ จักร (ธรรมประดุจล้อทั้งสี่ที่นารถไปสู่จุดหมาย)
ซึ่งมี ๔ ข้อ คือ
5
จักร ๔
๑) เลือกถิ่นที่เหมาะ คือหำถิ่นที่อยู่ หรือ แหล่งเล่ำเรียนดำเนินชีวิตที่
ดี ซึ่งมีบุคคลและสิ่งแวดล้อมที่อำนวยแก่กำรศึกษำพัฒนำชีวิต กำร
แสวงธรรมหำควำมรู้ กำรสร้ำงควำมดีงำม และควำมเจริญก้ำวหน้ำ
6
จักร ๔
๒) เสาะเสวนาคนดี คือ รู้จักเสวนำคบหำ หรือร่วมหมู่กับบุคคลผู้รู้ ผู้
ทรงคุณ และผู้ที่จะเกื้อกูลแก่กำรแสวงหำควำมรู้ ควำมก้ำวหน้ำงอกงำม
และควำมเจริญโดยธรรม
7
จักร ๔
๓) ตั้งตนไว้ถูกวิถี คือ ดำรงตนมั่นอยู่ในธรรมและทำงดำเนินชีวิตที่
ถูกต้อง ตั้งเป้ ำหมำยชีวิตและกำรงำนให้ดีงำมแน่ชัด และนำตนไปถูก
ทำงสู่จุดหมำย แน่วแน่ มั่นคง ไม่พร่ำสำย ไม่เถลไถล
8
จักร ๔
๔) มีทุนดีได้เตรียมไว้ ทุนดีส่วนที่หนึ่ง คือควำมมีสติปัญญำ ควำม
ถนัด และร่ำงกำยดี เป็นต้น ที่เป็นพื้นมำแต่เดิม และอีกส่วนหนึ่ง คือ
อำศัยพื้นเดิมเท่ำที่ตัวมีอยู่ รู้จักแก้ไขปรับปรุงตน ศึกษำหำควำมรู้สร้ำง
เสริมคุณสมบัติ ควำมดีงำม ฝึกให้ชำนิชำนำญ สร้ำงสรรค์ประโยชน์สุข
และก้ำวสู่ควำมเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป
9
ข. หลักควำมสำเร็จ
คือกำรปฏิบัติตำมหลักธรรม ที่จะนำไปสู่ควำมสำเร็จแห่งกิจกำร
นั้นๆ ที่เรียกว่ำ อิทธิบาท (ธรรมให้ถึงความสาเร็จ) ซึ่งมี ๔ ข้อคือ
10
อิทธิบำท ๔
๑) ฉันทะ มีใจรัก คือ พอใจจะทำสิ่งนั้น และทำด้วยใจรัก ต้องกำรทำ
ให้เป็นผลสำเร็จอย่ำงดี แห่งกิจกำรงำนที่ทำ มิใช่สักว่ำทำพอให้เสร็จ
หรือเพรำะอยำกได้รำงวัลหรือกำไร
11
อิทธิบำท ๔
๒) วิริยะ พากเพียรทา คือ ขยันหมั่นประกอบ หมั่นกระทำสิ่งนั้นด้วย
ควำมพยำยำม เข้มแข็ง อดทน เอำธุระ ไม่ทอดทิ้ง ไม่ท้อถอย ก้ำวไป
ข้ำงหน้ำจนกว่ำจะสำเร็จ
ฝนทั่งให้เป็นเข็ม
15
สู้ไม่ถอย
“อันวิชา มีมาก หลากชนิด
ถ้าเรียนนิด รู้หน่อย แล้วถอยหลัง
รู้อะไร หลายสิ่ง ไม่จริงจัง
ทาได้ดัง ฝูงเป็ด เกร็ดวิชา”
“เช่นจะขัน ขันได้ ไม่เหมือนไก่
จะบินได้ ก็ไม่ทัน พันธุ์ปักษา
จะว่ายน้า ก็ไม่ทัน กับพันธุ์ปลา
เหมือนวิชา เรียนไว้ ไม่รู้จริง”
17
อิทธิบำท ๔
๓) จิตตะ เอาจิตฝักใฝ่ คือตั้งจิตรับรู้ในสิ่งที่ทำ และทำสิ่งนั้นด้วย
ควำมคิด ไม่ปล่อยจิตใจให้ฟุ้ งซ่ำนเลื่อนลอย ใช้ควำมคิดในเรื่องนั้น
บ่อยๆ เสมอๆ ทำกิจหรือกำรงำนนั้นอย่ำงอุทิศตัวอุทิศใจ
18
อิทธิบำท ๔
๔) วิมังสำ ใช้ปัญญาสอบสวน คือ หมั่นใช้ปัญญำพิจำรณำใคร่ครวญ
ตรวจหำเหตุผล และตรวจสอบข้อยิ่งหย่อนเกินเลยบกพร่องขัดข้องเป็น
ต้น ในสิ่งที่ทำนั้น โดยรู้จักทดลอง วำงแผน คิดแก้ไขปรับปรุง เพื่อ
จัดกำรและดำเนินงำนนั้นให้ได้ผลดียิ่งขึ้นไป
19
