Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité

Consultez-les par la suite

1 sur 28 Publicité

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน

ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
กรรมฐาน หมายถึง ที่ตั้งแห่งการงาน อารมณ์เป็นที่ตั้งของการงานทางใจ หลักการฝึกหัดอบรมใจให้หลุดพ้นจากอำนาจของความทุกข์ อุบายวิธีสำหรับฝึกหัดอบรมใจ แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน

ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
กรรมฐาน หมายถึง ที่ตั้งแห่งการงาน อารมณ์เป็นที่ตั้งของการงานทางใจ หลักการฝึกหัดอบรมใจให้หลุดพ้นจากอำนาจของความทุกข์ อุบายวิธีสำหรับฝึกหัดอบรมใจ แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน

Publicité
Publicité

Plus De Contenu Connexe

Diaporamas pour vous (20)

Les utilisateurs ont également aimé (10)

Publicité

Similaire à ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน (20)

Plus par Padvee Academy (20)

Publicité

Plus récents (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน

  1. 1. บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
  2. 2. กรรมฐาน หมายถึงอะไร ???  กรรมฐาน หมายถึง ที่ตั้งแห่งการงาน อารมณ์เป็นที่ตั้งของ การงานทางใจ หลักการฝึกหัดอบรมใจให้หลุดพ้นจากอานาจ ของความทุกข์ อุบายวิธีสาหรับฝึกหัดอบรมใจ แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน
  3. 3. คาว่า “อารมณ์” ในทางกรรมฐาน หมายถึง เครื่องยึดหน่วงของจิตใจ ซึ่งได้แก่ รูปนาม ธรรมารมณ์ ฯลฯ
  4. 4. สมถกรรมฐาน คืออะไร  สมถกรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายทาใจให้สงบ เป็นวิธี ฝึกจิตให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์ ๔๐ อย่าง คือ กสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ อนุสสติ ๑๐ พรหมวิหาร ๔ อรูป ๔ จตุธาตุววัตถาน ๑ อาหาเร ปฏิกูลสัญญา ๑  กสิณ ๑๐ เช่น ปฐวีกสิณ เอาดินเป็นอารมณ์ ภาวนาว่า ปฐวี ปฐวี หรือ ดิน ดิน เป็นต้น
  5. 5.  กสิณ ๑๐ เช่น ปฐวีกสิณ เอาดินเป็นอารมณ์ ภาวนาว่า ปฐวี ปฐวี หรือ ดิน ดิน เป็นต้น
  6. 6. วิปัสสนากรรมฐาน  วิปัสสนากรรมฐาน แปลว่า กรรมฐานเป็นอุบายทาใจให้ เกิดปัญญารู้แจ้ง เห็นจริง ตามความเป็นจริง คือเห็นปัจจุบัน รูป นาม พระไตรลักษณ์ มรรค ผล นิพพาน  อารมณ์ของวิปัสสนา ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ๑๒ ธาตุ๑๘ อินทรีย์๒๒ อริยสัจจ์๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ ย่อให้สั้น ได้แก่ รูป กับ นาม คือ กาย กับ ใจ นี้เอง
  7. 7. ทางไปสู่พระนิพพานมีอยู่ ๒ ทาง ทางโดยอ้อม • สมถยานิกะ ทางโดยตรง • วิปัสสนายานิกะ
  8. 8. สมถยานิกะ คือ การเจริญสมถะกรรมฐาน ก่อน แล้วก็น้อมมาสู่วิปัสสนาทีหลัง วิปัสสนายานิก เป็นการมุ่งเข้าไปสู่นิพพานโดยตรงไม่ต้องอ้อมมาเจริญสมถะก่อน
  9. 9. บุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน ตั้งตนอยู่ในศีล ตัดปลิโพธ แสวงหากัลยาณมิตร หาสัปปายะ
  10. 10.  ผู้ปฏิบัติกรรมฐานต้องชาระศีลให้บริสุทธิ์เสียก่อน เพราะ ศีลเป็นพื้นฐานของสมาธิ ได้แก่ ศีล ๕, ศีล ๘, ศีล ๑๐ หรือ ปาฏิโมกขสังวรศีล (ศีล ๒๒๗) เป็นศีลของพระภิกษุ และ ศีล ๓๑๑ เป็นศีลของภิกษุณี
  11. 11.  การตัดปลิโพธ ความกังวลที่ทาให้จิตใจไม่สงบ มีดังนี้ อาวาโส จ กุล ลาโภ คโณ กมฺมญฺจ ปญฺจม อทฺธาน าติ อาพาโธ คนฺโถ อิทฺธีติ เต ทส
  12. 12. ๑. อาวาสปลิโพธ เครื่องกังวลคือที่อยู่ ๒. กุลปลิโพธ เครื่องกังวลคือตระกูล ๓. ลาภปลิโพธิ เครื่องกังวลคือลาภสักการะ ๔. คณปลิโพธ เครื่องกังวลคือหมู่คณะ ๕. กัมมปลิโพธ เครื่องกังวลคือนวกรรม ๖. อัทธานปลิโพธ เครื่องกังวลคือการเดินทาง ๗. ญาติปลิโพธ เครื่องกังวลคือญาติ ๘. อาพาธปลิโพธ เครื่องกังวลคือโรคภัยไข้เจ็บ ๙. คันถปลิโพธ เครื่องกังวลคือการเล่าเรียน ๑๐. อิทธิปลิโพธ เครื่องกังวล คือการแสดงอิทธิฤทธิ์
