ศาสนาอิสลาม

Padvee Academy
Padvee AcademyEducator à Home school
1
โดย อ.สรณีย์ สายศร
2
อิสลาม เป็นศาสนาที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วที่สุดนนโลก
ประชากรโลก (2009) 6,870,200,000
ประชากรมุสลิมโลก (1996) 1,482,596,925
จานวนประชากรมุสลิมโลก (1998) 1,678,442,000
ประชากรมุสลิมในทวีปเอเชีย (1996) 1,022,692,000 (30%)
ประชากรมุสลิมในทวีปแอฟริกา (1996) 426,282,000 (59%)
3
Muslim World1. อินโดนีเซีย 195.272 ล้านคน
2. ปากีสถาน 157.528 ล้านคน
3. อินเดีย 154.504 ล้านคน
4. บังคลาเทศ 127.3286 ล้านคน
5. ตุรกี 72.7542 ล้านคน
6. อียิป 70.88 ล้านคน
7. อิหร่าน 68.805 ล้านคน
8. ไนจีเรีย 65.25 ล้านคน
9. จีน 39.111 ล้านคน
10. เอธิโอเปีย 37.40 ล้านคน
11. อัลจีเรีย 33.17 ล้านคน
12. โมรอคโค 31.78 ล้านคน
13. ซูดาน 30.08 ล้านคน
14. อัฟกานิสถาน 29.601 ล้านคน
15. อิรัก 28.71 ล้านคน
16. รัสเซีย 27.04 ล้านคน
17. ซาอุดิอาราเบีย 24.1 ล้านคน
18. อุสเบกิสถาน 23.232 ล้านคน
19. ยเมน 28 ล้านคน
20. ทานซาเนีย 18.95 ล้านคน
4
ความหมายของอิสลาม
“อิสลาม” มาจากรากศัพท์ภาษาอาหรับว่า “อัสละมะ”
แปลว่า สันติ ความปลอดภัย ความสงบ การยอมนอบ
น้อมตนเอง
“อิสลาม” ความหมาย “การเข้าสู่ความสันติสุข หรือ
ความสงบ” ซึ่งจะเป็นไปได้ก็โดยการยอมจานนต่อ
เจตนารมย์หรือพระประสงค์ของอัลลอฮฺผู้ทรงเป็นพระเจ้า
ที่แท้จริงแต่เพียงพระองค์เดียว
5
อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน
• ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาสากล ประเภทเอกเทวนิยม
มีแหล่งกาเนิดนนเอเชียตะวันตก คือ นครเมกกะ ประเทศ
ซาอุดิอาระเบีย มีผู้นับถือทั่วโลก ส่วนนหญ่นนประเทศอาหรับ และ
เอเชีย
• เป็นศาสนาที่มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับ ๒ รองจากศาสนาคริสต์
• อิสลามถือว่า สรรพสิ่งทั้งหลายถูกสร้างโดยพระผู้เป็นเจ้า คือ
พระอัลเลาะห์ทุก ๆ สรรพสิ่งดาเนินและเป็นไปตามกฎของพระองค์
6
อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน
• ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งกฎหมาย เพราะคัมภีร์อัลกุรอาน
ได้ประมวลหลักธรรมอันเป็นธรรมนูญของชีวิต มีหลักการ
ดาเนินชีวิตประจาวันนนสังคมนนทุกๆด้าน เช่น การปกครอง
การแต่งงาน พาณิชย์ การลงโทษ เป็นต้น ครอบคลุมทุกมิตินน
ชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย
• ชาวมุสลิมผู้มีศรัทธา คือ ผู้ที่มีชีวิตนอบน้อมและมอบตนต่อ
พระอัลเลาะห์ ย่อมปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่รวบรวมไว้นนคัมภีร์
อัลกุรอานอย่างเคร่งครัดทุกข้อ เพื่อความสันติสุข
7
อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน
• - นนกรณีเกิดความเข้านจขัดแย้งกันนนหลักคาสอนของศาสนา
อิสลาม นห้ดู “วจนะ” (คาพูด) และ “จริยวัตร” (การปฏิบัติ)
ของศาสดา มุฮัมหมัด เป็นแนวตัดสิน
• - ได้มีผู้รวบรวม วจนะ และ จริยวัตรของศาสดาไว้ เรียกว่า
“ซุนนะฮ์”
• - เฉพาะวจนะ เรียกว่า “ฮาดิษ”
• - ถ้ายังแก้ปัญหาความขัดแย้งไม่ได้ นห้ฟังคาชี้ขาดของ
ปราชญ์ทางศาสนาอิสลาม
สำนักข่ำวต่ำงประเทศรำยงำนว่ำ โอมำร์ บูร์กัน อัลกำลำ (Omar Borkan Al Gala) นำยแบบ
หนุ่มอำหรับและช่ำงภำพจำกดูไบ ที่กลำยเป็นข่ำวดังคึกโครมไปทั่วโลก จำกกรณีที่ถูกทำงกำร
ซำอุดีอะรำเบียสั่งเนรเทศให้ออกจำกประเทศ พร้อมกับเพื่อนนำยแบบอีก 2 คน โดยให้เหตุผล
ว่ำ ทั้ง 3 มีรูปร่ำงหน้ำตำที่หล่อและน่ำหลงใหลเกินไป หวั่นทำให้หญิงชำวซำอุฯ คลั่งไคล้และ
เสื่อมเสียทำงวัฒนธรรม
8
9
10
อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน
• ศาสนาอิสลามมีต้นกาเนิดมาจากศาสนายิวและศาสนาคริสต์
เพราะอัลเลาะห์เจ้าได้ส่งผู้ประกาศข่าว ได้แก่
• นบีมูซา หมายถึง โมเสส
• นบีอีซา หมายถึง พระเยซู
• นบีคนสุดท้าย คือ นบีมุฮัมหมัด
• หลังจากท่านนบีมุฮัมหมัดแล้วไม่มีนบีอีก เพราะถือว่าพระบัญญัติ
ที่ส่งมาทางนบีมุฮัมหมัดสมบูรณ์ ถูกต้อง และแน่นอนที่สุด***
11
บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม
• ศาสนาอิสลามมีความเชื่อว่า บ่อเกิดของศาสนาอิสลามมาจาก
การที่อัลเลาะห์ประทานคาสอนแก่ศาสดามุฮัมหมัด โดยทรงนช้
เทวทูตญิบรออิล เป็นผู้มาเปิดเผยนห้ท่านโดยตรง
• การเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นนนวันที่ ๒๗ เดือนรอมฎอน ค.ศ.
๖๑๐ ณ ถ้าฮิรอ บนภูเขานูร์ ขณะที่ท่านกาลังสงบนจอยู่นนถ้า
เทวทูตญิบรออิลมาสวมกอดท่าน แล้วแจ้งพระประสงค์ของอัล
เลาะห์นห้ท่านทราบ
12
บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม
• เทพญิบรออิล บอกว่าพระอัลเลาะห์ได้แต่งตั้งนห้มุฮัมหมัดเป็น
ศาสดาสั่งสอนศาสนาอิสลามของพระองค์ เพราะฉะนั้นมุฮัมหมัด
จึงกลายเป็นนบีเป็นต้นมา
• นบีมุฮัมหมัดจึงเป็นศาสนทูตหรือตัวแทนของพระเจ้าบนพื้นพิภพ
เมื่อ พ.ศ. ๑๑๕๓ ขณะที่ท่านมีอายุได้ ๔๐ ปี
• ท่านศาสดาก็ได้วะฮีย์หรือการเปิดเผยเป็นระยะๆ เรื่อยมาที่ “มัก
กะฮฺ” บ้าง ที่“มะดีนะฮฺ” บ้าง เมื่อท่านนบีมุฮัมหมัดสิ้นชีวิตลงได้ ๖
เดือน สาวกที่รู้เรื่องวะฮีย์ ก็ประชุมกันเพื่อรวบรวมขึ้นเป็นเล่ม สอบ
ทานกันอย่างถูกต้องทุกคาพูด จึงประกาศนช้เป็น คัมภีร์อัลกุรอาน
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา
• มุฮัมหมัด เกิดเมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๑๑๑๓ ณ เมือง
เมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย มุฮัมหมัดเกิดนนตระกูล
ฮาซิม เผ่ากุเรซ อันเป็นเผ่าที่มั่งคั่งและมีชื่อเสียงของอาหรับ
• ท่านศาสดาเป็นกาพร้าตั้งแต่เยาว์วัย นนเวลาต่อมาจึงไปอยู่
นนความอุปการะของลุง ชื่อ อาบูตอลิบเรื่อยมา
• “มุฮัมหมัด” เป็นชื่อเกียรติคุณนามหลังจากเป็นศาสดาแล้ว
แปลว่า ผู้ควรบูชา ส่วนชื่อเดิมของท่านคือ “อาบูคัสซิม”
14
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา
• นนสมัยที่ท่านศาสดาถือกาเนิดนั้น สังคมอาหรับอยู่นนสภาพที่เสื่อม
โทรมมาก ผู้คนมั่วสุมดื่มน้าเมาและเล่นการพนัน การละเมิดประเวณี
เกิดขึ้นเป็นประจา มีการฝังเด็กหญิงทั้งเป็นเพราะถือว่าเป็นสิ่ง
อัปมงคล การแก้แค้นด้วยการประหัตประหารเป็นเรื่องปกติ
• ความเชื่อนนสังคมสมัยนั้นส่วนนหญ่ถือว่ามีเทพเจ้าต่างๆมากมาย
แล้วสร้างรูปเคารพแทนเทพแต่ละองค์ขึ้นมา
15
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา
• จนกระทั่งวันหนึ่งขณะที่ท่านอยู่นนถ้าบนภูเขาฮิรอ เทวทูตญิบรออีล
ก็ได้นาโองการของพระอัลเลาะห์ มาประทาน ท่านศาสดามุฮัมมัดจึง
เริ่มประกาศศาสนา คนแรกที่เข้ารับนับถือ ศาสนาอิสลาม ก็คือ นาง
คอดีญะฮ์ ผู้เป็นภรรยา
• หลังจากประกาศศาสนาได้ ๑๓ ปี ท่านศาสดาได้ลี้ภัยจากเมืองเมกกะ
โดยไปอยู่ที่เมืองมะดีนะฮ์ ถือเป็นการเริ่มต้นนับศักราช อิสลาม
เรียกว่า ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) จนกระทั่งถึงปี พ.ศ.๑๑๗๓ ท่าน
ศาสดาก็สามารถรวบรวมผู้คนกลับไปยึดเมืองเมกกะไว้ได้
16
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา
• สิ่งแรกที่นบีสั่งนห้สาวกทา คือ นห้ทาลายรูปเคารพนห้หมด โดย
นบีมุฮัมหมัดกล่าวว่า “เมื่อความจริงมาแล้ว ความไม่จริงย่อมหนีไป”
• นับตั้งแต่กลับเข้าเมืองเมกกะแล้ว นบีมุฮัมหมัดก็ได้ประกาศศาสนา
ออกไปอย่างกว้างไกล จึงทานห้มีศาสนิกชนมากขึ้นทุกที เกิดเป็น
อาณาจักรมุสลิมขึ้นนนโลก ท่านนบีจึงต้องวางระเบียบปกครองหมู่คณะ
โดยท่านนบีเป็นผู้ปกครองสูงสุด วินิจฉัยตัดสินปัญหาต่างๆ ด้วยตนเอง
คอยดูแลศาสนาและศาสนิกนห้อยู่กันเป็นปึกแผ่นสงบเรียบร้อย ไม่นห้
นครมาระราน
• เพราะฉะนั้น นบีมุฮัมหมัดจึงเป็นประมุขทั้งอาณาจักรและศาสนจักร
เป็นผู้ปกครองอาหรับทั้งหมดนนเวลานั้น 17
ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา
- ท่ำนศำสดำมุฮัมมัด ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๑๑๗๕ ตรงกับ ฮ.ศ. ๑๑ รวม
อำยุได้ ๖๒ ปี ณ เมืองมะดินะ ปัจจุบันพระศพของท่ำนถูกฝังอยู่ที่เมือง
มะดินะ เรียกว่ำ “มัสยิดนะบะวีย์” หรือ “มัสยิดนบี” อันเป็นสถำนที่ที่มุสลิม
ทั่วโลกพำกันไปทำละหมำดอยู่เสมอ
- ท่ำนได้ดำรงตนเป็นผู้เสมอต้นเสมอปลำย มีเมตตำกับทุกคน รักสันโดษ
มีควำมยุติธรรม และควำมซื่อสัตย์เป็นเลิศ จนได้รับฉำยำตั้งแต่สมัยเป็น
หนุ่มว่ำ “อัลลำมีน” ซึ่งแปลว่ำ ผู้ซื่อสัตย์
18
19
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• คัมภีร์ของศำสนำอิสลำม คือ คัมภีร์อัลกุรอำน (Al-Quran) หรือ
ชำวตะวันตก เรียก โกรำน (Koran)
• “อัล” เท่ำกับ the / “กุรอำน” แปลว่ำ บทอ่ำน , บทท่อง, พระคัมภีร์
• คัมภีร์อัลกุรอำน หมำยถึง “อ่ำน ท่องเพื่อพระเจ้ำ” >> เป็นพระคัมภีร์
ที่ศำสนิกชนจะต้องอ่ำนและศึกษำให้เข้ำใจ สำมำรถอ่ำนด้วยทำนอง
ไพเรำะและมีศิลปะได้
20
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• คัมภีร์อัลกุรอานกาเนิดมาจากการเขียนขึ้นจากคาบอกเล่าของท่านนบี
มุฮัมหมัด ซึ่งได้รับทราบจากทูตสวรรค์บ้าง จากพระอัลเลาะห์โดยตรง
บ้าง เพื่อนห้นช้เป็นธรรมนูญนนการดาเนินชีวิตของมุสลิมทั่วโลก
• คัมภีร์อัลกุรอานเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องแสดงความเคารพอย่างเคร่งครัด
เพราทุกตัวอัการเกิดจากการเปิดเผยของพระเจ้า (วะฮีย์) เป็นเทวบัญชา
ของพระเจ้า ไม่มีนครจะสงสัย ดัดแปลง แก้ไขได้
• คัมภีร์อัลกุรอาน ได้มีการรวบรวมบันทึกไว้ด้วยภาษาอาหรับ เป็นรูปเล่ม
สมบูรณ์ครั้งแรก หลังจากที่ท่านนบีมุฮัมหมัดสิ้นพระชนม์แล้ว ๖ เดือน
21
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• คัมภีร์อัลกุรอาน ได้รวบรวมเอาข้อความของคัมภีร์ต่างๆ ที่พระเจ้าได้
เคยประทานแก่ศาสดาองค์อื่นๆ ก่อนหน้านั้นมาไว้ด้วย
• *** คัมภีร์อัลกุรอานถือเป็นคัมภีร์สุดท้ายที่สมบูรณ์ที่สุด
• ลักษณะการบรรจุเนื้อหานนคัมภีร์อัลกุรอาน แบ่งเป็น “ซูเราะห์” หรือ
บท มี ๑๑๔ บท
• ๑) ซูเราะห์ที่เมืองเมกกะ >> เรื่องราวของชาติต่างๆ, ลักษณะความ
เป็นเอกภาพของพระอัลเลาะห์และศรัทธาที่ควรมีต่อพระองค์, ข้อ
พิสูจน์ความเป็นพระเจ้าของพระอัลเลาะห์ และคาสอนนห้ประพฤติดี
22
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
• ๒) ซูเราะห์ที่เมืองมะดีนะฮฺ >> ประมวลกฎหมาย, หลักปฏิบัติของ
มุสลิม
• อัล-ฮะดีษ >> เป็นการบันทึกหรืออธิบายเกี่ยวกับคาสอน และ
พระจริยวัตรของท่านศาสดามุฮัมหมัด มีอยู่จานวน ๔,๐๐๐ ข้อ เช่น
• - มนุษย์ที่ดีที่สุด คือ ผู้บาเพ็ญประโยชน์แก่เพื่อนมนุษย์
• - ผู้นดมีความพยายาม ผู้นั้นจะได้รับความสาเร็จ
• - บุรุษที่อิ่มหนาสาราญ นนขณะที่เพื่อนบ้านของเขากาลังตกยาก
นั้น ไม่นช่มุสลิม เป็นต้น
23
• หลักการศรัทธา 6 ประการ
• หลักการปฏิบัติ 5 ประการ
24
25
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
1. ศรัทธานนพระเจ้าองค์เดียว คือ อัลเลาะห์
2. ศรัทธานนบรรดามลาอีกะฮ์หรือเทวฑูตของพระองค์
3. ศรัทธานนบรรดาคัมภีร์ทั้งหลายของพระองค์
4. ศรัทธานนบรรดานบี และรอซูล (ศาสดา) ทั้งหลาย
5. ศรัทธานนวันพิพากษา
6. ศรัทธานนการกาหนดกฎสภาวะของพระองค์
26
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
1. ศรัทธานนพระเจ้าองค์เดียว คือ อัลเลาะห์
อิสลามถือว่านนสากลจักรวาลมีพระเจ้าที่เที่ยงแท้เพียง
พระองค์เดียว เป็นผู้สร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทรงไว้ซึ่ง
ความเมตตาและยุติธรรม ทรงรู้เห็นการกระทาและ
เข้านจนนความคิดของมนุษย์ทุกคน
***มุสลิมถือว่าศรัทธานนพระเจ้านี้เป็นหัวนจของการเป็น
มุสลิมที่แท้จริง
27
“อัลลอฮ” พระเจ้าผู้ทรงเอกะ
• อัลลอฮ คือพระนามหนึ่งของพระเจ้าผู้ทรงเอกะ
• อัลลอฮยังมีพระนามอันวิจิตรอีก 99 พระนาม
อาทิ ผู้ทรงเมตตา ผู้ทรงกรุณาปราณี
ผู้ทรงอ่อนโยน
ผู้ทรงสร้าง ผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงวิทยปัญญา และ
เป็นพระผู้อภิบาลแห่งสากลจักรวาล ผู้เป็นองค์แรก
ผู้เป็นองค์สุดท้าย เป็นต้น
28
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
2. ศรัทธานนบรรดามลาอีกะฮ์ หรือเทวฑุตของพระองค์
ว่ามีจริง มีชื่อและหน้าที่ต่างๆกัน
- มลาอีกะฮ์ เป็นบ่าวของอัลลอฮฺที่ถูกสร้างจากรัศมี ไม่มี
เพศไม่ขัดขืนคาสั่งของอัลลอฮฺไม่กิน ไม่ดื่ม ไม่หลับไม่นอน
- มลาอีกะฮ์ จะทาหน้าที่สาคัญบางอย่างที่อัลลอฮฺ
มอบหมายนห้
-- เช่น ญิบรออิล, รกิบ-อติ๊ด, อิสรออีล เป็นต้น
29
หลักการศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
3. ศรัทธานนบรรดาคัมภีร์ทั้งหลายของอัลลอฮฺ
เชื่อว่าพระอัลเลาะห์ได้ประทานคัมภีร์มาแล้วจานวน
๑๐๔ เล่ม ที่สาคัญมี ๔ เล่ม
๑) คัมภีร์เตารอด (นบีมูซา)
๒) คัมภีร์อินญีล (นบีอีซา)
๓) คัมภีร์ซาบูร์ (นบีวูด หรือเดวิด)
๔) คัมภีร์อัลกุรอาน (นบีมุฮัมหมัด) เป็นเล่มสุดท้าย ที่
สมบูรณ์ที่สุด
30
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
“จงอ่าน ! ด้วยพระนามของพระผู้อภิบาลของสูเจ้าผู้ทรงสร้าง
ผู้สร้างมนุษย์จากก้อนเลือด จงอ่านและพระผู้อภิบาลของเจ้านั้น
ทรงไพโรจน์ ผู้ทรงสอนด้วยปากกา ผู้ทรงสอนมนุษย์
นนสิ่งที่เขาไม่รู้”
31
• มุสลิมจะต้องเชื่อถือศรัทธานนคัมภีร์ต่อไปนี้อีกด้วย
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
1. คัมภีร์ซะบูรฺ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ถูก
ประทานนห้แก่ศาสดาดาวุด (เดวิด)
2. คัมภีร์เตารอต ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่
ถูกประทานนห้แก่ศาสดามูซา (โมเสส)
3. คัมภีร์อินญีล (ไบเบิ้ล) ซึ่งถูก
ประทานนห้แก่ศาสดาอีซา (เยซูคริสต์)
32
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
4. ศรัทธานนบรรดานบี และรอซูล (ศาสดา) หรือ
ศาสนทูตทั้งหลาย ซึ่งเป็นผู้รับเทวโองการของพระเจ้า
มุสลิมทุกคนต้องยอมรับนับถือศาสดาทั้งหลายที่มา
เทศนาก่อนศาสดามุฮัมมัด ไม่ว่าศาสดาเหล่านั้นจะ
ปรากฎชื่ออยู่นนคัมภีร์อัล-กุรอานหรือไม่ก็ตาม ไม่ว่า
ศาสดาเหล่านั้นจะเป็นชนชาตินดอยู่ที่ไหนพูดภาษา
อะไรก็ตาม
33
ศำสดำที่สำคัญในอิสลำม
1.นบีอาดัม 2.นบีอิดรีส 3.นบีนูฮฺ (โนอา) 4.นบีฮูด
5.นบีซอลิฮฺ 6.นบีอิบรอฮีม (อับราฮัม) 7.นบีลูฎ 8.นบีอิสฮาก (ไอแซค)
9.นบีอิสมาอีล 10.นบียะอฺกู๊บ (เจค็อบ) 11.นบียูซุฟ (โจเซฟ) 12.นบีซุลกิฟลี
13.นบีอัยยูบ 14.นบีมูซา (โมเสส) 15.นบีฮารูน 16.นบีอิลยาส
17.นบียูนุส 18.นบีชุอัยบ์ 19.นบีดาวุด (เดวิด) 20.นบีสุลัยมาน (โซโลมอน)
21.นบีอัลยะสะอฺ 22.นบีซะกะรียา 23.นบียะฮฺยา 24.นบีอีซา (เยซูคริสต์)
25.นบีมุฮัมมัด (ศาสดาคนสุดท้าย)
34
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
5. ศรัทธานนวันสุดท้ายและ การเกิดนหม่นนวันปรโลก
>> วันพิพากษา
ชาวมุสลิมต้องเชื่อว่า โลกนี้เป็นที่พักพิงชั่วคราวเพื่อ
ทดลองความภักดีต่อพระอัลเลาะห์ จนถึงวันพิพากษา
มนุษย์ทุกคนจะคืนชีพ มีร่างกายขึ้นมานหม่เพื่อรับการ
พิพากษาขั้นสุดท้าย
35
หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ
6. ศรัทธานนการกาหนดสภาวการณ์ของพระองค์
เชื่อว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นนนเอกภพนี้ล้วนถูกกาหนดขึ้น
โดยพระอัลเลาะห์ทั้งสิ้น พึงยอมรับสภาพด้วยนจภักดี
ต่อพระอัลเลาะห์เสมอ
ประกอบด้วย
1) กฎธรรมชาติ
2) กฎการดาเนินชีวิต (ชะรีอ๊ะฮฺ)
3) กฎแห่งชะตากรรม
36
“แท้จริง อัลลอฮฺจะไม่ทรงเปลี่ยนแปลง
สภาพของประชาชาตินดเว้นแต่เขาจะ
เปลี่ยนแปลงสภาพของเขาเองเสียก่อน”
37
หลักการปฏิบัติ (อิสลามิกวัตร) 5 ประการ
1. การกล่าวคาปฏิญาณตน
2. การนมาซหรือละหมาดวันละ 5 เวลา
3. การถือศีลอดนนเดือนรอมฎอน
4. การจ่ายซะกาต
5. การทาฮัจญ์
38
39
1. การกล่าวคาปฏิญาณตนว่า
หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ
“ไม่มีพระเจ้าอื่นนดนอกจากอัลลอฮฺ
และ มุฮัมมัด เป็นศาสนทูตของอัลลอฮฺ”
เป็นการยอมรับด้วยศรัทธาและความบริสุทธิ์นจว่า พระอัลเลาะห์ทรง
เป็นพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว การปฏิญาณตนเป็นก้าวแรกที่
นาไปสู่ความเป็นมุสลิมอย่างสมบูรณ์
40
2. การนมาซหรือละหมาดวันละ 5 เวลา
- มองเห็นได้ชัดเจนที่สุด
หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ
การละหมาด
• การละหมาดเป็นการแสดงความเคารพต่อพระเป็นเจ้า เป็น
การขอบคุณ ขอขมา และสรรเสริญพระองค์
• - มุสลิมทั้งชาย หญิงที่บรรลุนิติภาวะแล้วจะต้องปฏิบัติทุกวัน
วันละ ๕ ครั้ง นนเวลาเช้ามืด, เที่ยงวัน, บ่าย, พระอาทิตย์ตก
และเวลาค่า
• - ผู้ปฏิบัติทุกคนต้องหันหน้าไปสู่ทิศทางเดียวกัน คือ ทิศที่ตั้ง
ของวิหารกาบาห์ ที่นครเมกกะ ซาอุดิอารเบีย
• - แสดงถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันของมุสลิมทั่วโลก
41
42
3. การถือศีลอดนนเดือนรอมฎอน
คือ การงดเว้นการรับประทานอาหาร การดื่ม การร่วมประเวณี และ
การทาชั่วทั้งปวง ตั้งแต่แสงอรุณขึ้นจนหมดแสงอาทิตย์ตอนค่า
ต้องปฏิบัติตลอดเดือนรอมฎอน (เดือน ๙ ของฮิจเราะห์ศักราช)
การถือศีลอดมีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกมุสลิมนห้เกิดความยาเกรง
ต่อพระเจ้า ระลึกถึงท่านนบีมุฮัมหมัดตอนไปบาเพ็ญภาวนาที่ถ้า
บนภูเขาฮิรอ และเป็นการขัดเกลาจิตนจมุสลิม ฝึกความอดทน
และเพื่อนห้เกิดความเห็นนจต่อคนขัดสนยากจน
หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ
43
มุสลิมเตรียมตัวต้อนรับรอมฎอนอย่างไร..?
1. ตรวจสุขภาพตัวเองนห้พร้อม
2. ทบทวนการกระทาของตัวเอง
3. หยุดทาความชั่ว
4. ตั้งนจว่าจะทาอะไรดี ๆ เป็นพิเศษ
44
นายแพทย์ Allan Cott ชาวอเมริกันได้เขียนหนังสือ “Why Fast ?”
(ทาไมต้องถือศีลอด) ไว้ 10 ข้อ ดังนี้
1. ทานห้รู้สึกว่าสุขภาพกายและจิตนจที่ดีขึ้น
2. ทานห้มองเห็นและรู้สึกอ่อนเยาว์ขึ้น
3. ทานห้ร่างกายสะอาดสะอ้าน
4. ช่วยลดความดันโลหิตสูงและระดับคอเลสเตอรอลนนเลือด
5. ช่วยลดความรู้สึกอารมณ์นคร่
6. นห้โอกาสแก่ร่างกายได้มันบาบัดตัวมันเอง
7. ช่วยลดความตึงเครียด
8. ทานห้สติปัญญาเฉียบแหลม
9. ทานห้สามารถควบคุมตนเองได้
10. ช่วยชะลอความชรา / แก่
45
4. การจ่ายซะกาต (บริจาคทาน)
คือการบริจาคทรัพย์สินเป็นทานประมาณ
๒.๕% ของทรัพย์สินที่มีอยู่ แก่ ผู้คนอนาถา
เด็กกาพร้า คนขัดสน ผู้มีหนี้สิน ผู้เผยแผ่
ศาสนา ผู้เดินทางที่ขัดสน
เพื่อเป็นการขัดเกลาจิตนจผู้บริจาคนห้สะอาด
บริสุทธิ์ ลดความเห็นแก่ตัว และตระหนักว่า
ทรัพย์สินเป็นของฝากจาก
อัลเลาะห์
หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ
46
“ซะกาต” แปลว่า การทานห้
สะอาด บริสุทธิ์ และการเจริญเติบโต
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการยืนยันถึง
ความศรัทธา เพื่อซักฟอกทรัพย์สิน
และจิตนจของผู้จ่ายนห้มีความสะอาด
บริสุทธิ์ ขณะเดียวกันก็เพื่อเป็นการ
สร้างความเจริญนห้แก่สังคม
47
5.การประกอบพิธีฮัจญ์
เป็นการไปแสวงบุญ ณ เมืองเมกกะ
อย่างน้อยหนึ่งครั้งนนชีวิต
นอกจากจะเป็นการแสดงความเคารพภักดี
และยืนยันนนความศรัทธาต่อ อัลเลาะห์
แล้วยังสอนมนุษย์ทุกคนนห้รู้สานึกว่านน
สายตาของอัลเลาะห์มนุษย์ทุกคนเท่าเทียม
กัน และตระหนักว่ามุสลิมทุกคนเป็น
พี่น้องกัน
หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ.
48
การทาฮัจญ์ที่นครเมกกะ
การกระทาที่เป็นข้ออนุญาตและส่งเสริม - Halal
• บอกทางนห้แก่ผู้หลงทาง
• ต่อสู้ถ้ามีการกดขี่
• รู้จักการนห้อภัยและยึดเอาความผ่อนปรน
• เป็นคนดีต่อบิดามารดา ต่อญาติ ต่อเด็ก
• สารวมตนนห้พ้นความชั่ว
• เตือนกันและกันนนสัจธรรม
• ศึกษาวิชาตั้งแต่อยู่นนเปลจนถึงหลุมศพ
• ตวงนห้เต็มเมื่อจะตวง และชั่งด้วยตราชั่งที่เที่ยงตรง ฯลฯ 49
การกระทาที่เป็นข้อห้ามปราม - Harom
• ห้ามยกย่องนครหรือสิ่งนดเสมอพระอัลเลาะห์
• ห้ามเคารพบูชารูปทุกชนิด
• ห้ามกราบไหว้บูชาธรรมชาติทุกชนิด
• ห้ามขายบริการหรือห้ามดื่มสุราเมรัยทุกชนิด
• ห้ามเรียกหรือนห้ดอกเบี้ย
• ห้ามเสี่ยงโชคหรือการพนันทุกชนิด
• ห้ามคุมกาเนิด ห้ามทาแท้ง
• ห้ามฆ่าตัวเองและผู้อื่น ฯลฯ 50
พิธีกรรมของศาสนาอิสลาม
• ๑) พิธีฮัจญ์
• ๒) พิธีถือศีลอด
• ๓) พิธีละหมาด
• ๔) พิธีบริจาคซะกาต
• ๕) พิธีสุหนัต
• ๖) พิธีศพ
51
จุดหมายสูงสุดของศาสนาอิสลาม
• ศาสนาอิสลามมีจุดหมายปลายทางคือ การได้ไปอยู่กับพระ
เจ้านนสรวงสวรรค์ อันเป็นความสุขนิรันดร
• จะไปสู่จุดมุ่งหมายได้ *** ชาวมุสลิมจะต้องถือปฏิบัติตาม
บทบัญญัติว่าด้วยหลักปฏิบัติ ๕ ประการของอิสลามโดย
เคร่งครัดและถูกต้องสมบูรณ์
52
นิกายนนศาสนาอิสลาม
• ๑) นิกายชุนนี (Sunni) เป็นนิกายที่ยึดคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก
และถือพระวจนะของท่านนบีมุฮัมหมัดเป็นทางนา และปฏิบัติ
ตามอิหม่ามทั้ง ๔ ***ชนมุสลิมกลุ่มนหญ่นับถือนิกายนี้ รวมทั้งนน
ประเทศอินโดนิเซีย มาเลเซีย และไทยด้วย
• ๒) นิกายชีอะฮฺ (Sheite) ถือว่าผู้ที่เหมาะสมจะเป็นกาหลิบ หรือ
ผู้ปกครองชาวมุสลิมต่อจากมุฮัมหมัด คือ อาลี ซึ่งเป็นบุตรเขย
ของศาสดา (เจ้าเซ็น)
• ๓) นิกายวาฮาบี ต้องการทานห้ศาสนาบริสุทธิ์เหมือนสมัยท่าน
ศาสดา ไม่เชื่ออิหม่าม นักบุญ หรือนักปราชญ์ต่างๆ 53
สัญลักษณ์นนศาสนาอิสลาม
54
สัญลักษณ์นนศาสนาอิสลาม
• นนศาสนาอิสลามเคารพเฉพาะพระอัลเลาะห์องค์เดียวเท่านั้น
ไม่มีการเคารพบูชารูปเคารพนดๆ
• สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามโดยอนุโลม ได้แก่ “รูปพระจันทร์
ครึ่งเสี้ยวและมีดวงดาวอยู่ข้างบน เป็นเครื่องหมายของ
อาณาจักรอ๊อตโตมานเตอร์กนนอดีตที่เคยรุ่งเรือง (ศตวรรษที่
๑๕ ถึง ๒๐) บรรดาประเทศมุสลิมที่เคยอยู่นนอานาจของ
อาณาจักรอ๊อตโตมานเตอร์ก จึงยึดเอาเครื่องหมายนี้เป็น
สัญลักษณ์ขงอตนนนฐานะชนชาติมุสลิมเหมือนกันสืบมา
55
Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทยเพื่อกลุ่มอิสลาม
56
Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทยเพื่อกลุ่มอิสลาม
• เป็นศัพท์นิติศาสตร์อิสลามจากภาษาอาหรับ คือกฎบัญญัติอนุมัติ
นห้ มุกัลลัฟ (มุสลิมที่อยู่นนศาสนนิติภาวะ) กระทาได้ อันได้แก่
การนึกคิด วาจา และการกระทาที่ศาสนาได้อนุมัตินห้
• ***เช่น การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้รับการเชือดอย่างถูกต้อง
การค้าขายโดยสุจริตวิธี การสมรสกับสตรีตามกฏเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้
เป็นต้น นนเมืองไทย คาว่า ฮาลาล เป็นที่รู้จักนนความหมาย
อาหาร หรือสิ่งเจือปนที่ไม่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม อาหาร
สาเร็จรูปประเภทนี้จะมีตราฮาลาล
57
58
ทัศนะของอิสลามต่อธรรมชาติ
• ธรรมชาติ คือกฎระเบียบที่อัลลอฮฺได้ทรงวางไว้
นห้แก่ทุกสรรพสิ่งนนสากลจักรวาล ตั้งแต่การ
เคลื่อนไหวของอะตอมนนโมเลกุล การทางานของ
ระบบอวัยวะนนร่างกายมนุษย์ไปจนถึงการโคจรของ
ดวงดาวต่าง ๆ นนสากลจักรวาล
59
• กฎระเบียบเหล่านี้เป็น “ซุนนะฮ์”
(แบบแผน) ของ อัลลอฮฺ ที่ไม่อาจ
เปลี่ยนแปลงได้ และเป็นสิ่งที่อยู่
เบื้องหลังสิ่งที่มนุษย์เรียกว่าปรากฎ
การทางธรรมชาติ
• มนุษย์เป็นเพียงแต่ผู้ที่ค้นพบกฎ
เหล่านี้ และนามันมานช้ประโยชน์
เท่านั้น
ทัศนะของอิสลามต่อธรรมชาติ
60
อิสลามกับความตาย
• “ทุกชีวิตต้องได้ลิ้มรสความตาย”
สัจธรรมจากคัมภีร์อัลกุรอาน
• ความตายมิได้เป็นการสิ้นสุดหรือ
เป็นจุดสุดท้ายของชีวิต หากแต่
มันเป็นจุดเริ่มต้นของการที่มนุษย์
จะก้าวไปสู่ชีวิตที่แท้จริงอันเป็น
นิรันดร
61
62
ทาไมอิสลามจึงห้ามกินหมู...?
1. เนื้อหมูถูกห้ามนนอัลกุรอาน
2. การบริโภคเนื้อหมูเป็นสาเหตุของ
โรคหลายชนิด
3. เนื้อหมูก่อนห้เกิดการสร้างไขมัน
เกินความจาเป็น
4. หมูเป็นสัตว์ที่สกปรกที่สุดนนโลก
ชนิดหนึ่ง
5. หมูเป็นสัตว์ที่มีความอายน้อยที่สุด
หมู ไม่อร่อย...?
63
อาหารฮาลาลคืออะไร...?
• ฮาลาล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายอิสลาม
หรือ บทบัญญัติของอัลลอฮฺ อนุมัตินห้
ปฏิบัติหรือบริโภคได้
• อาหารฮาลาล หมายถึง อาหารที่อนุมัตินห้
มุสลิมบริโภค
• ขณะเดียวกัน มุสลิม จะหลีกเลี่ยงการ
บริโภคอาหารที่ศาสนาห้าม
ซึ่งเรียกกันว่าอาหารหะรอม
64
หะรอม
• หะรอม หมายถึง สิ่งที่กฎหมายอิสลาม หรือบทบัญญัติของอัลลอ
ฮฺไม่อนุมัตินห้กระทา และถือเป็นที่ต้องห้าม สาหรับมุสลิม
นครก็ตาม ที่เข้าไปเกี่ยวข้อง จะต้องได้รับโทษจากอัลลอฮฺ (ซ.บ.)
มุสลิม หรือผู้ศรัทธาต้องดาเนินชีวิตตาม แนวทางที่ฮาลาล และ
หลีกเลี่ยงสิ่งที่หะรอม
65
• นม (จากวัว แกะ และแพะ)
• น้าผึ้ง
• ปลา
• พืชที่ไม่มีสารที่เป็นพิษ
• ผัก ผลไม้
• พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลิสง เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ลูกวอลนัท ฯลฯ
• เมล็ดข้าว หรือธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ฯลฯ
• สัตว์จาพวก วัว แกะ แพะ กวาง ไก่ เป็ด นก ฯลฯ ซึ่งเป็นสัตว์ที่ฮาลาล
และจะต้องผ่านกระบวนการฆ่า ตามหลักการอิสลาม จึงจะเป็นที่อนุมัติ
นห้บริโภคสาหรับมุสลิม
อาหารฮาลาล
66
• หมูบ้ำน, หมูป่ำ, สุนัข, ลำ, และ สัตว์กินเนื้อเช่น เสือ
• สัตว์เลื้อยคลำน และสัตว์นำโรค เช่น หนอน, หมัด, เห็บ, แมลงวันและแมลงสำบ เป็นต้น
• สัตว์ที่ตำยเอง ยกเว้นสัตว์น้ำ สัตว์ที่ถูกรัดคอตำย สัตว์ที่ถูกตี, ทุบ หรือขว้ำงตำย สัตว์ที่ตกจำกที่
สูงตำย สัตว์ที่ถูกขวิดตำย และสัตว์ที่ถูกสัตว์อื่นกินจนตำย
• สัตว์ที่ถูกเชือดด้วยนำมอื่นนอกจำกอัลลอฮฺ สัตว์ที่ถูกเชือดเพื่อบูชำเจว็ด
• สัตว์ที่มีเขี้ยวและกรงเล็บ เช่น สิงห์โต, หมี, และสัตว์อื่นที่มีลักษณะเดียวกัน เช่น ลิง, แมว
• สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น กบ, จระเข้, และเต่ำ
• สัตว์ที่อิสลำมอนุญำตให้ฆ่ำได้ เช่น แมงป่อง, ตะขำบ, หนู และสัตว์สกปรก มีพิษอื่น ๆ
• สัตว์ที่ห้ำมฆ่ำในอิสลำม เช่น มด, ผึ้ง, นกหัวขวำน
• นกที่มีกรงเล็บไว้ล่ำเหยื่อ เช่น เค้ำแมว, เหยี่ยว, อินทรีย์ และนกประเภทเดียวกัน
• เนื้อสัตว์ที่ตัดจำกสัตว์ขณะมีชีวิต เช่น ขำ แขน หำง
• เลือด
• เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น สุรำ, ไวน์รวมทั้งเครื่องดื่มที่เป็นพิษและเป็นอันตรำย สิ่งเสพติด
• สิ่งที่ได้มำโดยกำรเสี่ยงทำย
• วัตถุเจือปนอำหำร (Food Additives) ที่ผลิตขึ้นจำกอำหำรต้องห้ำมข้ำงต้น
อาหารที่ไม่อนุมัติ (หะรอม) แก่มุสลิม มีดังนี้
67
รักไม่มีพรมแดน
แต่รักต้องมีศาสนา
68
1.อิสลามยอมรับความต้องการทางเพศของ
ฝ่ายชาย แต่อิสลามก็ควบคุมความต้องการนั้น
นห้อยู่นนทางที่ถูกที่ควร
2.อัลลอฮ เป็นผู้สร้างมนุษย์ ทรงรู้ความสามารถ
ของมนุษย์เป็นอย่างดี
3.“ความยุติธรรม” เป็นเงื่อนไขสาคัญ
ขณะเดียวกันก็เพื่อที่จะ นห้มุสลิมได้นา
หลักการอิสลามไปนช้นนการแก้ปัญหาสังคมนน
บางสถานการณ์ที่จาเป็น
ทาไมอิสลามอนุญาตนห้มีภรรยามากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 4
69
“....และถ้าสูเจ้าเกรงว่าไม่สามารถนห้
ความเที่ยงธรรมเกี่ยวกับเด็กกาพร้าได้
ดังนั้นจงแต่งงานจากนนหมู่หญิงที่สบนจ
แก่สูเจ้าสองหรือสามหรือสี่ ครั้นถ้า
สูเจ้าเกรงว่านห้ความยุติธรรมไม่ได้
ดังนั้นจงแต่งเพียงคนเดียว....”
(อัลกุรอาน 4:3)
70
ทาไมอิสลามถึงนห้ผู้หญิงคลุมฮิญาบ
ฮิญาบ คือ
การปกป้ อง
ศักดิ์ศรีและเกียรติ
ของผู้หญิงมุสลิม
72
ฮิญาบ คือ การปกปิดอันถูกต้องสาหรับสตรีซึ่งจัดว่าเป็นหนึ่งใน
ปัจจัยที่มีผลมากที่สุดในการปกป้ อง และดูแลครอบครัว สตรีที่ไม่
ปกปิดศีรษะและเรือนร่างของเธอนั้น เท่ากับเป็นการจุดไฟแห่ง
อารมณ์ของบุรุษให้ลุกโชติช่วง เปิดประกายสายตาของเขาให้เบิก
ออก และสาดส่องสายตาไปตามอารมณ์และอานาจฝ่ายต่าโดยไม่
อาจควบคุมได้อีก ตั้งมากมายของอาชญากรรมที่เกิดขึ้น หรือความ
เสื่อมทรามทางสังคมทีไม่อาจคานวณนับได้นั้น ส่วนหนึ่งมาจาก
บทบาทของสตรีที่ไม่คลุมผ้าให้มิดชิด ซึ่งชายแปลกหน้าทั้งหลายบน
โลกนี้ล้วนตกเป็นเหยื่อความสวยงามเหล่านั้นทั้งสิ้น......
73
ฮิญาบ คือองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยรักษาความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรี
ของสตรี เป็นเสมือนป้ อมปราการที่คอยปกป้ องเธอให้รอดปลอดภัย
ตลอดเวลา จากการถลาไปในความชั่วร้ายอนาจาร หรือการกระทาที่
ไม่ดีไม่งามทั้งหลาย นอกจากนั้นแล้ว ฮิญาบ ยังช่วยเสริมสร้าง
เกียรติยศและทาให้สตรีคนนั้นได้รับเกียรติ และได้ความเคารพจาก
บุคคลอื่น อีกทั้งยังทาให้เธออกห่างจากความผิดบาป
74
ทำไมต้องขลิบหนังหุ้มปลำยอวัยวะเพศชำย...!
75
ศีล 5 กับมุสลิม
1. ปาณาติปาตา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ)
เว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต
2. อทินฺนาทานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ)
เว้นจากการลักทรัพย์
3. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ)
เว้นจากการประพฤติผิดนนกามทั้งหลาย
4. มุสาวาทา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ)
เว้นจากการพูดเท็จ คาหยาบ หรือพูดส่อเสียด
5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ)
เว้นจากการดื่มน้าเมา อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
76
1. ปาณาติปาตา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการฆ่าสัตว์
ตัดชีวิตอิสลามสอนว่า ....
• ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ل‬ُ‫ت‬ْ‫ق‬َ‫ت‬َ‫ال‬َ‫و‬ َْ‫س‬ْ‫ف‬َّ‫ن‬‫ال‬ ‫ي‬ِ‫ت‬َّ‫ل‬‫ا‬ َْ‫م‬َّ‫ر‬َ‫ح‬ ُْ ّ‫الل‬ َّْ‫ال‬ِ‫إ‬ ِّْ‫ق‬َ‫ح‬‫ال‬ِ‫ب‬
• และท่านทั้งหลายจงอย่าฆ่าชีวิตนดที่อัลลอฮฺได้ทรงห้ามไว้
นอกจากเพื่อสิทธิอันชอบธรรม (17:33)
ศีล 5 กับมุสลิม
77
2. อทินฺนาทานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการลักทรัพย์
อิสลามสอนว่า
• ُْ‫ق‬ ِ‫ار‬َّ‫س‬‫ال‬َ‫و‬ ُْ‫ة‬َ‫ق‬ ِ‫ار‬َّ‫س‬‫ال‬َ‫و‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ع‬َ‫ط‬ْ‫اق‬َ‫ف‬ ‫ا‬َ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ي‬ِ‫د‬ْ‫ي‬َ‫أ‬ ‫اء‬َ‫ز‬َ‫ج‬ ‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ‫ا‬َ‫ب‬َ‫س‬َ‫ك‬ ْ‫ا‬‫ال‬‫ا‬َ‫ك‬َ‫ن‬ َْ‫ن‬ِّ‫م‬ ِْ ّ‫الل‬
• ส่วนขโมยผู้ชายและขโมยผู้หญิงนั้น ท่านทั้งหลายจงตัดมือมันทั้งสองเป็น
การตอบแทนสาหรับสิ่งที่มันได้กระทาไว้ เป็นการลงโทษเพื่อเป็น
เยี่ยงอย่างจากอัลลอฮฺ (5:38)
• َْ‫ال‬َ‫و‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ب‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ َْ‫ل‬‫ا‬َ‫م‬ ِْ‫يم‬ِ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ل‬‫ا‬ َّْ‫ال‬ِ‫إ‬ ‫ي‬ِ‫ت‬َّ‫ل‬‫ا‬ِ‫ب‬ َْ‫ي‬ِ‫ه‬ ُْ‫ن‬َ‫س‬ْ‫ح‬َ‫أ‬
• และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้านกล้ทรัพย์ของเด็กกาพร้า (ด้วยเจตนาฉ้อฉล)
นอกจากเพื่อดาเนินการนนสิ่งที่ดียิ่ง (17:34)
ศีล 5 กับมุสลิม
78
3. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการประพฤติ
ผิดนนกามทั้งหลาย
อิสลามสอนว่า
• َْ‫ال‬َ‫و‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ب‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ ‫ى‬َ‫ن‬ ِّ‫الز‬ ُْ‫ه‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬ َْ‫ان‬َ‫ك‬ ْ‫ا‬‫َة‬‫ش‬ ِ‫اح‬َ‫ف‬ ‫اء‬َ‫س‬َ‫و‬ ْ‫ا‬‫ل‬‫ي‬ِ‫ب‬َ‫س‬
• และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้านกล้การละเมิดประเวณี แท้จริงมันเป็นการ
ลามกและเป็นหนทางอันชั่วช้ายิ่ง (17:32)
ศีล 5 กับมุสลิม
79
4. มุสาวาทา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการพูดเท็จ คาหยาบ
หรือพูดส่อเสียด
อิสลามสอนว่า
• ‫وا‬ُ‫ب‬ِ‫ن‬َ‫ت‬ْ‫اج‬َ‫و‬ َْ‫ل‬ ْ‫و‬َ‫ق‬ ِْ‫ور‬ُّ‫الز‬
• และท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากการกล่าวเท็จ (22:30)
ศีล 5 กับมุสลิม
80
5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการ
ดื่มน้าเมา อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
อิสลามสอนว่า
• ‫ا‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬َ‫أ‬ َْ‫ين‬ِ‫ذ‬َّ‫ل‬‫ا‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ن‬َ‫م‬‫آ‬ ‫ا‬َ‫م‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬ ُْ‫ر‬ْ‫م‬َ‫خ‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُْ‫ر‬ِ‫س‬ْ‫ي‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ُْ‫اب‬َ‫ص‬‫ن‬َ‫األ‬َ‫و‬ ُْ‫م‬َ‫ال‬ْ‫ز‬َ‫األ‬َ‫و‬ ْ‫س‬ْ‫ج‬ ِ‫ر‬ ِّْ‫م‬
ْْ‫ن‬ ِْ‫ل‬َ‫م‬َ‫ع‬ ِْ‫ان‬َ‫ط‬ْ‫ي‬َّ‫ش‬‫ال‬ ُْ‫ه‬‫و‬ُ‫ب‬ِ‫ن‬َ‫ت‬ْ‫اج‬َ‫ف‬ ْْ‫م‬ُ‫ك‬َّ‫ل‬َ‫ع‬َ‫ل‬ َْ‫ون‬ُ‫ح‬ِ‫ل‬ْ‫ف‬ُ‫ت‬
• โอ้บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลายเอ๋ย แท้จริงสุรา, การพนัน, การเซ่นสรวง
บูชา และการเสี่ยงทายนั้นเป็นความโสมมจากการกระทาของชัยฏอน
(มารร้าย) ดังนั้นท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากมันเถิด เพื่อว่าพวกท่านจัก
ได้ชัยชนะ (5:90)
ศีล 5 กับมุสลิม
81
ลักษณะเด่นของอิสลามที่แตกต่างไปจากศาสนาอื่น ๆ
1. อิสลามเป็นศาสนาที่เชื่อถือนนพระเจ้าองค์เดียวนั่นคือ “อัลลอฮฺ”
2. ไม่มีการเคารพสักการะ หรือบูชารูปปั้น หรือรูปวาดของ
พระเจ้าและศาสดา
3. อิสลามมิได้เป็นศาสนาของเผ่าพันธุ์นด แต่เป็นของมนุษยชาติ
4. คัมภีร์อัลกุรอานบรรจุแนวทางการดาเนินชีวิตประจาวัน
ทุกขั้นตอน เป็นสารของอัลลอฮฺ มิได้ถูกประพันธ์โดยมนุษย์
82
5. มุสลิมเคารพศาสดาทุกคนก่อนหน้าศาสดามุฮัมมัด แต่ถือว่าศาสดา
มุฮัมมัด เป็นศาสดาคนสุดท้าย อิสลามครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว
6. ไม่มีสถาบันพระ หรือนักบวช มนุษย์ทุกคนมีสิทธิที่จะนกล้ชิดพระเจ้า
7. อาศัยตัวบทกฎหมายและความเชื่อควบคุมพฤติกรรมมนุษย์
มีบทลงโทษมนุษย์ที่ทาความผิดขณะยังมีชีวิต เช่นลงโทษขโมย
ด้วยการตัดมือ และมีการลงโทษคนทาบาปหลังจากที่เขาตายไปแล้ว
ลักษณะเด่นของอิสลามที่แตกต่างไปจากศาสนาอื่น ๆ
83
ญิฮาด (JIHAD)
• “ญิฮาด” มาจากคาว่า “ญะฮาดา”หมายถึง “ความพยายาม”
• “ญิฮาด” หมายถึง การพยายาม การดิ้นรนต่อสู้ หรือการนช้
พลังอานาจของตนเองไปนนแนวทางของอัลลอฮฺ เพื่อที่จะ
เพิ่มพูนความศรัทธานนพระเจ้า ซึ่งจะบรรลุได้ด้วยความมี
ศรัทธามั่น การกระทาความดี หลีกเลี่ยงความชั่ว
การทาตามคาสั่งของพระผู้เป็นเจ้า การเผยแพร่ศาสนา
อิสลาม และเทอดทูน ปกป้ องอิสลาม
84
นักวิชำกำรมุสลิมแบ่งกำรญิฮำด 4 ระดับ
1. ญิฮาดโดยหัวนจ คือการต่อสู้กับตัณหาราคะ
ของตัวเอง
2. ญิฮาดโดยลิ้น คือการชักชวนคนนห้หันมา
ยอมรับแนวทางที่ถูกต้อง
3. ญิฮาดโดยมือ การสนับสนุนความถูกต้อง
และแก้ไขสิ่งที่ผิด
4. ญิฮาดโดยอาวุธ สงครามเป็นวิธีการสุดท้าย
85
ญิฮาด
 ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อลฯ)
เคยกล่าวไว้ว่า “การที่
เดินทางกลับมาจากสมรภูมิ
ปกป้ องศาสนาอิสลามนั้นก็
ยังไม่นช่ที่สุดของการญิฮาด
แต่การญิฮาดที่ยิ่งนหญ่นั้น
คือการต่อสู้เผชิญหน้ากับ
อารมณ์นฝ่ต่าภายนนตนเอง”
86
อัลกุรอำนสอนควำมรุนแรงกระนั้นหรือ...?
 “...และพวกเจ้าอย่าก่อความเสียหายไว้นนแผ่นดิน หลังจากได้มีการ
ปรับปรุงแก้ไขมันแล้วและจงวิงวอนขอต่อพระองค์ด้วยความยาเกรง
และความปรารถนาอันแรงกล้า แท้จริงความเอ็นดูเมตตาของ
อัลลอฮฺนั้นนกล้แก่ผู้กระทาดีทั้งหลาย...” [7.56]
 “...พระองค์คือ ผู้ทรงนห้พวกเจ้าบังเกิดจากดิน และทรงนห้พวกเจ้า
สร้างความเจริญนนมัน...” [ ฮูด/61]
87
ควำมเข้ำใจในศำสนำคือแนวทำงในกำรดับไฟใต้
 อัลลอฮฺทรงตรัสไว้ความว่า “...
โอ้มนุษยชาติทั้งหลาย แท้จริง
เราได้สร้างพวกเจ้าจากเพศ
ชายและเพศหญิง และเราได้
นห้พวกเจ้าแยกเป็นเผ่าและ
ตระกูล เพื่อจะได้รู้จักกัน...”
(อัลฮุจญรอต : 13)
88
ความเข้านจนนศาสนาคือแนวทางนนการดับไฟนต้
 ท่านนบีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ) กล่าวไว้ว่า “ไม่นช่เป็นส่วนหนึ่งของ
ประชาชาติของฉันสาหรับผู้ที่เรียกร้องบนฐานแนวคิดของ
การคลั่งไคล้นนชาติพันธุ์ ไม่นช่เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติ
ของฉันสาหรับผู้ที่ทาสงครามบนฐานแนวคิดของการคลั่งไคล้
นนชาติพันธุ์และไม่นช่เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติของฉัน
สาหรับผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากการต่อสู้นนการปกป้ องและ
พิทักษ์รักษาแนวคิดของการคลั่งไคล้นนชาติพันธุ์”
89
“ด้วยหลักฐานทั้งหลายที่ชัดแจ้ง และคัมภีร์ต่าง ๆ ที่ศักดิ์สิทธิ์
และเราได้นห้อัลกุรอานแก่เจ้า เพื่อเจ้าจะได้ชี้แจง (นห้กระจ่าง)
แก่มนุษย์ ซึ่งสิ่งที่ได้ถูกประทานมาแก่พวกเขา
และเพื่อพวกเขาจะได้ไตร่ตรอง”
อัลกุรอาน 16:44
90
91
92
จบการนาเสนอ
สวัสดีค่ะ...
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม
1 sur 93

Recommandé

ศาสนาอิสลาม par
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
8.9K vues14 diapositives
ศาสนาเชน par
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
23.9K vues48 diapositives
ศาสนาอิสลาม par
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามนายวินิตย์ ศรีทวี
12.2K vues76 diapositives
ศาสนาซิกส์ par
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์นายวินิตย์ ศรีทวี
1.9K vues54 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
21.3K vues62 diapositives
พระพุทธศาสนา par
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
20.7K vues104 diapositives

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
22.7K vues134 diapositives
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3 par
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
92.3K vues276 diapositives
ศาสนาเปรียบเทียบ par
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
16.3K vues5 diapositives
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย par
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
12.1K vues72 diapositives
ศาสนาสากล par
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
1.5K vues16 diapositives
ความหมายและประเภทของศาสนา par
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนานายวินิตย์ ศรีทวี
24.3K vues48 diapositives

Tendances(20)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Padvee Academy
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy22.7K vues
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3 par O'Orh ChatmaNee
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee92.3K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn99916.3K vues
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย par Kran Sirikran
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran12.1K vues
ศาสนาสากล par ThanaponSuwan
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
ThanaponSuwan1.5K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn99954.5K vues
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par Padvee Academy
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy26.2K vues
ศาสนาชินโต par Padvee Academy
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
Padvee Academy26.6K vues
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย par Kran Sirikran
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
Kran Sirikran61.9K vues
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย) par พัน พัน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน11.8K vues
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา par Thongsawan Seeha
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha8.9K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ 1 par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn99939.5K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย par Bom Anuchit
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
Bom Anuchit11.4K vues
ศาสนาซิกข์ par Padvee Academy
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy36.3K vues
ศาสนาคริสต์ par thnaporn999
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
thnaporn9996.8K vues

Plus de Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book] par
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
4K vues101 diapositives
Onpage stucture checklist par
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
35K vues4 diapositives
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre) par
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
17.9K vues55 diapositives
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย par
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
11.6K vues92 diapositives
ปรัชญากับวิถีชีวิต par
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
10.6K vues163 diapositives
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา par
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
2.2K vues25 diapositives

Plus de Padvee Academy(20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book] par Padvee Academy
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy4K vues
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre) par Padvee Academy
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy17.9K vues
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย par Padvee Academy
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy11.6K vues
ปรัชญากับวิถีชีวิต par Padvee Academy
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy10.6K vues
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา par Padvee Academy
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy2.2K vues
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์ par Padvee Academy
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy622 vues
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes) par Padvee Academy
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy70.8K vues
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ par Padvee Academy
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy1.3K vues
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu) par Padvee Academy
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy21.4K vues
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism par Padvee Academy
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy11.6K vues
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism par Padvee Academy
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy15.4K vues
Timeline : history of philosophy par Padvee Academy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy3.5K vues
Timeline : A History of Eastern Philosophy par Padvee Academy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy971 vues
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์ par Padvee Academy
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy311 vues
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic) par Padvee Academy
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy617 vues
ศิลปะแห่งความรัก par Padvee Academy
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy1.9K vues
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ par Padvee Academy
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy1.7K vues
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics... par Padvee Academy
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy5.2K vues
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law) par Padvee Academy
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy20.9K vues

ศาสนาอิสลาม

  • 2. 2 อิสลาม เป็นศาสนาที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็วที่สุดนนโลก ประชากรโลก (2009) 6,870,200,000 ประชากรมุสลิมโลก (1996) 1,482,596,925 จานวนประชากรมุสลิมโลก (1998) 1,678,442,000 ประชากรมุสลิมในทวีปเอเชีย (1996) 1,022,692,000 (30%) ประชากรมุสลิมในทวีปแอฟริกา (1996) 426,282,000 (59%)
  • 3. 3 Muslim World1. อินโดนีเซีย 195.272 ล้านคน 2. ปากีสถาน 157.528 ล้านคน 3. อินเดีย 154.504 ล้านคน 4. บังคลาเทศ 127.3286 ล้านคน 5. ตุรกี 72.7542 ล้านคน 6. อียิป 70.88 ล้านคน 7. อิหร่าน 68.805 ล้านคน 8. ไนจีเรีย 65.25 ล้านคน 9. จีน 39.111 ล้านคน 10. เอธิโอเปีย 37.40 ล้านคน 11. อัลจีเรีย 33.17 ล้านคน 12. โมรอคโค 31.78 ล้านคน 13. ซูดาน 30.08 ล้านคน 14. อัฟกานิสถาน 29.601 ล้านคน 15. อิรัก 28.71 ล้านคน 16. รัสเซีย 27.04 ล้านคน 17. ซาอุดิอาราเบีย 24.1 ล้านคน 18. อุสเบกิสถาน 23.232 ล้านคน 19. ยเมน 28 ล้านคน 20. ทานซาเนีย 18.95 ล้านคน
  • 4. 4 ความหมายของอิสลาม “อิสลาม” มาจากรากศัพท์ภาษาอาหรับว่า “อัสละมะ” แปลว่า สันติ ความปลอดภัย ความสงบ การยอมนอบ น้อมตนเอง “อิสลาม” ความหมาย “การเข้าสู่ความสันติสุข หรือ ความสงบ” ซึ่งจะเป็นไปได้ก็โดยการยอมจานนต่อ เจตนารมย์หรือพระประสงค์ของอัลลอฮฺผู้ทรงเป็นพระเจ้า ที่แท้จริงแต่เพียงพระองค์เดียว
  • 5. 5 อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน • ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาสากล ประเภทเอกเทวนิยม มีแหล่งกาเนิดนนเอเชียตะวันตก คือ นครเมกกะ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย มีผู้นับถือทั่วโลก ส่วนนหญ่นนประเทศอาหรับ และ เอเชีย • เป็นศาสนาที่มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับ ๒ รองจากศาสนาคริสต์ • อิสลามถือว่า สรรพสิ่งทั้งหลายถูกสร้างโดยพระผู้เป็นเจ้า คือ พระอัลเลาะห์ทุก ๆ สรรพสิ่งดาเนินและเป็นไปตามกฎของพระองค์
  • 6. 6 อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน • ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาแห่งกฎหมาย เพราะคัมภีร์อัลกุรอาน ได้ประมวลหลักธรรมอันเป็นธรรมนูญของชีวิต มีหลักการ ดาเนินชีวิตประจาวันนนสังคมนนทุกๆด้าน เช่น การปกครอง การแต่งงาน พาณิชย์ การลงโทษ เป็นต้น ครอบคลุมทุกมิตินน ชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย • ชาวมุสลิมผู้มีศรัทธา คือ ผู้ที่มีชีวิตนอบน้อมและมอบตนต่อ พระอัลเลาะห์ ย่อมปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่รวบรวมไว้นนคัมภีร์ อัลกุรอานอย่างเคร่งครัดทุกข้อ เพื่อความสันติสุข
  • 7. 7 อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน • - นนกรณีเกิดความเข้านจขัดแย้งกันนนหลักคาสอนของศาสนา อิสลาม นห้ดู “วจนะ” (คาพูด) และ “จริยวัตร” (การปฏิบัติ) ของศาสดา มุฮัมหมัด เป็นแนวตัดสิน • - ได้มีผู้รวบรวม วจนะ และ จริยวัตรของศาสดาไว้ เรียกว่า “ซุนนะฮ์” • - เฉพาะวจนะ เรียกว่า “ฮาดิษ” • - ถ้ายังแก้ปัญหาความขัดแย้งไม่ได้ นห้ฟังคาชี้ขาดของ ปราชญ์ทางศาสนาอิสลาม
  • 8. สำนักข่ำวต่ำงประเทศรำยงำนว่ำ โอมำร์ บูร์กัน อัลกำลำ (Omar Borkan Al Gala) นำยแบบ หนุ่มอำหรับและช่ำงภำพจำกดูไบ ที่กลำยเป็นข่ำวดังคึกโครมไปทั่วโลก จำกกรณีที่ถูกทำงกำร ซำอุดีอะรำเบียสั่งเนรเทศให้ออกจำกประเทศ พร้อมกับเพื่อนนำยแบบอีก 2 คน โดยให้เหตุผล ว่ำ ทั้ง 3 มีรูปร่ำงหน้ำตำที่หล่อและน่ำหลงใหลเกินไป หวั่นทำให้หญิงชำวซำอุฯ คลั่งไคล้และ เสื่อมเสียทำงวัฒนธรรม 8
  • 9. 9
  • 10. 10 อิสลาม...แนวคิดพื้นฐาน • ศาสนาอิสลามมีต้นกาเนิดมาจากศาสนายิวและศาสนาคริสต์ เพราะอัลเลาะห์เจ้าได้ส่งผู้ประกาศข่าว ได้แก่ • นบีมูซา หมายถึง โมเสส • นบีอีซา หมายถึง พระเยซู • นบีคนสุดท้าย คือ นบีมุฮัมหมัด • หลังจากท่านนบีมุฮัมหมัดแล้วไม่มีนบีอีก เพราะถือว่าพระบัญญัติ ที่ส่งมาทางนบีมุฮัมหมัดสมบูรณ์ ถูกต้อง และแน่นอนที่สุด***
  • 11. 11
  • 12. บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม • ศาสนาอิสลามมีความเชื่อว่า บ่อเกิดของศาสนาอิสลามมาจาก การที่อัลเลาะห์ประทานคาสอนแก่ศาสดามุฮัมหมัด โดยทรงนช้ เทวทูตญิบรออิล เป็นผู้มาเปิดเผยนห้ท่านโดยตรง • การเปิดเผยครั้งแรกเกิดขึ้นนนวันที่ ๒๗ เดือนรอมฎอน ค.ศ. ๖๑๐ ณ ถ้าฮิรอ บนภูเขานูร์ ขณะที่ท่านกาลังสงบนจอยู่นนถ้า เทวทูตญิบรออิลมาสวมกอดท่าน แล้วแจ้งพระประสงค์ของอัล เลาะห์นห้ท่านทราบ 12
  • 13. บ่อเกิดของศาสนาอิสลาม • เทพญิบรออิล บอกว่าพระอัลเลาะห์ได้แต่งตั้งนห้มุฮัมหมัดเป็น ศาสดาสั่งสอนศาสนาอิสลามของพระองค์ เพราะฉะนั้นมุฮัมหมัด จึงกลายเป็นนบีเป็นต้นมา • นบีมุฮัมหมัดจึงเป็นศาสนทูตหรือตัวแทนของพระเจ้าบนพื้นพิภพ เมื่อ พ.ศ. ๑๑๕๓ ขณะที่ท่านมีอายุได้ ๔๐ ปี • ท่านศาสดาก็ได้วะฮีย์หรือการเปิดเผยเป็นระยะๆ เรื่อยมาที่ “มัก กะฮฺ” บ้าง ที่“มะดีนะฮฺ” บ้าง เมื่อท่านนบีมุฮัมหมัดสิ้นชีวิตลงได้ ๖ เดือน สาวกที่รู้เรื่องวะฮีย์ ก็ประชุมกันเพื่อรวบรวมขึ้นเป็นเล่ม สอบ ทานกันอย่างถูกต้องทุกคาพูด จึงประกาศนช้เป็น คัมภีร์อัลกุรอาน
  • 14. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา • มุฮัมหมัด เกิดเมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๑๑๑๓ ณ เมือง เมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย มุฮัมหมัดเกิดนนตระกูล ฮาซิม เผ่ากุเรซ อันเป็นเผ่าที่มั่งคั่งและมีชื่อเสียงของอาหรับ • ท่านศาสดาเป็นกาพร้าตั้งแต่เยาว์วัย นนเวลาต่อมาจึงไปอยู่ นนความอุปการะของลุง ชื่อ อาบูตอลิบเรื่อยมา • “มุฮัมหมัด” เป็นชื่อเกียรติคุณนามหลังจากเป็นศาสดาแล้ว แปลว่า ผู้ควรบูชา ส่วนชื่อเดิมของท่านคือ “อาบูคัสซิม” 14
  • 15. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา • นนสมัยที่ท่านศาสดาถือกาเนิดนั้น สังคมอาหรับอยู่นนสภาพที่เสื่อม โทรมมาก ผู้คนมั่วสุมดื่มน้าเมาและเล่นการพนัน การละเมิดประเวณี เกิดขึ้นเป็นประจา มีการฝังเด็กหญิงทั้งเป็นเพราะถือว่าเป็นสิ่ง อัปมงคล การแก้แค้นด้วยการประหัตประหารเป็นเรื่องปกติ • ความเชื่อนนสังคมสมัยนั้นส่วนนหญ่ถือว่ามีเทพเจ้าต่างๆมากมาย แล้วสร้างรูปเคารพแทนเทพแต่ละองค์ขึ้นมา 15
  • 16. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา • จนกระทั่งวันหนึ่งขณะที่ท่านอยู่นนถ้าบนภูเขาฮิรอ เทวทูตญิบรออีล ก็ได้นาโองการของพระอัลเลาะห์ มาประทาน ท่านศาสดามุฮัมมัดจึง เริ่มประกาศศาสนา คนแรกที่เข้ารับนับถือ ศาสนาอิสลาม ก็คือ นาง คอดีญะฮ์ ผู้เป็นภรรยา • หลังจากประกาศศาสนาได้ ๑๓ ปี ท่านศาสดาได้ลี้ภัยจากเมืองเมกกะ โดยไปอยู่ที่เมืองมะดีนะฮ์ ถือเป็นการเริ่มต้นนับศักราช อิสลาม เรียกว่า ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) จนกระทั่งถึงปี พ.ศ.๑๑๗๓ ท่าน ศาสดาก็สามารถรวบรวมผู้คนกลับไปยึดเมืองเมกกะไว้ได้ 16
  • 17. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา • สิ่งแรกที่นบีสั่งนห้สาวกทา คือ นห้ทาลายรูปเคารพนห้หมด โดย นบีมุฮัมหมัดกล่าวว่า “เมื่อความจริงมาแล้ว ความไม่จริงย่อมหนีไป” • นับตั้งแต่กลับเข้าเมืองเมกกะแล้ว นบีมุฮัมหมัดก็ได้ประกาศศาสนา ออกไปอย่างกว้างไกล จึงทานห้มีศาสนิกชนมากขึ้นทุกที เกิดเป็น อาณาจักรมุสลิมขึ้นนนโลก ท่านนบีจึงต้องวางระเบียบปกครองหมู่คณะ โดยท่านนบีเป็นผู้ปกครองสูงสุด วินิจฉัยตัดสินปัญหาต่างๆ ด้วยตนเอง คอยดูแลศาสนาและศาสนิกนห้อยู่กันเป็นปึกแผ่นสงบเรียบร้อย ไม่นห้ นครมาระราน • เพราะฉะนั้น นบีมุฮัมหมัดจึงเป็นประมุขทั้งอาณาจักรและศาสนจักร เป็นผู้ปกครองอาหรับทั้งหมดนนเวลานั้น 17
  • 18. ศาสดาพยากรณ์ - ประวัติศาสดา - ท่ำนศำสดำมุฮัมมัด ถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. ๑๑๗๕ ตรงกับ ฮ.ศ. ๑๑ รวม อำยุได้ ๖๒ ปี ณ เมืองมะดินะ ปัจจุบันพระศพของท่ำนถูกฝังอยู่ที่เมือง มะดินะ เรียกว่ำ “มัสยิดนะบะวีย์” หรือ “มัสยิดนบี” อันเป็นสถำนที่ที่มุสลิม ทั่วโลกพำกันไปทำละหมำดอยู่เสมอ - ท่ำนได้ดำรงตนเป็นผู้เสมอต้นเสมอปลำย มีเมตตำกับทุกคน รักสันโดษ มีควำมยุติธรรม และควำมซื่อสัตย์เป็นเลิศ จนได้รับฉำยำตั้งแต่สมัยเป็น หนุ่มว่ำ “อัลลำมีน” ซึ่งแปลว่ำ ผู้ซื่อสัตย์ 18
  • 19. 19
  • 20. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • คัมภีร์ของศำสนำอิสลำม คือ คัมภีร์อัลกุรอำน (Al-Quran) หรือ ชำวตะวันตก เรียก โกรำน (Koran) • “อัล” เท่ำกับ the / “กุรอำน” แปลว่ำ บทอ่ำน , บทท่อง, พระคัมภีร์ • คัมภีร์อัลกุรอำน หมำยถึง “อ่ำน ท่องเพื่อพระเจ้ำ” >> เป็นพระคัมภีร์ ที่ศำสนิกชนจะต้องอ่ำนและศึกษำให้เข้ำใจ สำมำรถอ่ำนด้วยทำนอง ไพเรำะและมีศิลปะได้ 20
  • 21. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • คัมภีร์อัลกุรอานกาเนิดมาจากการเขียนขึ้นจากคาบอกเล่าของท่านนบี มุฮัมหมัด ซึ่งได้รับทราบจากทูตสวรรค์บ้าง จากพระอัลเลาะห์โดยตรง บ้าง เพื่อนห้นช้เป็นธรรมนูญนนการดาเนินชีวิตของมุสลิมทั่วโลก • คัมภีร์อัลกุรอานเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องแสดงความเคารพอย่างเคร่งครัด เพราทุกตัวอัการเกิดจากการเปิดเผยของพระเจ้า (วะฮีย์) เป็นเทวบัญชา ของพระเจ้า ไม่มีนครจะสงสัย ดัดแปลง แก้ไขได้ • คัมภีร์อัลกุรอาน ได้มีการรวบรวมบันทึกไว้ด้วยภาษาอาหรับ เป็นรูปเล่ม สมบูรณ์ครั้งแรก หลังจากที่ท่านนบีมุฮัมหมัดสิ้นพระชนม์แล้ว ๖ เดือน 21
  • 22. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • คัมภีร์อัลกุรอาน ได้รวบรวมเอาข้อความของคัมภีร์ต่างๆ ที่พระเจ้าได้ เคยประทานแก่ศาสดาองค์อื่นๆ ก่อนหน้านั้นมาไว้ด้วย • *** คัมภีร์อัลกุรอานถือเป็นคัมภีร์สุดท้ายที่สมบูรณ์ที่สุด • ลักษณะการบรรจุเนื้อหานนคัมภีร์อัลกุรอาน แบ่งเป็น “ซูเราะห์” หรือ บท มี ๑๑๔ บท • ๑) ซูเราะห์ที่เมืองเมกกะ >> เรื่องราวของชาติต่างๆ, ลักษณะความ เป็นเอกภาพของพระอัลเลาะห์และศรัทธาที่ควรมีต่อพระองค์, ข้อ พิสูจน์ความเป็นพระเจ้าของพระอัลเลาะห์ และคาสอนนห้ประพฤติดี 22
  • 23. คัมภีร์ศาสนาอิสลาม • ๒) ซูเราะห์ที่เมืองมะดีนะฮฺ >> ประมวลกฎหมาย, หลักปฏิบัติของ มุสลิม • อัล-ฮะดีษ >> เป็นการบันทึกหรืออธิบายเกี่ยวกับคาสอน และ พระจริยวัตรของท่านศาสดามุฮัมหมัด มีอยู่จานวน ๔,๐๐๐ ข้อ เช่น • - มนุษย์ที่ดีที่สุด คือ ผู้บาเพ็ญประโยชน์แก่เพื่อนมนุษย์ • - ผู้นดมีความพยายาม ผู้นั้นจะได้รับความสาเร็จ • - บุรุษที่อิ่มหนาสาราญ นนขณะที่เพื่อนบ้านของเขากาลังตกยาก นั้น ไม่นช่มุสลิม เป็นต้น 23
  • 24. • หลักการศรัทธา 6 ประการ • หลักการปฏิบัติ 5 ประการ 24
  • 25. 25 หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 1. ศรัทธานนพระเจ้าองค์เดียว คือ อัลเลาะห์ 2. ศรัทธานนบรรดามลาอีกะฮ์หรือเทวฑูตของพระองค์ 3. ศรัทธานนบรรดาคัมภีร์ทั้งหลายของพระองค์ 4. ศรัทธานนบรรดานบี และรอซูล (ศาสดา) ทั้งหลาย 5. ศรัทธานนวันพิพากษา 6. ศรัทธานนการกาหนดกฎสภาวะของพระองค์
  • 26. 26 หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 1. ศรัทธานนพระเจ้าองค์เดียว คือ อัลเลาะห์ อิสลามถือว่านนสากลจักรวาลมีพระเจ้าที่เที่ยงแท้เพียง พระองค์เดียว เป็นผู้สร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทรงไว้ซึ่ง ความเมตตาและยุติธรรม ทรงรู้เห็นการกระทาและ เข้านจนนความคิดของมนุษย์ทุกคน ***มุสลิมถือว่าศรัทธานนพระเจ้านี้เป็นหัวนจของการเป็น มุสลิมที่แท้จริง
  • 27. 27 “อัลลอฮ” พระเจ้าผู้ทรงเอกะ • อัลลอฮ คือพระนามหนึ่งของพระเจ้าผู้ทรงเอกะ • อัลลอฮยังมีพระนามอันวิจิตรอีก 99 พระนาม อาทิ ผู้ทรงเมตตา ผู้ทรงกรุณาปราณี ผู้ทรงอ่อนโยน ผู้ทรงสร้าง ผู้ทรงรอบรู้ ผู้ทรงวิทยปัญญา และ เป็นพระผู้อภิบาลแห่งสากลจักรวาล ผู้เป็นองค์แรก ผู้เป็นองค์สุดท้าย เป็นต้น
  • 28. 28 หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 2. ศรัทธานนบรรดามลาอีกะฮ์ หรือเทวฑุตของพระองค์ ว่ามีจริง มีชื่อและหน้าที่ต่างๆกัน - มลาอีกะฮ์ เป็นบ่าวของอัลลอฮฺที่ถูกสร้างจากรัศมี ไม่มี เพศไม่ขัดขืนคาสั่งของอัลลอฮฺไม่กิน ไม่ดื่ม ไม่หลับไม่นอน - มลาอีกะฮ์ จะทาหน้าที่สาคัญบางอย่างที่อัลลอฮฺ มอบหมายนห้ -- เช่น ญิบรออิล, รกิบ-อติ๊ด, อิสรออีล เป็นต้น
  • 29. 29 หลักการศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 3. ศรัทธานนบรรดาคัมภีร์ทั้งหลายของอัลลอฮฺ เชื่อว่าพระอัลเลาะห์ได้ประทานคัมภีร์มาแล้วจานวน ๑๐๔ เล่ม ที่สาคัญมี ๔ เล่ม ๑) คัมภีร์เตารอด (นบีมูซา) ๒) คัมภีร์อินญีล (นบีอีซา) ๓) คัมภีร์ซาบูร์ (นบีวูด หรือเดวิด) ๔) คัมภีร์อัลกุรอาน (นบีมุฮัมหมัด) เป็นเล่มสุดท้าย ที่ สมบูรณ์ที่สุด
  • 30. 30 หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ “จงอ่าน ! ด้วยพระนามของพระผู้อภิบาลของสูเจ้าผู้ทรงสร้าง ผู้สร้างมนุษย์จากก้อนเลือด จงอ่านและพระผู้อภิบาลของเจ้านั้น ทรงไพโรจน์ ผู้ทรงสอนด้วยปากกา ผู้ทรงสอนมนุษย์ นนสิ่งที่เขาไม่รู้”
  • 31. 31 • มุสลิมจะต้องเชื่อถือศรัทธานนคัมภีร์ต่อไปนี้อีกด้วย หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 1. คัมภีร์ซะบูรฺ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ถูก ประทานนห้แก่ศาสดาดาวุด (เดวิด) 2. คัมภีร์เตารอต ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ ถูกประทานนห้แก่ศาสดามูซา (โมเสส) 3. คัมภีร์อินญีล (ไบเบิ้ล) ซึ่งถูก ประทานนห้แก่ศาสดาอีซา (เยซูคริสต์)
  • 32. 32 หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 4. ศรัทธานนบรรดานบี และรอซูล (ศาสดา) หรือ ศาสนทูตทั้งหลาย ซึ่งเป็นผู้รับเทวโองการของพระเจ้า มุสลิมทุกคนต้องยอมรับนับถือศาสดาทั้งหลายที่มา เทศนาก่อนศาสดามุฮัมมัด ไม่ว่าศาสดาเหล่านั้นจะ ปรากฎชื่ออยู่นนคัมภีร์อัล-กุรอานหรือไม่ก็ตาม ไม่ว่า ศาสดาเหล่านั้นจะเป็นชนชาตินดอยู่ที่ไหนพูดภาษา อะไรก็ตาม
  • 33. 33 ศำสดำที่สำคัญในอิสลำม 1.นบีอาดัม 2.นบีอิดรีส 3.นบีนูฮฺ (โนอา) 4.นบีฮูด 5.นบีซอลิฮฺ 6.นบีอิบรอฮีม (อับราฮัม) 7.นบีลูฎ 8.นบีอิสฮาก (ไอแซค) 9.นบีอิสมาอีล 10.นบียะอฺกู๊บ (เจค็อบ) 11.นบียูซุฟ (โจเซฟ) 12.นบีซุลกิฟลี 13.นบีอัยยูบ 14.นบีมูซา (โมเสส) 15.นบีฮารูน 16.นบีอิลยาส 17.นบียูนุส 18.นบีชุอัยบ์ 19.นบีดาวุด (เดวิด) 20.นบีสุลัยมาน (โซโลมอน) 21.นบีอัลยะสะอฺ 22.นบีซะกะรียา 23.นบียะฮฺยา 24.นบีอีซา (เยซูคริสต์) 25.นบีมุฮัมมัด (ศาสดาคนสุดท้าย)
  • 34. 34 หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 5. ศรัทธานนวันสุดท้ายและ การเกิดนหม่นนวันปรโลก >> วันพิพากษา ชาวมุสลิมต้องเชื่อว่า โลกนี้เป็นที่พักพิงชั่วคราวเพื่อ ทดลองความภักดีต่อพระอัลเลาะห์ จนถึงวันพิพากษา มนุษย์ทุกคนจะคืนชีพ มีร่างกายขึ้นมานหม่เพื่อรับการ พิพากษาขั้นสุดท้าย
  • 35. 35 หลักศรัทธา (อิหม่าน) 6 ประการ 6. ศรัทธานนการกาหนดสภาวการณ์ของพระองค์ เชื่อว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นนนเอกภพนี้ล้วนถูกกาหนดขึ้น โดยพระอัลเลาะห์ทั้งสิ้น พึงยอมรับสภาพด้วยนจภักดี ต่อพระอัลเลาะห์เสมอ ประกอบด้วย 1) กฎธรรมชาติ 2) กฎการดาเนินชีวิต (ชะรีอ๊ะฮฺ) 3) กฎแห่งชะตากรรม
  • 37. 37 หลักการปฏิบัติ (อิสลามิกวัตร) 5 ประการ 1. การกล่าวคาปฏิญาณตน 2. การนมาซหรือละหมาดวันละ 5 เวลา 3. การถือศีลอดนนเดือนรอมฎอน 4. การจ่ายซะกาต 5. การทาฮัจญ์
  • 38. 38
  • 39. 39 1. การกล่าวคาปฏิญาณตนว่า หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ “ไม่มีพระเจ้าอื่นนดนอกจากอัลลอฮฺ และ มุฮัมมัด เป็นศาสนทูตของอัลลอฮฺ” เป็นการยอมรับด้วยศรัทธาและความบริสุทธิ์นจว่า พระอัลเลาะห์ทรง เป็นพระเจ้าสูงสุดเพียงองค์เดียว การปฏิญาณตนเป็นก้าวแรกที่ นาไปสู่ความเป็นมุสลิมอย่างสมบูรณ์
  • 40. 40 2. การนมาซหรือละหมาดวันละ 5 เวลา - มองเห็นได้ชัดเจนที่สุด หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ
  • 41. การละหมาด • การละหมาดเป็นการแสดงความเคารพต่อพระเป็นเจ้า เป็น การขอบคุณ ขอขมา และสรรเสริญพระองค์ • - มุสลิมทั้งชาย หญิงที่บรรลุนิติภาวะแล้วจะต้องปฏิบัติทุกวัน วันละ ๕ ครั้ง นนเวลาเช้ามืด, เที่ยงวัน, บ่าย, พระอาทิตย์ตก และเวลาค่า • - ผู้ปฏิบัติทุกคนต้องหันหน้าไปสู่ทิศทางเดียวกัน คือ ทิศที่ตั้ง ของวิหารกาบาห์ ที่นครเมกกะ ซาอุดิอารเบีย • - แสดงถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันของมุสลิมทั่วโลก 41
  • 42. 42 3. การถือศีลอดนนเดือนรอมฎอน คือ การงดเว้นการรับประทานอาหาร การดื่ม การร่วมประเวณี และ การทาชั่วทั้งปวง ตั้งแต่แสงอรุณขึ้นจนหมดแสงอาทิตย์ตอนค่า ต้องปฏิบัติตลอดเดือนรอมฎอน (เดือน ๙ ของฮิจเราะห์ศักราช) การถือศีลอดมีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกมุสลิมนห้เกิดความยาเกรง ต่อพระเจ้า ระลึกถึงท่านนบีมุฮัมหมัดตอนไปบาเพ็ญภาวนาที่ถ้า บนภูเขาฮิรอ และเป็นการขัดเกลาจิตนจมุสลิม ฝึกความอดทน และเพื่อนห้เกิดความเห็นนจต่อคนขัดสนยากจน หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ
  • 44. 44 นายแพทย์ Allan Cott ชาวอเมริกันได้เขียนหนังสือ “Why Fast ?” (ทาไมต้องถือศีลอด) ไว้ 10 ข้อ ดังนี้ 1. ทานห้รู้สึกว่าสุขภาพกายและจิตนจที่ดีขึ้น 2. ทานห้มองเห็นและรู้สึกอ่อนเยาว์ขึ้น 3. ทานห้ร่างกายสะอาดสะอ้าน 4. ช่วยลดความดันโลหิตสูงและระดับคอเลสเตอรอลนนเลือด 5. ช่วยลดความรู้สึกอารมณ์นคร่ 6. นห้โอกาสแก่ร่างกายได้มันบาบัดตัวมันเอง 7. ช่วยลดความตึงเครียด 8. ทานห้สติปัญญาเฉียบแหลม 9. ทานห้สามารถควบคุมตนเองได้ 10. ช่วยชะลอความชรา / แก่
  • 45. 45 4. การจ่ายซะกาต (บริจาคทาน) คือการบริจาคทรัพย์สินเป็นทานประมาณ ๒.๕% ของทรัพย์สินที่มีอยู่ แก่ ผู้คนอนาถา เด็กกาพร้า คนขัดสน ผู้มีหนี้สิน ผู้เผยแผ่ ศาสนา ผู้เดินทางที่ขัดสน เพื่อเป็นการขัดเกลาจิตนจผู้บริจาคนห้สะอาด บริสุทธิ์ ลดความเห็นแก่ตัว และตระหนักว่า ทรัพย์สินเป็นของฝากจาก อัลเลาะห์ หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ
  • 46. 46 “ซะกาต” แปลว่า การทานห้ สะอาด บริสุทธิ์ และการเจริญเติบโต วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการยืนยันถึง ความศรัทธา เพื่อซักฟอกทรัพย์สิน และจิตนจของผู้จ่ายนห้มีความสะอาด บริสุทธิ์ ขณะเดียวกันก็เพื่อเป็นการ สร้างความเจริญนห้แก่สังคม
  • 47. 47 5.การประกอบพิธีฮัจญ์ เป็นการไปแสวงบุญ ณ เมืองเมกกะ อย่างน้อยหนึ่งครั้งนนชีวิต นอกจากจะเป็นการแสดงความเคารพภักดี และยืนยันนนความศรัทธาต่อ อัลเลาะห์ แล้วยังสอนมนุษย์ทุกคนนห้รู้สานึกว่านน สายตาของอัลเลาะห์มนุษย์ทุกคนเท่าเทียม กัน และตระหนักว่ามุสลิมทุกคนเป็น พี่น้องกัน หลักการปฏิบัติ (หลักการอิสลาม) 5 ประการ.
  • 49. การกระทาที่เป็นข้ออนุญาตและส่งเสริม - Halal • บอกทางนห้แก่ผู้หลงทาง • ต่อสู้ถ้ามีการกดขี่ • รู้จักการนห้อภัยและยึดเอาความผ่อนปรน • เป็นคนดีต่อบิดามารดา ต่อญาติ ต่อเด็ก • สารวมตนนห้พ้นความชั่ว • เตือนกันและกันนนสัจธรรม • ศึกษาวิชาตั้งแต่อยู่นนเปลจนถึงหลุมศพ • ตวงนห้เต็มเมื่อจะตวง และชั่งด้วยตราชั่งที่เที่ยงตรง ฯลฯ 49
  • 50. การกระทาที่เป็นข้อห้ามปราม - Harom • ห้ามยกย่องนครหรือสิ่งนดเสมอพระอัลเลาะห์ • ห้ามเคารพบูชารูปทุกชนิด • ห้ามกราบไหว้บูชาธรรมชาติทุกชนิด • ห้ามขายบริการหรือห้ามดื่มสุราเมรัยทุกชนิด • ห้ามเรียกหรือนห้ดอกเบี้ย • ห้ามเสี่ยงโชคหรือการพนันทุกชนิด • ห้ามคุมกาเนิด ห้ามทาแท้ง • ห้ามฆ่าตัวเองและผู้อื่น ฯลฯ 50
  • 51. พิธีกรรมของศาสนาอิสลาม • ๑) พิธีฮัจญ์ • ๒) พิธีถือศีลอด • ๓) พิธีละหมาด • ๔) พิธีบริจาคซะกาต • ๕) พิธีสุหนัต • ๖) พิธีศพ 51
  • 52. จุดหมายสูงสุดของศาสนาอิสลาม • ศาสนาอิสลามมีจุดหมายปลายทางคือ การได้ไปอยู่กับพระ เจ้านนสรวงสวรรค์ อันเป็นความสุขนิรันดร • จะไปสู่จุดมุ่งหมายได้ *** ชาวมุสลิมจะต้องถือปฏิบัติตาม บทบัญญัติว่าด้วยหลักปฏิบัติ ๕ ประการของอิสลามโดย เคร่งครัดและถูกต้องสมบูรณ์ 52
  • 53. นิกายนนศาสนาอิสลาม • ๑) นิกายชุนนี (Sunni) เป็นนิกายที่ยึดคัมภีร์อัลกุรอานเป็นหลัก และถือพระวจนะของท่านนบีมุฮัมหมัดเป็นทางนา และปฏิบัติ ตามอิหม่ามทั้ง ๔ ***ชนมุสลิมกลุ่มนหญ่นับถือนิกายนี้ รวมทั้งนน ประเทศอินโดนิเซีย มาเลเซีย และไทยด้วย • ๒) นิกายชีอะฮฺ (Sheite) ถือว่าผู้ที่เหมาะสมจะเป็นกาหลิบ หรือ ผู้ปกครองชาวมุสลิมต่อจากมุฮัมหมัด คือ อาลี ซึ่งเป็นบุตรเขย ของศาสดา (เจ้าเซ็น) • ๓) นิกายวาฮาบี ต้องการทานห้ศาสนาบริสุทธิ์เหมือนสมัยท่าน ศาสดา ไม่เชื่ออิหม่าม นักบุญ หรือนักปราชญ์ต่างๆ 53
  • 55. สัญลักษณ์นนศาสนาอิสลาม • นนศาสนาอิสลามเคารพเฉพาะพระอัลเลาะห์องค์เดียวเท่านั้น ไม่มีการเคารพบูชารูปเคารพนดๆ • สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามโดยอนุโลม ได้แก่ “รูปพระจันทร์ ครึ่งเสี้ยวและมีดวงดาวอยู่ข้างบน เป็นเครื่องหมายของ อาณาจักรอ๊อตโตมานเตอร์กนนอดีตที่เคยรุ่งเรือง (ศตวรรษที่ ๑๕ ถึง ๒๐) บรรดาประเทศมุสลิมที่เคยอยู่นนอานาจของ อาณาจักรอ๊อตโตมานเตอร์ก จึงยึดเอาเครื่องหมายนี้เป็น สัญลักษณ์ขงอตนนนฐานะชนชาติมุสลิมเหมือนกันสืบมา 55
  • 56. Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทยเพื่อกลุ่มอิสลาม 56
  • 57. Halan - เครื่องหมายการค้า ของไทยเพื่อกลุ่มอิสลาม • เป็นศัพท์นิติศาสตร์อิสลามจากภาษาอาหรับ คือกฎบัญญัติอนุมัติ นห้ มุกัลลัฟ (มุสลิมที่อยู่นนศาสนนิติภาวะ) กระทาได้ อันได้แก่ การนึกคิด วาจา และการกระทาที่ศาสนาได้อนุมัตินห้ • ***เช่น การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้รับการเชือดอย่างถูกต้อง การค้าขายโดยสุจริตวิธี การสมรสกับสตรีตามกฏเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น นนเมืองไทย คาว่า ฮาลาล เป็นที่รู้จักนนความหมาย อาหาร หรือสิ่งเจือปนที่ไม่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม อาหาร สาเร็จรูปประเภทนี้จะมีตราฮาลาล 57
  • 58. 58 ทัศนะของอิสลามต่อธรรมชาติ • ธรรมชาติ คือกฎระเบียบที่อัลลอฮฺได้ทรงวางไว้ นห้แก่ทุกสรรพสิ่งนนสากลจักรวาล ตั้งแต่การ เคลื่อนไหวของอะตอมนนโมเลกุล การทางานของ ระบบอวัยวะนนร่างกายมนุษย์ไปจนถึงการโคจรของ ดวงดาวต่าง ๆ นนสากลจักรวาล
  • 59. 59 • กฎระเบียบเหล่านี้เป็น “ซุนนะฮ์” (แบบแผน) ของ อัลลอฮฺ ที่ไม่อาจ เปลี่ยนแปลงได้ และเป็นสิ่งที่อยู่ เบื้องหลังสิ่งที่มนุษย์เรียกว่าปรากฎ การทางธรรมชาติ • มนุษย์เป็นเพียงแต่ผู้ที่ค้นพบกฎ เหล่านี้ และนามันมานช้ประโยชน์ เท่านั้น ทัศนะของอิสลามต่อธรรมชาติ
  • 61. 61
  • 62. 62 ทาไมอิสลามจึงห้ามกินหมู...? 1. เนื้อหมูถูกห้ามนนอัลกุรอาน 2. การบริโภคเนื้อหมูเป็นสาเหตุของ โรคหลายชนิด 3. เนื้อหมูก่อนห้เกิดการสร้างไขมัน เกินความจาเป็น 4. หมูเป็นสัตว์ที่สกปรกที่สุดนนโลก ชนิดหนึ่ง 5. หมูเป็นสัตว์ที่มีความอายน้อยที่สุด หมู ไม่อร่อย...?
  • 63. 63 อาหารฮาลาลคืออะไร...? • ฮาลาล หมายถึง สิ่งที่กฎหมายอิสลาม หรือ บทบัญญัติของอัลลอฮฺ อนุมัตินห้ ปฏิบัติหรือบริโภคได้ • อาหารฮาลาล หมายถึง อาหารที่อนุมัตินห้ มุสลิมบริโภค • ขณะเดียวกัน มุสลิม จะหลีกเลี่ยงการ บริโภคอาหารที่ศาสนาห้าม ซึ่งเรียกกันว่าอาหารหะรอม
  • 64. 64 หะรอม • หะรอม หมายถึง สิ่งที่กฎหมายอิสลาม หรือบทบัญญัติของอัลลอ ฮฺไม่อนุมัตินห้กระทา และถือเป็นที่ต้องห้าม สาหรับมุสลิม นครก็ตาม ที่เข้าไปเกี่ยวข้อง จะต้องได้รับโทษจากอัลลอฮฺ (ซ.บ.) มุสลิม หรือผู้ศรัทธาต้องดาเนินชีวิตตาม แนวทางที่ฮาลาล และ หลีกเลี่ยงสิ่งที่หะรอม
  • 65. 65 • นม (จากวัว แกะ และแพะ) • น้าผึ้ง • ปลา • พืชที่ไม่มีสารที่เป็นพิษ • ผัก ผลไม้ • พืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วลิสง เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ลูกวอลนัท ฯลฯ • เมล็ดข้าว หรือธัญพืช เช่น ข้าวสาลี ข้าวเจ้า ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโอ๊ต ฯลฯ • สัตว์จาพวก วัว แกะ แพะ กวาง ไก่ เป็ด นก ฯลฯ ซึ่งเป็นสัตว์ที่ฮาลาล และจะต้องผ่านกระบวนการฆ่า ตามหลักการอิสลาม จึงจะเป็นที่อนุมัติ นห้บริโภคสาหรับมุสลิม อาหารฮาลาล
  • 66. 66 • หมูบ้ำน, หมูป่ำ, สุนัข, ลำ, และ สัตว์กินเนื้อเช่น เสือ • สัตว์เลื้อยคลำน และสัตว์นำโรค เช่น หนอน, หมัด, เห็บ, แมลงวันและแมลงสำบ เป็นต้น • สัตว์ที่ตำยเอง ยกเว้นสัตว์น้ำ สัตว์ที่ถูกรัดคอตำย สัตว์ที่ถูกตี, ทุบ หรือขว้ำงตำย สัตว์ที่ตกจำกที่ สูงตำย สัตว์ที่ถูกขวิดตำย และสัตว์ที่ถูกสัตว์อื่นกินจนตำย • สัตว์ที่ถูกเชือดด้วยนำมอื่นนอกจำกอัลลอฮฺ สัตว์ที่ถูกเชือดเพื่อบูชำเจว็ด • สัตว์ที่มีเขี้ยวและกรงเล็บ เช่น สิงห์โต, หมี, และสัตว์อื่นที่มีลักษณะเดียวกัน เช่น ลิง, แมว • สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น กบ, จระเข้, และเต่ำ • สัตว์ที่อิสลำมอนุญำตให้ฆ่ำได้ เช่น แมงป่อง, ตะขำบ, หนู และสัตว์สกปรก มีพิษอื่น ๆ • สัตว์ที่ห้ำมฆ่ำในอิสลำม เช่น มด, ผึ้ง, นกหัวขวำน • นกที่มีกรงเล็บไว้ล่ำเหยื่อ เช่น เค้ำแมว, เหยี่ยว, อินทรีย์ และนกประเภทเดียวกัน • เนื้อสัตว์ที่ตัดจำกสัตว์ขณะมีชีวิต เช่น ขำ แขน หำง • เลือด • เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น สุรำ, ไวน์รวมทั้งเครื่องดื่มที่เป็นพิษและเป็นอันตรำย สิ่งเสพติด • สิ่งที่ได้มำโดยกำรเสี่ยงทำย • วัตถุเจือปนอำหำร (Food Additives) ที่ผลิตขึ้นจำกอำหำรต้องห้ำมข้ำงต้น อาหารที่ไม่อนุมัติ (หะรอม) แก่มุสลิม มีดังนี้
  • 68. 68 1.อิสลามยอมรับความต้องการทางเพศของ ฝ่ายชาย แต่อิสลามก็ควบคุมความต้องการนั้น นห้อยู่นนทางที่ถูกที่ควร 2.อัลลอฮ เป็นผู้สร้างมนุษย์ ทรงรู้ความสามารถ ของมนุษย์เป็นอย่างดี 3.“ความยุติธรรม” เป็นเงื่อนไขสาคัญ ขณะเดียวกันก็เพื่อที่จะ นห้มุสลิมได้นา หลักการอิสลามไปนช้นนการแก้ปัญหาสังคมนน บางสถานการณ์ที่จาเป็น ทาไมอิสลามอนุญาตนห้มีภรรยามากกว่า 1 แต่ไม่เกิน 4
  • 72. 72 ฮิญาบ คือ การปกปิดอันถูกต้องสาหรับสตรีซึ่งจัดว่าเป็นหนึ่งใน ปัจจัยที่มีผลมากที่สุดในการปกป้ อง และดูแลครอบครัว สตรีที่ไม่ ปกปิดศีรษะและเรือนร่างของเธอนั้น เท่ากับเป็นการจุดไฟแห่ง อารมณ์ของบุรุษให้ลุกโชติช่วง เปิดประกายสายตาของเขาให้เบิก ออก และสาดส่องสายตาไปตามอารมณ์และอานาจฝ่ายต่าโดยไม่ อาจควบคุมได้อีก ตั้งมากมายของอาชญากรรมที่เกิดขึ้น หรือความ เสื่อมทรามทางสังคมทีไม่อาจคานวณนับได้นั้น ส่วนหนึ่งมาจาก บทบาทของสตรีที่ไม่คลุมผ้าให้มิดชิด ซึ่งชายแปลกหน้าทั้งหลายบน โลกนี้ล้วนตกเป็นเหยื่อความสวยงามเหล่านั้นทั้งสิ้น......
  • 73. 73 ฮิญาบ คือองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยรักษาความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรี ของสตรี เป็นเสมือนป้ อมปราการที่คอยปกป้ องเธอให้รอดปลอดภัย ตลอดเวลา จากการถลาไปในความชั่วร้ายอนาจาร หรือการกระทาที่ ไม่ดีไม่งามทั้งหลาย นอกจากนั้นแล้ว ฮิญาบ ยังช่วยเสริมสร้าง เกียรติยศและทาให้สตรีคนนั้นได้รับเกียรติ และได้ความเคารพจาก บุคคลอื่น อีกทั้งยังทาให้เธออกห่างจากความผิดบาป
  • 75. 75 ศีล 5 กับมุสลิม 1. ปาณาติปาตา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต 2. อทินฺนาทานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการลักทรัพย์ 3. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการประพฤติผิดนนกามทั้งหลาย 4. มุสาวาทา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการพูดเท็จ คาหยาบ หรือพูดส่อเสียด 5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการดื่มน้าเมา อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
  • 76. 76 1. ปาณาติปาตา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการฆ่าสัตว์ ตัดชีวิตอิสลามสอนว่า .... • ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ل‬ُ‫ت‬ْ‫ق‬َ‫ت‬َ‫ال‬َ‫و‬ َْ‫س‬ْ‫ف‬َّ‫ن‬‫ال‬ ‫ي‬ِ‫ت‬َّ‫ل‬‫ا‬ َْ‫م‬َّ‫ر‬َ‫ح‬ ُْ ّ‫الل‬ َّْ‫ال‬ِ‫إ‬ ِّْ‫ق‬َ‫ح‬‫ال‬ِ‫ب‬ • และท่านทั้งหลายจงอย่าฆ่าชีวิตนดที่อัลลอฮฺได้ทรงห้ามไว้ นอกจากเพื่อสิทธิอันชอบธรรม (17:33) ศีล 5 กับมุสลิม
  • 77. 77 2. อทินฺนาทานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการลักทรัพย์ อิสลามสอนว่า • ُْ‫ق‬ ِ‫ار‬َّ‫س‬‫ال‬َ‫و‬ ُْ‫ة‬َ‫ق‬ ِ‫ار‬َّ‫س‬‫ال‬َ‫و‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ع‬َ‫ط‬ْ‫اق‬َ‫ف‬ ‫ا‬َ‫م‬ُ‫ه‬َ‫ي‬ِ‫د‬ْ‫ي‬َ‫أ‬ ‫اء‬َ‫ز‬َ‫ج‬ ‫ا‬َ‫م‬ِ‫ب‬ ‫ا‬َ‫ب‬َ‫س‬َ‫ك‬ ْ‫ا‬‫ال‬‫ا‬َ‫ك‬َ‫ن‬ َْ‫ن‬ِّ‫م‬ ِْ ّ‫الل‬ • ส่วนขโมยผู้ชายและขโมยผู้หญิงนั้น ท่านทั้งหลายจงตัดมือมันทั้งสองเป็น การตอบแทนสาหรับสิ่งที่มันได้กระทาไว้ เป็นการลงโทษเพื่อเป็น เยี่ยงอย่างจากอัลลอฮฺ (5:38) • َْ‫ال‬َ‫و‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ب‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ َْ‫ل‬‫ا‬َ‫م‬ ِْ‫يم‬ِ‫ت‬َ‫ي‬ْ‫ل‬‫ا‬ َّْ‫ال‬ِ‫إ‬ ‫ي‬ِ‫ت‬َّ‫ل‬‫ا‬ِ‫ب‬ َْ‫ي‬ِ‫ه‬ ُْ‫ن‬َ‫س‬ْ‫ح‬َ‫أ‬ • และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้านกล้ทรัพย์ของเด็กกาพร้า (ด้วยเจตนาฉ้อฉล) นอกจากเพื่อดาเนินการนนสิ่งที่ดียิ่ง (17:34) ศีล 5 กับมุสลิม
  • 78. 78 3. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการประพฤติ ผิดนนกามทั้งหลาย อิสลามสอนว่า • َْ‫ال‬َ‫و‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ب‬َ‫ر‬ْ‫ق‬َ‫ت‬ ‫ى‬َ‫ن‬ ِّ‫الز‬ ُْ‫ه‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬ َْ‫ان‬َ‫ك‬ ْ‫ا‬‫َة‬‫ش‬ ِ‫اح‬َ‫ف‬ ‫اء‬َ‫س‬َ‫و‬ ْ‫ا‬‫ل‬‫ي‬ِ‫ب‬َ‫س‬ • และท่านทั้งหลายจงอย่าเข้านกล้การละเมิดประเวณี แท้จริงมันเป็นการ ลามกและเป็นหนทางอันชั่วช้ายิ่ง (17:32) ศีล 5 กับมุสลิม
  • 79. 79 4. มุสาวาทา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการพูดเท็จ คาหยาบ หรือพูดส่อเสียด อิสลามสอนว่า • ‫وا‬ُ‫ب‬ِ‫ن‬َ‫ت‬ْ‫اج‬َ‫و‬ َْ‫ل‬ ْ‫و‬َ‫ق‬ ِْ‫ور‬ُّ‫الز‬ • และท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากการกล่าวเท็จ (22:30) ศีล 5 กับมุสลิม
  • 80. 80 5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี (สิกฺขาปทสมาทิยามิ) เว้นจากการ ดื่มน้าเมา อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท อิสลามสอนว่า • ‫ا‬َ‫ي‬ ‫ا‬َ‫ه‬ُّ‫ي‬َ‫أ‬ َْ‫ين‬ِ‫ذ‬َّ‫ل‬‫ا‬ ْْ‫ا‬‫و‬ُ‫ن‬َ‫م‬‫آ‬ ‫ا‬َ‫م‬َّ‫ن‬ِ‫إ‬ ُْ‫ر‬ْ‫م‬َ‫خ‬ْ‫ل‬‫ا‬ ُْ‫ر‬ِ‫س‬ْ‫ي‬َ‫م‬ْ‫ل‬‫ا‬َ‫و‬ ُْ‫اب‬َ‫ص‬‫ن‬َ‫األ‬َ‫و‬ ُْ‫م‬َ‫ال‬ْ‫ز‬َ‫األ‬َ‫و‬ ْ‫س‬ْ‫ج‬ ِ‫ر‬ ِّْ‫م‬ ْْ‫ن‬ ِْ‫ل‬َ‫م‬َ‫ع‬ ِْ‫ان‬َ‫ط‬ْ‫ي‬َّ‫ش‬‫ال‬ ُْ‫ه‬‫و‬ُ‫ب‬ِ‫ن‬َ‫ت‬ْ‫اج‬َ‫ف‬ ْْ‫م‬ُ‫ك‬َّ‫ل‬َ‫ع‬َ‫ل‬ َْ‫ون‬ُ‫ح‬ِ‫ل‬ْ‫ف‬ُ‫ت‬ • โอ้บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลายเอ๋ย แท้จริงสุรา, การพนัน, การเซ่นสรวง บูชา และการเสี่ยงทายนั้นเป็นความโสมมจากการกระทาของชัยฏอน (มารร้าย) ดังนั้นท่านทั้งหลายจงห่างไกลจากมันเถิด เพื่อว่าพวกท่านจัก ได้ชัยชนะ (5:90) ศีล 5 กับมุสลิม
  • 81. 81 ลักษณะเด่นของอิสลามที่แตกต่างไปจากศาสนาอื่น ๆ 1. อิสลามเป็นศาสนาที่เชื่อถือนนพระเจ้าองค์เดียวนั่นคือ “อัลลอฮฺ” 2. ไม่มีการเคารพสักการะ หรือบูชารูปปั้น หรือรูปวาดของ พระเจ้าและศาสดา 3. อิสลามมิได้เป็นศาสนาของเผ่าพันธุ์นด แต่เป็นของมนุษยชาติ 4. คัมภีร์อัลกุรอานบรรจุแนวทางการดาเนินชีวิตประจาวัน ทุกขั้นตอน เป็นสารของอัลลอฮฺ มิได้ถูกประพันธ์โดยมนุษย์
  • 82. 82 5. มุสลิมเคารพศาสดาทุกคนก่อนหน้าศาสดามุฮัมมัด แต่ถือว่าศาสดา มุฮัมมัด เป็นศาสดาคนสุดท้าย อิสลามครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว 6. ไม่มีสถาบันพระ หรือนักบวช มนุษย์ทุกคนมีสิทธิที่จะนกล้ชิดพระเจ้า 7. อาศัยตัวบทกฎหมายและความเชื่อควบคุมพฤติกรรมมนุษย์ มีบทลงโทษมนุษย์ที่ทาความผิดขณะยังมีชีวิต เช่นลงโทษขโมย ด้วยการตัดมือ และมีการลงโทษคนทาบาปหลังจากที่เขาตายไปแล้ว ลักษณะเด่นของอิสลามที่แตกต่างไปจากศาสนาอื่น ๆ
  • 83. 83 ญิฮาด (JIHAD) • “ญิฮาด” มาจากคาว่า “ญะฮาดา”หมายถึง “ความพยายาม” • “ญิฮาด” หมายถึง การพยายาม การดิ้นรนต่อสู้ หรือการนช้ พลังอานาจของตนเองไปนนแนวทางของอัลลอฮฺ เพื่อที่จะ เพิ่มพูนความศรัทธานนพระเจ้า ซึ่งจะบรรลุได้ด้วยความมี ศรัทธามั่น การกระทาความดี หลีกเลี่ยงความชั่ว การทาตามคาสั่งของพระผู้เป็นเจ้า การเผยแพร่ศาสนา อิสลาม และเทอดทูน ปกป้ องอิสลาม
  • 84. 84 นักวิชำกำรมุสลิมแบ่งกำรญิฮำด 4 ระดับ 1. ญิฮาดโดยหัวนจ คือการต่อสู้กับตัณหาราคะ ของตัวเอง 2. ญิฮาดโดยลิ้น คือการชักชวนคนนห้หันมา ยอมรับแนวทางที่ถูกต้อง 3. ญิฮาดโดยมือ การสนับสนุนความถูกต้อง และแก้ไขสิ่งที่ผิด 4. ญิฮาดโดยอาวุธ สงครามเป็นวิธีการสุดท้าย
  • 85. 85 ญิฮาด  ท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อลฯ) เคยกล่าวไว้ว่า “การที่ เดินทางกลับมาจากสมรภูมิ ปกป้ องศาสนาอิสลามนั้นก็ ยังไม่นช่ที่สุดของการญิฮาด แต่การญิฮาดที่ยิ่งนหญ่นั้น คือการต่อสู้เผชิญหน้ากับ อารมณ์นฝ่ต่าภายนนตนเอง”
  • 86. 86 อัลกุรอำนสอนควำมรุนแรงกระนั้นหรือ...?  “...และพวกเจ้าอย่าก่อความเสียหายไว้นนแผ่นดิน หลังจากได้มีการ ปรับปรุงแก้ไขมันแล้วและจงวิงวอนขอต่อพระองค์ด้วยความยาเกรง และความปรารถนาอันแรงกล้า แท้จริงความเอ็นดูเมตตาของ อัลลอฮฺนั้นนกล้แก่ผู้กระทาดีทั้งหลาย...” [7.56]  “...พระองค์คือ ผู้ทรงนห้พวกเจ้าบังเกิดจากดิน และทรงนห้พวกเจ้า สร้างความเจริญนนมัน...” [ ฮูด/61]
  • 87. 87 ควำมเข้ำใจในศำสนำคือแนวทำงในกำรดับไฟใต้  อัลลอฮฺทรงตรัสไว้ความว่า “... โอ้มนุษยชาติทั้งหลาย แท้จริง เราได้สร้างพวกเจ้าจากเพศ ชายและเพศหญิง และเราได้ นห้พวกเจ้าแยกเป็นเผ่าและ ตระกูล เพื่อจะได้รู้จักกัน...” (อัลฮุจญรอต : 13)
  • 88. 88 ความเข้านจนนศาสนาคือแนวทางนนการดับไฟนต้  ท่านนบีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ) กล่าวไว้ว่า “ไม่นช่เป็นส่วนหนึ่งของ ประชาชาติของฉันสาหรับผู้ที่เรียกร้องบนฐานแนวคิดของ การคลั่งไคล้นนชาติพันธุ์ ไม่นช่เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติ ของฉันสาหรับผู้ที่ทาสงครามบนฐานแนวคิดของการคลั่งไคล้ นนชาติพันธุ์และไม่นช่เป็นส่วนหนึ่งของประชาชาติของฉัน สาหรับผู้ที่เสียชีวิตเนื่องจากการต่อสู้นนการปกป้ องและ พิทักษ์รักษาแนวคิดของการคลั่งไคล้นนชาติพันธุ์”
  • 89. 89 “ด้วยหลักฐานทั้งหลายที่ชัดแจ้ง และคัมภีร์ต่าง ๆ ที่ศักดิ์สิทธิ์ และเราได้นห้อัลกุรอานแก่เจ้า เพื่อเจ้าจะได้ชี้แจง (นห้กระจ่าง) แก่มนุษย์ ซึ่งสิ่งที่ได้ถูกประทานมาแก่พวกเขา และเพื่อพวกเขาจะได้ไตร่ตรอง” อัลกุรอาน 16:44
  • 90. 90
  • 91. 91