คนที่เล่ำเรียนศึกษำ จะเป็นนักเรียน นักศึกษำ หรือนัก
ค้นคว้ำ ก็ตำม นอกจำกจะพึงปฏิบัติตำมหลักธรรมสำหรับคน
ที่จะประสบควำมสำเร็จ คือ จักร ๔ และอิทธิบำท ๔ แล้ว ยังมี
หลักกำรที่ควรรู้ และหลักปฏิบัติที่ควรประพฤติอีกดังต่อไปนี้
20
ก. รู้หลักบุพภำคของกำรศึกษำ
คือ รู้จักองค์ประกอบที่เป็น ปัจจัยแห่งสัมมำทิฏฐิ ๒ ประกำร
๑) องค์ประกอบภำยนอกที่ดีได้แก่ มีกัลยาณมิตร
๒) องค์ประกอบภำยในที่ดีได้แก่ โยนิโสมนสิการ
21
ก. รู้หลักบุพภำคของกำรศึกษำ
มีกัลยำณมิตร หมำยถึง รู้จักหำผู้แนะนำสั่งสอน ที่ปรึกษำ เพื่อน
หนังสือ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมทำงสังคม ที่ดี ที่เกื้อกูล กระต้นให้เกิด
ปัญญำ ตลอดจนรู้จักเลือกใช้สื่อมวลชนให้เป็นประโยชน์
22
ก. รู้หลักบุพภำคของกำรศึกษำ
โยนิโสมนสิกำร หมำยถึง กำรใช้ควำมคิดถูกวิธี รู้จักคิด หรือคิดเป็น
คือ มองสิ่งทั้งหลำยด้วยควำมพิจำรณำสืบสำวหำเหตุผล แยกแยะสิ่ง
นั้นๆ ออกให้เห็นตำมสภำวะและตำมควำมสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย จน
เข้ำถึงควำมจริง และแก้ปัญหำหรือทำประโยชน์ให้เกิดขึ้นได้
23
วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิกำร
๑) คิดอะไรก็ให้มีวิธีคิด
๒) ตั้งดวงจิตแน่วแน่ไม่แปรผัน
๓) ใช้เหตุผลแก้ปัญหาสารพัน
๔) ต้องใจมั่นตามครรลองมองแง่ดี
24
ควำมศรัทธำเป็นรุ่งอรุณแห่งกำรศึกษำ
เมื่อจิตอ่อนโยนมีศรัทธำย่อมพร้อมที่จะพัฒนำไป
ตำมลำดับ ที่พระพุทธเจ้ำเรียกว่ำ อนุบุพพสิกขา หรือ
“แสงเงินแสงทองของชีวิตที่ดีงาม”
คือกำรเรียนไปตำมลำดับ ๗ ขั้น ดังนี้
25
แสงเงินแสงทองของชีวิตที่ดีงำม
๑) มีศรัทธำแล้วเข้ำไปหำอำจำรย์
๒) ศึกษำคำสอนของท่ำน
๓) จดจำเรื่องที่ศึกษำ
๔) พิจำรณำควำมหมำยของคำที่จดจำมำนั้น
๕) เกิดควำมเข้ำใจเพรำะเห็นควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงกันเป็นระบบ
๖) เกิดฉันทะ คือ ควำมพอใจ กำรศึกษำต้องสร้ำงฉันทะนี้ให้ได้
๗) อุตสำหะ คือรับไปปฏิบัติ
26
ค. ทำตำมหลักเสริมสร้ำงปัญญำ
วุฒิธรรม ๔ หลักสร้ำงควำมเจริญงอกงำมแห่งปัญญำ
๑) เสวนาผู้รู้ คือ รู้จักเลือกหำแหล่งวิชำ
คบหำท่ำนผู้รู้ ผู้ทรงคุณควำมดี มีภูมิธรรมภูมิปัญญำน่ำนับถือ
27
วุฒิธรรม ๔
๒) ฟังดูคาสอน คือ เอำใจใส่สดับตรับฟังคำบรรยำย คำแนะนำสั่ง
สอน แสวงหำควำมรู้ ทั้งจำกตัวบุคคล และจำกหนังสือ
28
วุฒิธรรม ๔
๓) คิดให้แยบคาย คือ รู้ เห็นได้อ่ำน ได้ฟังสิ่งใด ก็รู้จัก คิด
พิจำรณำด้วยตนเอง โดยแยกแยะให้เห็นสภำวะและสืบสำวให้เห็น
เหตุผล
29
วุฒิธรรม ๔
๔) ปฏิบัติให้ถูกหลัก นำสิ่งที่ได้เล่ำเรียนรับฟังและตริตรองเห็นชัด
แล้ว ไปปฏิบัติหรือลงมือทำ ให้ถูกต้องตำมหลักตำมควำมมุ่งหมำย