  13. 13. ลืมปิ ดเตาแก๊สรึเปล่า ? ลืมล็อคประตูรึเปล่า ลูกๆ อยู่ที่บ้านจะซนรึเปล่า
  14. 14.  กัลยาณมิตร คือ มิตรที่ดีงาม เป็นบุคคลที่มีความสาคัญ มากในการปฏิบัติกรรมฐาน เพราะจะเป็นผู้เกื้อกูลชี้ทางผิดและ ทางถูก ให้แก่ผู้ปฏิบัติกรรมฐานได้เป็นอย่างดี ในคัมภีร์วิสุทธิ มรรคกล่าวถึงคุณธรรมของกัลยาณมิตรไว้ว่า ปิ โย ครุ ภาวนีโย วตฺตา จ วจนกฺขโม คมฺภีรญฺจ กถ กตฺตา โน จฏฺ าเน นิโยชเย.
  15. 15.  ๑. ปิ โย เป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก  ๒. ครุ เป็นผู้มีใจหนักแน่นน่าเคารพ  ๓. ภาวนีโย เป็นผู้ควรแก่การสรรเสริญเจริญใจ  ๔. วตฺตา จ เป็นผู้ฉลาดในการพูดชี้แจงแสดงแนวทางแห่งการปฏิบัติ  ๕. วจนกฺขโม เป็นผู้มีความอดทนต่อการสอนศิษย์ไม่เข้าใจก็พยายาม ชี้แจงให้เข้าใจแนวทางแห่งการปฏิบัติและยอมให้พูดให้ว่าได้  ๖. คมฺภีรญฺจ กถ กตฺตา เป็นผู้สามารถกล่าวถ้อยคาที่ลึกซึ้งได้  ๗. โน จฏฺ าเน นิโยชเย เป็นผู้แนะนาทางที่ถูกต้องให้
  16. 16. วัดที่ไม่สมควรแก่การทาสมาธิภาวนา เป็นโทษแก่การปฏิบัติธรรม ๑๘ ประการ มีดังนี้  วัดใหญ่  วัดสร้างใหม่  วัดที่อิงทางหลวง  วัดมีสระน้า  วัดที่มีใบไม้ใช้เป็นผัก  วัดที่หาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตรไม่ได้ ฯลฯ
  17. 17.  สัปปายะ แปลว่า สิ่งเป็นที่สบายสาหรับบุคคลผู้ปฏิบัติธรรม ในวิ สุทธิมรรคได้แสดงสัปปายะไว้ ๗ ประการ คือ  ๑) อาวาสสัปปายะ ที่อยู่สบาย  ๒) โคจรสัปปายะ ที่เที่ยวบิณฑบาตที่เหมาะดี  ๓) ภัสสสัปปายะ การพูดคุยที่เหมาะกัน  ๔) ปุคคลสัปปายะ บุคคลที่ถูกกันเหมาะกัน  ๕) อาหารสัปปายะ มีอาหารที่ดี  ๖) อุตุสัปปายะ ฤดูกาลเป็นที่สบาย  ๗) อิริยาบถสัปปายะ อิริยาบถสบาย หาสัปปายะ
  18. 18. จริต (อารมณ์ที่ชอบท่องเที่ยวของจิต)  ๑. ราคจริต จิตท่องเที่ยวไปในอารมณ์ที่รักสวยรักงาม  ๒. โทสจริต มีอารมณ์มักโกรธ เป็นคนขี้โมโหโทโส  ๓. โมหจริต มีอารมณ์จิตลุ่มหลง หนักไปทางเขลา เหงาซึม งมงาย  ๔. สัทธาจริต มีจิตน้อมไปในความเชื่อเป็นอารมณ์ประจาใจ  ๕. พุทธิจริต เป็นคนเจ้าปัญญา มีความฉลาด ชอบคิดพิจารณา  ๖. วิตกจริต มีอารมณ์หนักไปทางนึกคิดจับจด ฟุ้ งซ่านง่าย
  19. 19. อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต  คนราคจริต ย่อมเหมาะสมแก่ กัมมัฏฐาน ๑๑  คือ อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑
  20. 20. อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต  คนโทสจริต เหมาะสมแก่กรรมฐาน ๘  ได้แก่ พรหมวิหาร ๔, วรรณกสิณ ๔
  21. 21. อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต  คนโมหจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม ได้แก่  อานาปานสติกรรมฐาน คือ กรรมฐานประเภทกาหนดลมหายใจ เข้าออก
  22. 22. อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต  คนสัทธาจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม คือ อนุสสติ ๖ ได้แก่  พุทธานุสสติ ๑ ธัมมานุสสติ ๑ สังฆานุสสติ ๑ สีลานุสสติ ๑ จาคานุสสติ ๑ เทวตานุสสติ ๑
  23. 23. อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต  คนพุทธิจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม คือ กรรมฐาน ๔ ได้แก่  มรณสติ ๑ อุปสมานุสสติ ๑ จตุธาตุววัตถาน ๑ อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑
  24. 24. อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต  คนวิตกจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม คือ อานาปานสติ กาหนดลมหายใจเข้าออก จิตใจก็จะสงบ หายฟุ้ งซ่าน
  25. 25. ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่ www.philosophychicchic.com สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

×