30
ง. ศึกษำให้เป็นพหูสูต
คือจะศึกเล่ำเรียนอะไร ก็ทำตนให้เป็นพหูสูตในด้ำนนั้น
ด้วยกำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจให้แจ่มแจ้งชัดเจนถึงขั้นครบ
องค์คุณของพหูสูต (ผู้ได้เรียนมาก หรือ ผู้คงแก่เรียน)
๕ ประกำร คือ
31
องค์คุณของพหูสูต ๕
๑) ฟังมาก คือ เล่ำเรียนสดับฟัง รู้เห็น อ่ำน สั่งสม ควำมรู้ ในด้ำน
นั้นไว้ให้มำกมำยกว้ำงขวำง
32
องค์คุณของพหูสูต ๕
๒) จาได้ คือ จับหลักหรือสำระได้ ท่องจำเรื่องรำวหรือเนื้อหำสำระ
ไว้ได้แม่นยำ
33
วิธีเรียนดี
“จำขึ้นใจ ในวิชำ ดีกว่ำจด
จำไม่หมด จดไว้ดู เป็นครูสอน
ทั้งจดจำ ทำวิชำ ให้ถำวร
อย่ำนิ่งนอน รีบจำ หมั่นทำเอย”
34
องค์คุณของพหูสูต ๕
๓) คล่องปาก คือ ท่องบ่น หรือใช้พูดอยู่เสมอ
จนแคล่วคล่องจัดเจน ใครสอบถำมก็พูดชี้แจงแถลงได้
35
องค์คุณของพหูสูต ๕
๔) เจนใจ คือ ใส่ใจนึกคิดจนเจนใจ นึกถึงครั้งใด ก็ปรำกฏ
เนื้อควำมสว่ำงชัดเจน มองเห็นโล่งตลอดไปทั้งเรื่อง
36
องค์คุณของพหูสูต ๕
๕) ขบได้ด้วยทฤษฎี คือ เข้ำใจควำมหมำยและเหตุผลแจ่มแจ้ง
ลึกซึ้ง รู้ที่ไปที่มำ และควำมสัมพันธ์ของเนื้อควำม
37
ถ้ำหมั่นเรียน
“ถ้าหมั่นเรียน เรียนอะไร ก็ต้องรู้
ถ้าหมั่นดู ดูอะไร ก็ต้องเห็น
ถ้าหมั่นทา ทาอะไร ก็ต้องเป็น
ถ้าไม่เล่น หมั่นแต่ทา จักจาเริญ”
38
ถ้ำเกียจคร้ำน
“ถ้าคร้านเกียจ เรียนอะไร ก็ไม่รู้
ถ้าคร้านดู ดูอะไร ก็ไม่เห็น
ถ้าคร้านทา ทาอะไร ก็ไม่เป็น
ต้องลาเค็ญ เป็นขอทาน เพราะคร้านเอย”
39
องค์คุณของพหูสูต ๕
ฟังมาก
จาได้
คล่องปาก
เจนใจ
ขบได้ด้วยทฤษฎี
40
คุณธรรมพื้นฐำน คือ ควำมกตัญญูกตเวที
กตเวที = ตอบแทนคุณ
กตัญญู = รู้คุณ
41
จดหมำยถึงลูก
“พ่อแม่ไม่มี เงินทอง จะกองให้
จงตั้งใจ พากเพียร เรียนหนังสือ
หาวิชา ความรู้ เป็นคู่มือ
เพื่อยึดถือ เอาไว้ ใช้เลี้ยงกาย
พ่อกับแม่ มีแต่ จะแก่เฒ่า
จะเลี้ยงเจ้า เรื่อยไป นั้นอย่าหมาย
ใช้วิชา ช่วยตน ไปจนตาย
เจ้าสบาย แม่กับพ่อ ก็ชื่นใจ”
กตัญญูกตเวทีต่อ พ่อแม่
42
หน้ำที่บุตรที่ดี
“อันลูกดี มีองค์ห้า ท่านว่าไว้
๑. เอาใจใส่ บารุงเลี้ยง พ่อแม่ตน
๒. พึงขวนขวาย ช่วยทางาน ทุกแห่งหน
๓. รีบสร้างตน เป็นคนดี ในสกุล
๔. ช่วยรักษา สมบัติท่าน ที่ให้ไว้
๕. ส่งผลบุญ ไปให้ เมื่อท่านสูญ
สมบัติ คือหน้าที่ ลูกเพิ่มพูน
ไม่เสื่อมสูญ หมั่นทาไว้ ได้เจริญ”
43
ลด ละ เลิก อบำยมุข ๖ ผีร้ำย
ผีที่หนึ่ง ชอบสุรา เป็นอาจิณ
ไม่ชอบกิน ข้าวปลา เป็นอาหาร
ผีที่สอง ชอบเที่ยว ยามวิกาล
ไม่รักบ้าน รักลูก รักเมียตน
44
ลด ละ เลิก อบำยมุข ๖ ผีร้ำย
ผีที่สำม ชอบดู กำรละเล่น
ไม่ละเว้น บาร์คลับ ละครโขน
ผีที่สี่ คบคนชั่ว มั่วกับโจร
หนีไม่พ้น อาญา ตราแผ่นดิน
45
ลด ละ เลิก อบำยมุข ๖ ผีร้ำย
ผีที่ห้ำ ชอบเล่นม้ำ กีฬำบัตร
สารพัด ถั่วโป ไฮโลสิ้น
ผีที่หก เกียจคร้าน การทากิน
มีทั้งสิ้น หกผี อัปรีย์เอย
46
กตัญญูกตเวทีต่อ พ่อแม่
47ไม้เท้ำคนเฒ่ำ ยังดีกว่ำ ลูกเต้ำอกตัญญู
“มีไม้เท้า ใช้ยัน ยุดกันร่าง
คลาหาทาง แกว่งกวัด สัตว์ร้ายหนี
ป้ องกันตัว ติดตน ผลทวี
ดีกว่ามี ลูกรั้น อกตัญญู”
48
กตัญญูกตเวทีต่อ ครูอาจารย์
“ศรต้องมีพิษ ศิษย์ต้องมีครู
ศิษย์มีครู เหมือนงูมีพิษ
ศิษย์ไม่มีครู เหมือนงูไม่มีพิษ
ศิษย์ดีต้องมีคุณธรรม ศิษย์ไม่ได้ความ คุณธรรมไม่มี”
49
กตัญญูกตเวทีต่อ ครูอาจารย์
“พระคุณที่สำม งดงำมแจ่มใส แต่ว่ำใครหนอใคร
เปรียบเปรยครูไว้ว่ำเป็นเรือจ้ำง
พลำดจำกควำมจริง ยิ่งเห็นว่ำผิดทำง
มีใครไหนบ้ำงแนะนำแนวทำงอย่ำงครู
บุญเคยทำมำแต่งปำงใด ใดเรำยกให้ท่ำน
ตั้งใจกรำบกรำน ระลึกคุณท่ำนกตัญญู
โรคและภัยอย่ำหมำยแผ้วพำนคุณครู
ขอกุศลผลบุญค้ำชู ให้ครูเป็นสุขชั่วนิรันดร์..”
50
หน้าที่ของศิษย์ที่ดี
๑) ต้องมีความเคารพ
๒) คบการศึกษา
๓) กล้ารับความผิด
๔) คิดช่วยครู
๕) กตัญญูต่อสถาบัน
ในหลวงของเรา
มหากษัตริย์ยอดกตัญญู
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)Padvee Academy
 
นาย มนตรี นวลสม
นาย มนตรี  นวลสมนาย มนตรี  นวลสม
นาย มนตรี นวลสมA'waken B'Benz
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55Decode Ac
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 

What's hot (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
 
นาย มนตรี นวลสม
นาย มนตรี  นวลสมนาย มนตรี  นวลสม
นาย มนตรี นวลสม
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55บทที่ 9 การศึกษารายกรณี  55
บทที่ 9 การศึกษารายกรณี 55
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 

Viewers also liked

ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลPadvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์Padvee Academy
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโลPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานPadvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 

Similar to ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม

Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนKasem S. Mcu
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 

Similar to ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม (20)

Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม