SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
 ๑) ความเป็นมาของพุทธศาสนามหายานในไทย
 ๒) ความเชื่อของชาวจีนในประเทศไทย
 ๓) ประเพณีและพิธีกรรมมหายานในเมืองไทย
 ๔) วรรณกรรมมหายานในเมืองไทย
 ๕) อิทธิพลมหายานที่มีต่อสังคมไทย
 พ.ศ ๒๙๐ พุทธศาสนาได้แพร่ หลายจากประเทศอินเดียเข้าสู่แค้วนสุวรรณ
ภูมิ ซึ่งมีชนชาติ ขอม มอญ ละว้า และไทย
 พ.ศ.๑๒๐๐ สมัยศรีวิชัยพุทธศาสนา มหายานได้แพร่หลายจากเกาะสุ
มาตราเข้า สู่เมือง ไชยาทางภาคใต้แห่งประเทศไทย
 ๑๔๐๐ สมัยลพบุรี พระพุทธศาสนานิกายมหายานหรือที่เรียกว่า อาจาริ
ยวาทได้แพร่ขยายเข้าสู่เมืองลพบุรี
 พ.ศ.๑๘๐๐ สมัยสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้รับเอาพุทธ
ศาสนา เถรวาทจากประเทศลังกาเข้าสู่แคว้นสุโขทัยเรียกว่าพุทธ
ศาสนาลัทธิลังกาวงศ์
 สมัยสุโขทัย –อยุธยา ยังไม่มีวัดฝ่ายมหายานชาวจีนได้สร้างศาลเจ้าขึ้นก่อนเพื่อ
เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม
 สมัยธนบุรีชาวญวนซึ่งเป็นพุทธ ฝ่ายมหายานเช่นเดียวกับจีน และมีวัฒนธรรม
คล้ายกันมากได้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ญวนได้สร้างวัดฝ่ายมหายานขึ้น
เป็นวัดแรกบนฝั่งตะวันออกของกรุงธนบุรี
 วัดกามโล่ตื่อ
(วัดทิพยวารีวิหาร)
 สมัยรัตนโกสินทร์
 วัดจีนปรากฏในสมัยรัชกาลที่ ๕
 รัชกาลที่ ๕ทรงพระราชทานสมณศักดิ์สงฆ์นิกายมหานยานเป็นครั้ง แรก
สมณะศักดิ์ จีนรูปแรกคือ พระอาจารย์จีนวังสสมาธิวัตร(สกเห็ง) สมณะ
ศักดิ์ญวนรูปแรกคือ พระครูคณา นัมสมณาจารย์ (องฮึง)
 อารามฝ่ายมหายานจีนแห่งแรก คือวัดย่งฮกยี่ ซี่งต่อมาได้รับ พระราชทาน
นามว่า วัดบาเพ็ญจีนพรต
พระเมตไตรยโพธิสัตว์
ด้านหน้าวัดบาเพ็ญจีนพรต พระประธานในวัดบาเพ็ญจีนพรต
ทาจากกระดาษ
 พุทธศาสนาฝ่ายมหายานในประเทศไทยมีอยู่สองนิกาย คือ
 อานัมนิกาย(ญวน)
 และจีนนิกาย
 ธรรมปฏิบัติของสงฆ์มหายานโดยเฉพาะสงฆ์จีนถือปฏิบัติในหลัก
นิกายลุกจง(นิกายวินัย) นิกายฉานจง(นิกายวิปัสสนาหรือนิกายเซ็น) ควบ
กับนิกายเหี่ยนจง(นิกายเปิ ด) ซึ่งปฏิบัติทั่ว ไปในวัดจีนมหายานนิกาย
 ๑. ลัทธิขงจื้อ เป็นคาสอนที่มีความสาคัญ ซึ่ง
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคมไว้
อย่างชัดเจน คือ ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่
และลูกหลาน ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา
ความสัมพันธ์ระหว่างพี่น้อง หรือผู้ใหญ่กับ
ผู้เยาว์ ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับ
ครอบครัว นอกนั้นยังมีรายละเอียดอื่นๆ ที่
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผู้คนในระดับต่างๆ
ที่สาคัญ คือ การเน้นความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อ
แม่และบรรพบุรุษ
๒. ลัทธิเต๋า เป็นคาสอนทางปรัชญาที่ว่าด้วยชีวิตกับธรรมชาติ สอนให้บุคคล
ดาเนินชีวิตโดยไม่ฝืนธรรมชาติ รู้จักตนเอง เอาชนะตนเองรู้จักพอ สอนให้รู้จัก
สันโดษ สอนว่าการปกครองที่ดีนั้นไม่ควรใช้อานาจมาก ไม่ควรมีกฎระเบียบ
มาก ให้เป็นไปโดยธรรมชาติเหมือนชีวิตในครอบครัวเดียวกัน ต่อมาเต๋าได้
ปรับตัวผสมผสานกับพุทธศาสนานิกายมหายานในจีนทาให้เกิดมีซั่มเมง (ไตร
สุทธิ) หรือพระผู้บริสุทธิ์ทั้งสาม คือ เล่าจื๊อ พ่อนโกสี (เทพผู้สร้างโลก) และ เง็ก
เซียนฮ่องเต้ เป็นต้น
๓. พุทธศาสนามหายาน นอกจากจะชี้ทางเพื่อการพ้น
ทุกข์เหมือนคาสอนของพุทธ-ศาสนาฝ่ายเถรวาท ยังมี
การผสมผสานกับความเชื่ออื่นๆ มีพระพุทธเจ้าและ
พระโพธิสัตว์จานวนมากมาย พระพุทธเจ้าองค์สาคัญ
ที่สุด คือ พระอมิตาภะ และพระโพธิสัตว์องค์สาคัญ
ที่สุด คือพระอวโลกิเตศวร หรือกวนอิม หัวใจการ
ปฏิบัติธรรม คือ ต้องมีทั้งปัญญาและกรุณาควบคู่กันไป
เน้นการละความเห็นแก่ตัวและทาประโยชน์ แก่
ส่วนรวม ซึ่งเป็นที่มาขององค์กรการกุศลต่างๆ เช่น
มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลหัวเฉียว ถนนศาลา โรง
ธรรม เป็นต้น
 ๔. การนับถือเทพเจ้า เป็นความเชื่อที่เก่าแก่ที่สุดที่บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดมา
มีเทพเจ้าประจาสถานที่ ทะเล ภูเขา ป่า แม่น้า บ้านเรือน ประจาอาชีพ เทพเจ้า
ชั้นสูงที่มีคุณธรรมเป็นเลิศ ได้แก่ เทพเจ้ากวนอู เจ้าแม่ทับทิม เป็นต้น เทพเจ้า
ชั้นสูงสุด ได้แก่ พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์และเทพเจ้าที่ถือว่าเป็นเซียน
ต่างๆ เช่น โป๊ ยเซียน เป็นต้น จะมีศาลเจ้าขนาดต่างๆสร้างไว้ในชุมชนหรือ
สถานที่ต่างๆ เพื่อการสักการะ
 ตรุษจีน หรือ ขึ้นปีเพาะปลูกใหม่ (หนงลี่ ซินเหนียน) และยังรู้จักกันใน
นาม วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ เป็นวันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีของชาวจีน
ในจีนแผ่นดินใหญ่และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ ๑
เดือน ๑ ของปีตามจันทรคติ
 ชาวไทยเชื้อสายจีนจะถือประเพณีปฏิบัติอยู่ 3 วัน คือวันจ่าย วันไหว้ และวันเที่ยว
 วันจ่าย คือวันก่อนวันสิ้นปี เป็นวันที่ชาวไทยเชื้อสายจีนจะต้องไปซื้ออาหาร
ผลไม้ เครื่องเซ่นไหว้ต่างๆ ก่อนที่ร้านค้าทั้งหลายจะปิ ดร้านหยุดพักผ่อนยาว
 วันไหว้ - ตอนเช้ามืด จะไหว้ "ป้ ายเล่าเอี๊ย" เป็นการไหว้เทพเจ้าต่างๆ
- ตอนสาย จะไหว้ "ป้ ายแป๋ บ้อ" คือการไหว้บรรพบุรุษ
- ตอนบ่ายจะไหว้ "ป้ ายฮ่อเฮียตี๋" เป็นการไหว้ผีพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว
 วันเที่ยว หรือ วันถือ คือวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันที่หนึ่ง (ชิวอิก) ของเดือนที่
หนึ่งของปี วันนี้ชาวจีนจะถือธรรมเนียมโบราณที่ยังปฏิบัติสืบต่อกันมาถึง
ปัจจุบันคือ "ป้ ายเจีย" เป็นการไหว้ขอพรและอวยพรจากญาติผู้ใหญ่และผู้
ที่เคารพรัก โดยนาส้มสีทองไปมอบให้
 เทศกาลกินเจ หรือบางแห่งเรียกว่า ประเพณีถือศีลกินผัก กาหนดเอาวันตาม
จันทรคติ คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น ๑ ค่า ถึง ขึ้น ๙ ค่า เดือน ๙ รวม ๙ วัน ตาม
ปฏิทินจีนของทุกปี มีจุดเริ่มต้นจากประเทศจีนมานานแล้ว โดยมีตานานเล่า
ขานกันหลายตานาน ซึ่งการกินเจในเดือน ๙ นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว
พ.ศ. ๒๑๗๐ ตรงกับสมัยอาณาจักรอยุธยา
 เป็นการประกอบพิธีกรรมเพื่อสักการ
บูชาพระพุทธเจ้าในอดีตกาล ๗ พระองค์และ
พระมหาโพธิสัตว์อีก ๒ พระองค์ รวมเป็น ๙
พระองค์ด้วยกัน หรืออีกนัยหนึ่งเรียกว่า “ดาว
นพเคราะห์” ทั้ง ๙ ได้แก่ พระอาทิตย์
พระจันทร์พระอังคาร พระพุธ พระพฤหัสบดี
พระศุกร์พระเสาร์ พระราหูและพระเกตุ ใน
พิธีกรรมบูชานี้สาธุชนในพระพุทธศาสนาสละ
เวลาทางโลกมาบาเพ็ญศีลงดเว้นเนื้อสัตว์และ
แต่งกายด้วยชุดขาว
 ๑. กินเพื่อสุขภาพ อาหารเจเป็นอาหารประเภทชีวจิต
 ๒. กินด้วยจิตเมตตา ผู้มีจิตเมตตา มีคุณธรรมและมีจิตสานึกอันดีงามย่อมไม่
อาจกินเลือดเนื้อของสัตว์เหล่านั้น ซึ่งมีเลือดเนื้อ จิตใจและที่สาคัญมีความรัก
ตัวกลัวตายเช่นเดียวกับคนเรา
 ๓. กินเพื่อเว้นกรรม ผู้ที่เข้าใจอย่างลึกซึ้งย่อมตระหนักว่าการกินซึ่งอาศัยการฆ่า
เพื่อเอาเลือด เนื้อผู้อื่นมาเป็นของเราเป็นการสร้างกรรม
 ๑. ไม่เอาชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย
มาต่อเติมบารุงเลี้ยงชีวิตของตน
 ๒. ไม่เอาเลือดของสัตว์ทั้งหลาย
มาเป็นเลือดของตน
 ๓. ไม่เอาเนื้อของสัตว์ทั้งหลาย
มาเป็นเนื้อของตน
 วันสารทจีน ตามปฏิทินทางจันทรคติ เทศกาลสารทจีนจะตรงกับวันที่ 15
เดือน 7 ตามปฏิทินจีน เทศกาลสารทจีนถือเป็นวันสาคัญที่ลูกหลานชาว
จีนจะแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็น
เดือนที่ประตูนรกเปิ ดให้วิญญาณทั้งหลายมารับกุศลผลบุญได้
 ตานานที่ 1 ตานานนี้กล่าวไว้ว่าวัน
สารทจีนเป็นวันที่เซ็งฮีไต๋ตี๋
(ยมบาล) จะตรวจดูบัญชีวิญญาณ
คนตาย ส่งวิญญาณดีขึ้นสวรรค์และ
ส่งวิญญาณร้ายลงนรก ชาวจีน
ทั้งหลายรู้สึกสงสารวิญญาณร้ายจึง
ทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ดังนั้นเพื่อให้
วิญญาณร้ายออกมารับกุศลผลบุญนี้
จึงต้องมีการเปิ ดประตูนรก นั่นเอง
 ตานานที่ 2 มารดาของ “มู่เหลียน” (พระโมคัลลานะ) เป็นคนใจบาปหยาบ
ช้าปีหนึ่งในช่วงเทศกาลกินเจนาง เกิดความหมั่นไส้คนที่ถือศีลกินเจ นางจึงให้มู่
เหลียนไปเชิญผู้ถือศีลกินเจเหล่านั้นมากินอาหารที่บ้านโดยนางจะทาอาหารเลี้ยง
หนึ่งมื้อ แต่ในน้าแกงนางกับเจือน้ามันหมูปนไปด้วย
การกระทาของมารดามู่เหลียนนั้นถือว่าเป็นกรรมหนัก เมื่อตายไปจึงตก
นรกอเวจีมหานรกขุมที่ 8 เป็นนรกขุมลึกที่สุดได้รับความทุกข์ทรมานแสนสาหัส มู่
เหลียนได้เข้าไปขอพญาเหงี่ยมล่ออ๊อง (ยมบาล) ว่าตนของรับโทษแทนมารดา
 แต่ก่อนที่มู่เหลียนจะถูกลงโทษพระพุทธเจ้าได้เสด็จลงมาโปรดไว้ได้ทัน โดย
กล่าวว่ากรรมใดใครก่อก็ย่อมจะเป็นกรรมของผู้นั้นและพระพุทธเจ้าได้มอบ คัมภีร์
อิ๋ว หลันเผิน ให้มู่เหลียนท่องเพื่อเรียกเซียนทุกทิศทุกทางมาช่วยผู้มีพระคุณให้
หลุดพ้น จากการอดอยากและทุกข์ทรมานต่างๆ ได้ โดยที่มู่เหลียนจะต้องสวด
คัมภีร์อิ๋ว หลันเผินและถวายอาหารทุกปีในเดือนที่ประตูนรกเปิ ดจึงจะสามารถช่วย
มารดาของ เขาให้พ้นโทษได้
๑. ชุดสาหรับไหว้เจ้าที่
๒. ชุดสาหรับไหว้บรรพบุรุษ
๓. ชุดสาหรับไหว้วิญญาณเร่ร่อน
 ประเพณีสารทจีนนอกจากจะเป็นประเพณีที่ลูกหลานจะแสดงความ
กตัญญูต่อบรรพบุรุษ ซึ่งล่วงลับไปแล้ว ยังเป็นประเพณีที่มีกุศโลบายในการ
สนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวทากิจกรรมร่วม กันอย่างพร้อมหน้าและมี
ความสุข
 ความเป็นมาของพิธีกงเต็ก
 พิธี กงเต็ก เป็นพิธีการทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว
ถือเป็นประเพณีอันเก่าแก่สืบทอดมาแต่โบราณของชาวจีน อันแสดงให้
เห็นว่าชาวจีนนั้นเป็นชนชาติหนึ่งในโลกที่มีความกตัญญูกตเวทีสูง มาก
เมื่อผู้มีพระคุณเสียชีวิตลงในขณะที่ตนเองรู้สึกว่ายังมิได้ปฏิบัติตนตอบ
แทน พระคุณให้เพียงพอ จึงจัดนิมนต์พระสงฆ์มาประกอบพิธีกงเต็ก เป็น
การทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ
 ๑. คาว่า กง ในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน หมายถึง การกระทาในสิ่งที่
ถูกที่ชอบที่เป็นประโยชน์ แทนวิญญาณผู้มรณะเพื่อประสบความสุขความ
สบาย
 ๒. คาว่า เต็ก ในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน หมายถึง กุศลกรรมอันเกิด
จากกรรมดีงามอานวยทิตานุหิตประโยชน์ (ประโยชน์จากการเกื้อกูลใหญ่
น้อย) น้อมอุทิศให้แก่วิญญาณผู้มรณะบรรลุถึงปัตตานุโมทนา (การโมทนา
ส่วนบุญที่ผู้อื่นให้)
ลูกชาย หมายถึง
ลูกชายของผู้ตายทั้งหมด
และรวมหลานชายคนแรก
ที่เกิดจากลูกชายคนโต
ลูกสาวที่แต่งงานแล้ว
และลูกสะใภ้
ลูกเขย หลาน
 ความสัมพันธ์ไทย-จีน ด้านวรรณกรรม
 สัมพันธภาพระหว่างชาวจีนและชาวไทย อาจกล่าวได้ว่า มีมากกว่า
ความสัมพันธ์ของชาวจีนหรือชาวไทยที่มีต่อคนชาติอื่น ๆ ทั่วโลก และในความ
หลากหลายแห่งความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันนี้ ประเด็นที่สาคัญยิ่งประการหนึ่ง
คือ การถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนทางวรรณกรรม นั่นหมายถึงการแปล
วรรณกรรมจีนเป็นภาษาไทย และการแปลวรรณกรรมไทยเป็นภาษาจีน
 ไซอิ๋ว (ซีโหยวจี้; แปลว่า การเดินทางสู่ตะวันตก) เป็นนิยายคลาสสิคของ
จีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน
 ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พุทธ
ศาสนาของหลวงจีนชื่อ พระถังซาจั๋ง โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ
เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา) ซึ่งระหว่างการเดินทาง
ต้องพบกับการขัดขวางของเหล่าปิ ศาจมากมาย ด้วยเนื้อหาที่เป็นการผจญภัย
และมีสัตว์เป็นตัวเอก ทาให้ไซอิ๋วได้รับความนิยมจากหมู่เยาวชนมากที่สุดใน
วรรณกรรมเอกทั้ง 4 เรื่อง เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับ สามก๊ก
ความฝันในหอแดง และซ้องกั๋ง
 ไซอิ๋วถูกแปลเป็นภาษาไทยครั้งแรกก่อน พ.ศ. 2349 มีความยาว 17 เล่ม
สมุดไทย แต่ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2417 โดยโรงพิมพ์
หมอบรัดเลย์
รหัสลับที่หน้าถ้า
2920 2029
9900 0191
2029 2920
0099 9190
ไขรหัสลับไซอิ๋ว
2920 2029
9900 0191
2029 2920
0099 9190
ยิ่งเกายิ่งคัน ยิ่งคันยิ่งเกา
เกาเกาคันคัน คันอีกเกาอีก
ยิ่งคันยิ่งเกา ยิ่งเกายิ่งคัน
คันคันเกาเกา เกาอีกคันอีก
2920 2029
9900 0191
2029 2920
0099 9190
ยิ่งกินยิ่งหิว ยิ่งหิวยิ่งกิน
กินกินหิวหิว หิวอีกกินอีก
ยิ่งหิวยิ่งกิน ยิ่งกินยิ่งหิว
หิวหิวกินกิน กินอีกหิวอีก
*****************************************
เซียนแห่งภูผาน้าตก ร้องว่า เจ้า 2 ตัวนี่ ตอบอะไรไร้สาระ ไม่ถูกต้อง
ข้าจะสาปให้เจ้าทั้งสองกลายเป็นหินเดี๋ยวนี้ โอม...เพี้ยง...
แล้ว หงอคง กับ ตือโป๊ ยก่าย ก็กลายเป็นตุ๊กตาหินไปในบัดดล...
******************************************
2920 2029
9900 0191
2029 2920
0099 9190
ยิ่งรักยิ่งหลง ยิ่งหลงยิ่งรัก
รักรักหลงหลง หลงอีกรักอีก
ยิ่งหลงยิ่งรัก ยิ่งรักยิ่งหลง
หลงหลงรักรัก รักอีกหลงอีก
***************************************
เซียนแห่งภูผาน้าตก ตวาดว่า ไร้สาระ ไม่ถูกต้อง
ข้าจะสาปให้เจ้ากลายเป็นหินเดี๋ยวนี้ โอม...เพี้ยง...
แล้ว หงอคง ตือโป๊ ยก่าย ซัวเจ๋ง ก็กลายเป็นตุ๊กตาหินไปหมด
*****************************************
2920 2029
9900 0191
2029 2920
0099 9190
ยิ่งเกิดยิ่งตาย ยิ่งตายยิ่งเกิด
เกิดเกิดตายตาย ตายอีกเกิดอีก
ยิ่งตายยิ่งเกิด ยิ่งเกิดยิ่งตาย
ตายตายเกิดเกิด เกิดอีกตายอีก
***************************************
เซียนแห่งภูผาน้าตก ร้องว่า ไม่ไร้สาระ แต่ยังไม่ถูกต้อง
ข้าจะสาปให้เจ้ากลายเป็นหินครึ่งตัว โอม...เพี้ยง...
แล้ว พระถังซาจั๋ง ก็กลายเป็นตุ๊กตาหินไปครึ่งตัว
****************************************
2920 2029
9900 0191
2029 2920
0099 9190
ยิ่งสุขยิ่งว่าง ยิ่งว่างยิ่งสุข
สุขสุขว่างว่าง ว่างอีกสุขอีก
ยิ่งว่างยิ่งสุข ยิ่งสุขยิ่งว่าง
ว่างว่างสุขสุข สุขอีกว่างอีก
 เรื่องไซอิ๋วจะเป็นการเดินทางของพระถังซัมจั๋งกับเหล่าลูกศิษย์ แต่
จริงๆ แล้วเป็นการเดินทางภายในจิตใจของชาวพุทธผู้ปฏิบัติธรรม โดย
แทนเป้ าหมายคือ นิพพาน (ความว่างเปล่า, สุญตา) และ แทนบรรดาปีศาจ
ที่เห้งเจียปราบคือ กิเลส ตัณหาและอวิชชาต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคในการ
เดินทางของจิตใจสู่นิพพาน นั่นคือคาสอนของพุทธศาสนาที่ว่า การละวาง
กิเลส อันทาให้เกิดทุกข์ เพื่อบรรลุสู่การหลุดพ้น นั่นคือนิพพาน
 พระถังซัมจั๋ง แทน “ขันติธรรม” (สังเกตว่าในเรื่องจะใจเย็น และอดทน)
 ม้าขาว แทน “ความวิริยะอุตสาหะ”
 เห้งเจียหรือหงอคง แปลว่า “ปัญญาเห็นสุญตา” เป็นสัญลักษณ์ของปัญญาอัน
ฉลาด ว่องไว แต่ซุกซน ฟุ้ งซ่านได้ จาต้องมีการบังคับให้อยู่ในร่องในรอย ซึ่งก็
แทนด้วยห่วงรัดเกล้า
 เจ้าหมูจอมตะกละและบ้าผู้หญิง ตือโป๊ ยก่าย ในภาษาจีนแปลว่า “ศีลแปด” นั่น
คือศีลเป็นสิ่งที่ต้องควบคุมและขัดเกลาเสมอๆ เพราะง่ายที่จะหลุดไปทา
ผิดพลาด
 ซัวเจ๋ง แปลจีนเป็นไทยว่า “ภูเขาทราย” เป็นสัญลักษณ์ของสมาธิ ซึ่งต้องมี
ความหนักแน่น สงบจึงจะคงรูปอยู่ได้
ยูไล พระพุทธองค์ตามวิถีของพุทธนิกายมหายาน
แปลตามตัวว่า “เช่นนั้นเอง”
เป็นคาแทนการเห็นแจ้งแล้วทุกสิ่ง นั่นคือนิพพานนั่นเอง
 ด้านแนวคิด
 การนับถือเทพเจ้า เป็นความเชื่อที่เก่าแก่ที่สุดที่บรรพบุรุษได้
ถ่ายทอดมา มีเทพเจ้าประจาสถานที่ ทะเล ภูเขา ป่า แม่น้า บ้านเรือน
ประจาอาชีพ เทพเจ้าชั้นสูงที่มีคุณธรรมเป็นเลิศ ได้แก่ เทพเจ้ากวนอู เจ้า
แม่ทับทิม เป็นต้น เทพเจ้าชั้นสูงสุด ได้แก่ พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ และ
เทพเจ้าที่ถือว่าเป็นเซียนต่างๆ เช่น โป๊ ยเซียน เป็นต้น จะมีศาลเจ้าขนาด
ต่างๆสร้างไว้ในชุมชนหรือสถานที่ต่างๆ เพื่อการสักการะ
 เจ้าแม่กวนอิม พระโพธิสัตว์ของพระพุทธ
ศาสนา ฝ่ายมหายาน เป็นองค์เดียวกันกับ
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ในภาษาสันสกฤต
ซึ่งมีต้นกาเนิดจากพระสูตรมหายานในอินเดีย
และได้ผสมผสานกับความเชื่อพื้นถิ่นดั้งเดิม
ของจีน
 คือตานานเรื่องพระธิดาเมี่ยวซ่าน ก่อให้เกิด
เป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อ
แสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความ
เมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรัก
ของมารดาที่มีต่อบุตร
 ด้านสังคมสงเคราะห์
 นอกจากจะชี้ทางเพื่อการพ้นทุกข์เหมือนคาสอนของพุทธ-ศาสนา
ฝ่ายเถรวาท ยังมีการผสมผสานกับความเชื่ออื่นๆ มีพระพุทธเจ้าและพระ
โพธิสัตว์จานวนมากมาย พระพุทธเจ้าองค์สาคัญที่สุด คือ พระอมิตาภะ
และพระโพธิสัตว์องค์สาคัญที่สุด คือพระอวโลกิเตศวร หรือกวนอิม หัวใจ
การปฏิบัติธรรม คือ ต้องมีทั้งปัญญาและกรุณาควบคู่กันไปเน้นการละ
ความเห็นแก่ตัวและทาประโยชน์ แก่ส่วนรวม ซึ่งเป็นที่มาขององค์กรการ
กุศลต่างๆ เช่น มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลหัวเฉียว ถนนศาลา โรงธรรม
เป็นต้น
 มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง เป็นมูลนิธิที่มาจาก คณะเก็บศพไต้ฮงกง ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2452
โดยพ่อค้าชาวจีนในกรุงเทพฯ 12 คน มีจุดประสงค์เพื่อเก็บศพไร้ญาติทุกภาษา
และนาไปฝังที่ป่าช้าทุ่งวัดดอน ถนนเจริญกรุง ที่ชาวจีนได้เรี่ยไรเงินซื้อไว้ ต่อมา
ในปี พ.ศ. 2480 นักธุรกิจจีนได้ร่วมกับบรรดาสมาคมและหนังสือพิมพ์จีน ระดม
ความคิดปฏิรูปคณะเก็บศพไต้ฮงกงขึ้นใหม่ โดยจดทะเบียน (ทุน 2,000 บาท)
จัดตั้งเป็นมูลนิธิในนาม ป่อเต็กตึ๊ง หรือในชื่อเต็มว่า ฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง
เป็นมูลนิธิลาดับที่ 11 ของประเทศสยาม
 โรงพยาบาลหัวเฉียว เป็นโรงพยาบาลเอกชนทั่วไป (GENERAL
HOSPITAL) ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ตั้งอยู่ที่ 665 ถนนบารุงเมือง เขต
ป้ อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เปิ ดให้บริการในปี พ.ศ. 2481 เมื่อ
สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง เนื่องจากประชากรในกรุงเทพฯ เพิ่มขึ้น
อย่างรวดเร็ว คณะกรรมการบริหารมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ดาริให้ย้าย
โรงพยาบาล จากบริเวณหลังวัดเทพศิรินทราวาส มายังสถานที่ตั้งปัจจุบัน
โดยหันหน้าออกทางถนนกรุงเกษม
 ด้านวรรณกรรม (ทางเหนือ)
 1) ตานานมูลศาสนา ปรากฏอิทธิพลมหายานทางด้านแนวคิด ดังนี้
 1.1) การสอดแทรกเหตุการณ์ที่เป็นอภินิหารเข้าไปในเนื้อหา
 1.2) แนวคิดเรื่องการนับถือพระเถระเป็นพระพุทธเจ้า
 1.3) คติเรื่องพระอุปคุต
 2) ชินกาลมาลีปกรณ์ ปรากฏอิทธิพลเรื่องทานบารมีแห่งชีวิตของพระ
โพธิสัตว์
 3) คัมภีร์โลกบัญญัติ ปรากฏอิทธิพลเรื่องพระพุทธเจ้าอยู่เหนือเทพเจ้าฮินดู
 4) คัมภีร์ปฐมมูลมูลี ปรากฏอิทธิพลแนวคิดเรื่องดาวนพเคราะห์ จักรราศี
ทั้ง 12 คล้ายกับแนวคิดพุทธศาสนาตันตระยานสายกาลจักรยาน
 ด้านศิลปกรรม
 ตุง หรือ ธง นั้นมักปรากฏอยู่
บ่อยครั้งในพิธีกรรมต่างๆในเชียงใหม่
โดยสันนิษฐานวาตุงนั้นมีกาเนิดมา
จากอินเดียโดยปรากฏพบหลักฐาน
ภาพสลักที่สถูปสาญจี ซึ่งคติการใช้ธง
ในพิธีกรรม นั้นปรากฏอย่างมากใน
พุทธศาสนามหายาน จากคัมภีร์ต่างๆ
เช่น ลลิตวิสตระ ซึ่งในภาคเหนือของ
ไทยนั้น ก็ได้ปรากฏอิทธิพลดังกล่าว
โดยสันนิษฐานว่า รับอิทธิพลผ่านทาง
พม่าเข้ามา
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 

What's hot (20)

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 

Viewers also liked

พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะPadvee Academy
 

Viewers also liked (7)

พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายานอัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
ศิลปะแห่งความสุขขององค์ดาไล ลามะ
 

Similar to พุทธศาสนามหายานในไทย

พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์NisachonKhaoprom
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาJika Umachi
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 

Similar to พุทธศาสนามหายานในไทย (20)

พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาตร์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 

พุทธศาสนามหายานในไทย

  • 1.
  • 2.  ๑) ความเป็นมาของพุทธศาสนามหายานในไทย  ๒) ความเชื่อของชาวจีนในประเทศไทย  ๓) ประเพณีและพิธีกรรมมหายานในเมืองไทย  ๔) วรรณกรรมมหายานในเมืองไทย  ๕) อิทธิพลมหายานที่มีต่อสังคมไทย
  • 3.  พ.ศ ๒๙๐ พุทธศาสนาได้แพร่ หลายจากประเทศอินเดียเข้าสู่แค้วนสุวรรณ ภูมิ ซึ่งมีชนชาติ ขอม มอญ ละว้า และไทย  พ.ศ.๑๒๐๐ สมัยศรีวิชัยพุทธศาสนา มหายานได้แพร่หลายจากเกาะสุ มาตราเข้า สู่เมือง ไชยาทางภาคใต้แห่งประเทศไทย  ๑๔๐๐ สมัยลพบุรี พระพุทธศาสนานิกายมหายานหรือที่เรียกว่า อาจาริ ยวาทได้แพร่ขยายเข้าสู่เมืองลพบุรี  พ.ศ.๑๘๐๐ สมัยสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราชได้รับเอาพุทธ ศาสนา เถรวาทจากประเทศลังกาเข้าสู่แคว้นสุโขทัยเรียกว่าพุทธ ศาสนาลัทธิลังกาวงศ์
  • 4.  สมัยสุโขทัย –อยุธยา ยังไม่มีวัดฝ่ายมหายานชาวจีนได้สร้างศาลเจ้าขึ้นก่อนเพื่อ เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวและเป็นศูนย์กลางในการประกอบพิธีกรรม  สมัยธนบุรีชาวญวนซึ่งเป็นพุทธ ฝ่ายมหายานเช่นเดียวกับจีน และมีวัฒนธรรม คล้ายกันมากได้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ญวนได้สร้างวัดฝ่ายมหายานขึ้น เป็นวัดแรกบนฝั่งตะวันออกของกรุงธนบุรี  วัดกามโล่ตื่อ (วัดทิพยวารีวิหาร)
  • 5.  สมัยรัตนโกสินทร์  วัดจีนปรากฏในสมัยรัชกาลที่ ๕  รัชกาลที่ ๕ทรงพระราชทานสมณศักดิ์สงฆ์นิกายมหานยานเป็นครั้ง แรก สมณะศักดิ์ จีนรูปแรกคือ พระอาจารย์จีนวังสสมาธิวัตร(สกเห็ง) สมณะ ศักดิ์ญวนรูปแรกคือ พระครูคณา นัมสมณาจารย์ (องฮึง)  อารามฝ่ายมหายานจีนแห่งแรก คือวัดย่งฮกยี่ ซี่งต่อมาได้รับ พระราชทาน นามว่า วัดบาเพ็ญจีนพรต
  • 7.
  • 8.
  • 9.  พุทธศาสนาฝ่ายมหายานในประเทศไทยมีอยู่สองนิกาย คือ  อานัมนิกาย(ญวน)  และจีนนิกาย  ธรรมปฏิบัติของสงฆ์มหายานโดยเฉพาะสงฆ์จีนถือปฏิบัติในหลัก นิกายลุกจง(นิกายวินัย) นิกายฉานจง(นิกายวิปัสสนาหรือนิกายเซ็น) ควบ กับนิกายเหี่ยนจง(นิกายเปิ ด) ซึ่งปฏิบัติทั่ว ไปในวัดจีนมหายานนิกาย
  • 10.  ๑. ลัทธิขงจื้อ เป็นคาสอนที่มีความสาคัญ ซึ่ง อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างคนในสังคมไว้ อย่างชัดเจน คือ ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ และลูกหลาน ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา ความสัมพันธ์ระหว่างพี่น้อง หรือผู้ใหญ่กับ ผู้เยาว์ ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับ ครอบครัว นอกนั้นยังมีรายละเอียดอื่นๆ ที่ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผู้คนในระดับต่างๆ ที่สาคัญ คือ การเน้นความกตัญญูกตเวทีต่อพ่อ แม่และบรรพบุรุษ
  • 11. ๒. ลัทธิเต๋า เป็นคาสอนทางปรัชญาที่ว่าด้วยชีวิตกับธรรมชาติ สอนให้บุคคล ดาเนินชีวิตโดยไม่ฝืนธรรมชาติ รู้จักตนเอง เอาชนะตนเองรู้จักพอ สอนให้รู้จัก สันโดษ สอนว่าการปกครองที่ดีนั้นไม่ควรใช้อานาจมาก ไม่ควรมีกฎระเบียบ มาก ให้เป็นไปโดยธรรมชาติเหมือนชีวิตในครอบครัวเดียวกัน ต่อมาเต๋าได้ ปรับตัวผสมผสานกับพุทธศาสนานิกายมหายานในจีนทาให้เกิดมีซั่มเมง (ไตร สุทธิ) หรือพระผู้บริสุทธิ์ทั้งสาม คือ เล่าจื๊อ พ่อนโกสี (เทพผู้สร้างโลก) และ เง็ก เซียนฮ่องเต้ เป็นต้น
  • 12. ๓. พุทธศาสนามหายาน นอกจากจะชี้ทางเพื่อการพ้น ทุกข์เหมือนคาสอนของพุทธ-ศาสนาฝ่ายเถรวาท ยังมี การผสมผสานกับความเชื่ออื่นๆ มีพระพุทธเจ้าและ พระโพธิสัตว์จานวนมากมาย พระพุทธเจ้าองค์สาคัญ ที่สุด คือ พระอมิตาภะ และพระโพธิสัตว์องค์สาคัญ ที่สุด คือพระอวโลกิเตศวร หรือกวนอิม หัวใจการ ปฏิบัติธรรม คือ ต้องมีทั้งปัญญาและกรุณาควบคู่กันไป เน้นการละความเห็นแก่ตัวและทาประโยชน์ แก่ ส่วนรวม ซึ่งเป็นที่มาขององค์กรการกุศลต่างๆ เช่น มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลหัวเฉียว ถนนศาลา โรง ธรรม เป็นต้น
  • 13.  ๔. การนับถือเทพเจ้า เป็นความเชื่อที่เก่าแก่ที่สุดที่บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดมา มีเทพเจ้าประจาสถานที่ ทะเล ภูเขา ป่า แม่น้า บ้านเรือน ประจาอาชีพ เทพเจ้า ชั้นสูงที่มีคุณธรรมเป็นเลิศ ได้แก่ เทพเจ้ากวนอู เจ้าแม่ทับทิม เป็นต้น เทพเจ้า ชั้นสูงสุด ได้แก่ พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์และเทพเจ้าที่ถือว่าเป็นเซียน ต่างๆ เช่น โป๊ ยเซียน เป็นต้น จะมีศาลเจ้าขนาดต่างๆสร้างไว้ในชุมชนหรือ สถานที่ต่างๆ เพื่อการสักการะ
  • 14.
  • 15.  ตรุษจีน หรือ ขึ้นปีเพาะปลูกใหม่ (หนงลี่ ซินเหนียน) และยังรู้จักกันใน นาม วันขึ้นปีใหม่ทางจันทรคติ เป็นวันขึ้นปีใหม่ตามประเพณีของชาวจีน ในจีนแผ่นดินใหญ่และชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ ๑ เดือน ๑ ของปีตามจันทรคติ
  • 16.  ชาวไทยเชื้อสายจีนจะถือประเพณีปฏิบัติอยู่ 3 วัน คือวันจ่าย วันไหว้ และวันเที่ยว  วันจ่าย คือวันก่อนวันสิ้นปี เป็นวันที่ชาวไทยเชื้อสายจีนจะต้องไปซื้ออาหาร ผลไม้ เครื่องเซ่นไหว้ต่างๆ ก่อนที่ร้านค้าทั้งหลายจะปิ ดร้านหยุดพักผ่อนยาว  วันไหว้ - ตอนเช้ามืด จะไหว้ "ป้ ายเล่าเอี๊ย" เป็นการไหว้เทพเจ้าต่างๆ - ตอนสาย จะไหว้ "ป้ ายแป๋ บ้อ" คือการไหว้บรรพบุรุษ - ตอนบ่ายจะไหว้ "ป้ ายฮ่อเฮียตี๋" เป็นการไหว้ผีพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว  วันเที่ยว หรือ วันถือ คือวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันที่หนึ่ง (ชิวอิก) ของเดือนที่ หนึ่งของปี วันนี้ชาวจีนจะถือธรรมเนียมโบราณที่ยังปฏิบัติสืบต่อกันมาถึง ปัจจุบันคือ "ป้ ายเจีย" เป็นการไหว้ขอพรและอวยพรจากญาติผู้ใหญ่และผู้ ที่เคารพรัก โดยนาส้มสีทองไปมอบให้
  • 17.
  • 18.  เทศกาลกินเจ หรือบางแห่งเรียกว่า ประเพณีถือศีลกินผัก กาหนดเอาวันตาม จันทรคติ คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น ๑ ค่า ถึง ขึ้น ๙ ค่า เดือน ๙ รวม ๙ วัน ตาม ปฏิทินจีนของทุกปี มีจุดเริ่มต้นจากประเทศจีนมานานแล้ว โดยมีตานานเล่า ขานกันหลายตานาน ซึ่งการกินเจในเดือน ๙ นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว พ.ศ. ๒๑๗๐ ตรงกับสมัยอาณาจักรอยุธยา
  • 19.  เป็นการประกอบพิธีกรรมเพื่อสักการ บูชาพระพุทธเจ้าในอดีตกาล ๗ พระองค์และ พระมหาโพธิสัตว์อีก ๒ พระองค์ รวมเป็น ๙ พระองค์ด้วยกัน หรืออีกนัยหนึ่งเรียกว่า “ดาว นพเคราะห์” ทั้ง ๙ ได้แก่ พระอาทิตย์ พระจันทร์พระอังคาร พระพุธ พระพฤหัสบดี พระศุกร์พระเสาร์ พระราหูและพระเกตุ ใน พิธีกรรมบูชานี้สาธุชนในพระพุทธศาสนาสละ เวลาทางโลกมาบาเพ็ญศีลงดเว้นเนื้อสัตว์และ แต่งกายด้วยชุดขาว
  • 20.  ๑. กินเพื่อสุขภาพ อาหารเจเป็นอาหารประเภทชีวจิต  ๒. กินด้วยจิตเมตตา ผู้มีจิตเมตตา มีคุณธรรมและมีจิตสานึกอันดีงามย่อมไม่ อาจกินเลือดเนื้อของสัตว์เหล่านั้น ซึ่งมีเลือดเนื้อ จิตใจและที่สาคัญมีความรัก ตัวกลัวตายเช่นเดียวกับคนเรา  ๓. กินเพื่อเว้นกรรม ผู้ที่เข้าใจอย่างลึกซึ้งย่อมตระหนักว่าการกินซึ่งอาศัยการฆ่า เพื่อเอาเลือด เนื้อผู้อื่นมาเป็นของเราเป็นการสร้างกรรม
  • 21.  ๑. ไม่เอาชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย มาต่อเติมบารุงเลี้ยงชีวิตของตน  ๒. ไม่เอาเลือดของสัตว์ทั้งหลาย มาเป็นเลือดของตน  ๓. ไม่เอาเนื้อของสัตว์ทั้งหลาย มาเป็นเนื้อของตน
  • 22.  วันสารทจีน ตามปฏิทินทางจันทรคติ เทศกาลสารทจีนจะตรงกับวันที่ 15 เดือน 7 ตามปฏิทินจีน เทศกาลสารทจีนถือเป็นวันสาคัญที่ลูกหลานชาว จีนจะแสดงความกตัญญูต่อบรรพบุรุษ โดยพิธีเซ่นไหว้ และยังถือเป็น เดือนที่ประตูนรกเปิ ดให้วิญญาณทั้งหลายมารับกุศลผลบุญได้
  • 23.  ตานานที่ 1 ตานานนี้กล่าวไว้ว่าวัน สารทจีนเป็นวันที่เซ็งฮีไต๋ตี๋ (ยมบาล) จะตรวจดูบัญชีวิญญาณ คนตาย ส่งวิญญาณดีขึ้นสวรรค์และ ส่งวิญญาณร้ายลงนรก ชาวจีน ทั้งหลายรู้สึกสงสารวิญญาณร้ายจึง ทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ดังนั้นเพื่อให้ วิญญาณร้ายออกมารับกุศลผลบุญนี้ จึงต้องมีการเปิ ดประตูนรก นั่นเอง
  • 24.  ตานานที่ 2 มารดาของ “มู่เหลียน” (พระโมคัลลานะ) เป็นคนใจบาปหยาบ ช้าปีหนึ่งในช่วงเทศกาลกินเจนาง เกิดความหมั่นไส้คนที่ถือศีลกินเจ นางจึงให้มู่ เหลียนไปเชิญผู้ถือศีลกินเจเหล่านั้นมากินอาหารที่บ้านโดยนางจะทาอาหารเลี้ยง หนึ่งมื้อ แต่ในน้าแกงนางกับเจือน้ามันหมูปนไปด้วย การกระทาของมารดามู่เหลียนนั้นถือว่าเป็นกรรมหนัก เมื่อตายไปจึงตก นรกอเวจีมหานรกขุมที่ 8 เป็นนรกขุมลึกที่สุดได้รับความทุกข์ทรมานแสนสาหัส มู่ เหลียนได้เข้าไปขอพญาเหงี่ยมล่ออ๊อง (ยมบาล) ว่าตนของรับโทษแทนมารดา  แต่ก่อนที่มู่เหลียนจะถูกลงโทษพระพุทธเจ้าได้เสด็จลงมาโปรดไว้ได้ทัน โดย กล่าวว่ากรรมใดใครก่อก็ย่อมจะเป็นกรรมของผู้นั้นและพระพุทธเจ้าได้มอบ คัมภีร์ อิ๋ว หลันเผิน ให้มู่เหลียนท่องเพื่อเรียกเซียนทุกทิศทุกทางมาช่วยผู้มีพระคุณให้ หลุดพ้น จากการอดอยากและทุกข์ทรมานต่างๆ ได้ โดยที่มู่เหลียนจะต้องสวด คัมภีร์อิ๋ว หลันเผินและถวายอาหารทุกปีในเดือนที่ประตูนรกเปิ ดจึงจะสามารถช่วย มารดาของ เขาให้พ้นโทษได้
  • 26.  ประเพณีสารทจีนนอกจากจะเป็นประเพณีที่ลูกหลานจะแสดงความ กตัญญูต่อบรรพบุรุษ ซึ่งล่วงลับไปแล้ว ยังเป็นประเพณีที่มีกุศโลบายในการ สนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวทากิจกรรมร่วม กันอย่างพร้อมหน้าและมี ความสุข
  • 27.  ความเป็นมาของพิธีกงเต็ก  พิธี กงเต็ก เป็นพิธีการทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ถือเป็นประเพณีอันเก่าแก่สืบทอดมาแต่โบราณของชาวจีน อันแสดงให้ เห็นว่าชาวจีนนั้นเป็นชนชาติหนึ่งในโลกที่มีความกตัญญูกตเวทีสูง มาก เมื่อผู้มีพระคุณเสียชีวิตลงในขณะที่ตนเองรู้สึกว่ายังมิได้ปฏิบัติตนตอบ แทน พระคุณให้เพียงพอ จึงจัดนิมนต์พระสงฆ์มาประกอบพิธีกงเต็ก เป็น การทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ
  • 28.  ๑. คาว่า กง ในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน หมายถึง การกระทาในสิ่งที่ ถูกที่ชอบที่เป็นประโยชน์ แทนวิญญาณผู้มรณะเพื่อประสบความสุขความ สบาย  ๒. คาว่า เต็ก ในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน หมายถึง กุศลกรรมอันเกิด จากกรรมดีงามอานวยทิตานุหิตประโยชน์ (ประโยชน์จากการเกื้อกูลใหญ่ น้อย) น้อมอุทิศให้แก่วิญญาณผู้มรณะบรรลุถึงปัตตานุโมทนา (การโมทนา ส่วนบุญที่ผู้อื่นให้)
  • 31.  ความสัมพันธ์ไทย-จีน ด้านวรรณกรรม  สัมพันธภาพระหว่างชาวจีนและชาวไทย อาจกล่าวได้ว่า มีมากกว่า ความสัมพันธ์ของชาวจีนหรือชาวไทยที่มีต่อคนชาติอื่น ๆ ทั่วโลก และในความ หลากหลายแห่งความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันนี้ ประเด็นที่สาคัญยิ่งประการหนึ่ง คือ การถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนทางวรรณกรรม นั่นหมายถึงการแปล วรรณกรรมจีนเป็นภาษาไทย และการแปลวรรณกรรมไทยเป็นภาษาจีน
  • 32.
  • 33.  ไซอิ๋ว (ซีโหยวจี้; แปลว่า การเดินทางสู่ตะวันตก) เป็นนิยายคลาสสิคของ จีน แต่งขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1590 ช่วงราชวงศ์หมิง ประพันธ์โดย อู๋เฉิงเอิน  ไซอิ๋วเป็นเรื่องของการเดินทางไปยังชมพูทวีป เพื่ออัญเชิญคัมภีร์พุทธ ศาสนาของหลวงจีนชื่อ พระถังซาจั๋ง โดยมีสัตว์ 3 ตัวเป็นเพื่อนร่วมทาง คือ เห้งเจีย (ลิง) ตือโป๊ ยก่าย (หมู) และซัวเจ๋ง (ปีศาจปลา) ซึ่งระหว่างการเดินทาง ต้องพบกับการขัดขวางของเหล่าปิ ศาจมากมาย ด้วยเนื้อหาที่เป็นการผจญภัย และมีสัตว์เป็นตัวเอก ทาให้ไซอิ๋วได้รับความนิยมจากหมู่เยาวชนมากที่สุดใน วรรณกรรมเอกทั้ง 4 เรื่อง เป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับ สามก๊ก ความฝันในหอแดง และซ้องกั๋ง  ไซอิ๋วถูกแปลเป็นภาษาไทยครั้งแรกก่อน พ.ศ. 2349 มีความยาว 17 เล่ม สมุดไทย แต่ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อ พ.ศ. 2417 โดยโรงพิมพ์ หมอบรัดเลย์
  • 34. รหัสลับที่หน้าถ้า 2920 2029 9900 0191 2029 2920 0099 9190 ไขรหัสลับไซอิ๋ว
  • 35. 2920 2029 9900 0191 2029 2920 0099 9190 ยิ่งเกายิ่งคัน ยิ่งคันยิ่งเกา เกาเกาคันคัน คันอีกเกาอีก ยิ่งคันยิ่งเกา ยิ่งเกายิ่งคัน คันคันเกาเกา เกาอีกคันอีก
  • 36. 2920 2029 9900 0191 2029 2920 0099 9190 ยิ่งกินยิ่งหิว ยิ่งหิวยิ่งกิน กินกินหิวหิว หิวอีกกินอีก ยิ่งหิวยิ่งกิน ยิ่งกินยิ่งหิว หิวหิวกินกิน กินอีกหิวอีก
  • 37. ***************************************** เซียนแห่งภูผาน้าตก ร้องว่า เจ้า 2 ตัวนี่ ตอบอะไรไร้สาระ ไม่ถูกต้อง ข้าจะสาปให้เจ้าทั้งสองกลายเป็นหินเดี๋ยวนี้ โอม...เพี้ยง... แล้ว หงอคง กับ ตือโป๊ ยก่าย ก็กลายเป็นตุ๊กตาหินไปในบัดดล... ******************************************
  • 38. 2920 2029 9900 0191 2029 2920 0099 9190 ยิ่งรักยิ่งหลง ยิ่งหลงยิ่งรัก รักรักหลงหลง หลงอีกรักอีก ยิ่งหลงยิ่งรัก ยิ่งรักยิ่งหลง หลงหลงรักรัก รักอีกหลงอีก
  • 39. *************************************** เซียนแห่งภูผาน้าตก ตวาดว่า ไร้สาระ ไม่ถูกต้อง ข้าจะสาปให้เจ้ากลายเป็นหินเดี๋ยวนี้ โอม...เพี้ยง... แล้ว หงอคง ตือโป๊ ยก่าย ซัวเจ๋ง ก็กลายเป็นตุ๊กตาหินไปหมด *****************************************
  • 40. 2920 2029 9900 0191 2029 2920 0099 9190 ยิ่งเกิดยิ่งตาย ยิ่งตายยิ่งเกิด เกิดเกิดตายตาย ตายอีกเกิดอีก ยิ่งตายยิ่งเกิด ยิ่งเกิดยิ่งตาย ตายตายเกิดเกิด เกิดอีกตายอีก
  • 41. *************************************** เซียนแห่งภูผาน้าตก ร้องว่า ไม่ไร้สาระ แต่ยังไม่ถูกต้อง ข้าจะสาปให้เจ้ากลายเป็นหินครึ่งตัว โอม...เพี้ยง... แล้ว พระถังซาจั๋ง ก็กลายเป็นตุ๊กตาหินไปครึ่งตัว ****************************************
  • 42. 2920 2029 9900 0191 2029 2920 0099 9190 ยิ่งสุขยิ่งว่าง ยิ่งว่างยิ่งสุข สุขสุขว่างว่าง ว่างอีกสุขอีก ยิ่งว่างยิ่งสุข ยิ่งสุขยิ่งว่าง ว่างว่างสุขสุข สุขอีกว่างอีก
  • 43.  เรื่องไซอิ๋วจะเป็นการเดินทางของพระถังซัมจั๋งกับเหล่าลูกศิษย์ แต่ จริงๆ แล้วเป็นการเดินทางภายในจิตใจของชาวพุทธผู้ปฏิบัติธรรม โดย แทนเป้ าหมายคือ นิพพาน (ความว่างเปล่า, สุญตา) และ แทนบรรดาปีศาจ ที่เห้งเจียปราบคือ กิเลส ตัณหาและอวิชชาต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคในการ เดินทางของจิตใจสู่นิพพาน นั่นคือคาสอนของพุทธศาสนาที่ว่า การละวาง กิเลส อันทาให้เกิดทุกข์ เพื่อบรรลุสู่การหลุดพ้น นั่นคือนิพพาน
  • 44.  พระถังซัมจั๋ง แทน “ขันติธรรม” (สังเกตว่าในเรื่องจะใจเย็น และอดทน)  ม้าขาว แทน “ความวิริยะอุตสาหะ”  เห้งเจียหรือหงอคง แปลว่า “ปัญญาเห็นสุญตา” เป็นสัญลักษณ์ของปัญญาอัน ฉลาด ว่องไว แต่ซุกซน ฟุ้ งซ่านได้ จาต้องมีการบังคับให้อยู่ในร่องในรอย ซึ่งก็ แทนด้วยห่วงรัดเกล้า  เจ้าหมูจอมตะกละและบ้าผู้หญิง ตือโป๊ ยก่าย ในภาษาจีนแปลว่า “ศีลแปด” นั่น คือศีลเป็นสิ่งที่ต้องควบคุมและขัดเกลาเสมอๆ เพราะง่ายที่จะหลุดไปทา ผิดพลาด  ซัวเจ๋ง แปลจีนเป็นไทยว่า “ภูเขาทราย” เป็นสัญลักษณ์ของสมาธิ ซึ่งต้องมี ความหนักแน่น สงบจึงจะคงรูปอยู่ได้
  • 45.
  • 47.  ด้านแนวคิด  การนับถือเทพเจ้า เป็นความเชื่อที่เก่าแก่ที่สุดที่บรรพบุรุษได้ ถ่ายทอดมา มีเทพเจ้าประจาสถานที่ ทะเล ภูเขา ป่า แม่น้า บ้านเรือน ประจาอาชีพ เทพเจ้าชั้นสูงที่มีคุณธรรมเป็นเลิศ ได้แก่ เทพเจ้ากวนอู เจ้า แม่ทับทิม เป็นต้น เทพเจ้าชั้นสูงสุด ได้แก่ พระพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ และ เทพเจ้าที่ถือว่าเป็นเซียนต่างๆ เช่น โป๊ ยเซียน เป็นต้น จะมีศาลเจ้าขนาด ต่างๆสร้างไว้ในชุมชนหรือสถานที่ต่างๆ เพื่อการสักการะ
  • 48.  เจ้าแม่กวนอิม พระโพธิสัตว์ของพระพุทธ ศาสนา ฝ่ายมหายาน เป็นองค์เดียวกันกับ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ในภาษาสันสกฤต ซึ่งมีต้นกาเนิดจากพระสูตรมหายานในอินเดีย และได้ผสมผสานกับความเชื่อพื้นถิ่นดั้งเดิม ของจีน  คือตานานเรื่องพระธิดาเมี่ยวซ่าน ก่อให้เกิด เป็นพระโพธิสัตว์กวนอิมในภาคสตรีขึ้น เพื่อ แสดงออกถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความ เมตตากรุณาให้เด่นชัดยิ่งขึ้นดังเช่นความรัก ของมารดาที่มีต่อบุตร
  • 49.  ด้านสังคมสงเคราะห์  นอกจากจะชี้ทางเพื่อการพ้นทุกข์เหมือนคาสอนของพุทธ-ศาสนา ฝ่ายเถรวาท ยังมีการผสมผสานกับความเชื่ออื่นๆ มีพระพุทธเจ้าและพระ โพธิสัตว์จานวนมากมาย พระพุทธเจ้าองค์สาคัญที่สุด คือ พระอมิตาภะ และพระโพธิสัตว์องค์สาคัญที่สุด คือพระอวโลกิเตศวร หรือกวนอิม หัวใจ การปฏิบัติธรรม คือ ต้องมีทั้งปัญญาและกรุณาควบคู่กันไปเน้นการละ ความเห็นแก่ตัวและทาประโยชน์ แก่ส่วนรวม ซึ่งเป็นที่มาขององค์กรการ กุศลต่างๆ เช่น มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง โรงพยาบาลหัวเฉียว ถนนศาลา โรงธรรม เป็นต้น
  • 50.  มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง เป็นมูลนิธิที่มาจาก คณะเก็บศพไต้ฮงกง ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2452 โดยพ่อค้าชาวจีนในกรุงเทพฯ 12 คน มีจุดประสงค์เพื่อเก็บศพไร้ญาติทุกภาษา และนาไปฝังที่ป่าช้าทุ่งวัดดอน ถนนเจริญกรุง ที่ชาวจีนได้เรี่ยไรเงินซื้อไว้ ต่อมา ในปี พ.ศ. 2480 นักธุรกิจจีนได้ร่วมกับบรรดาสมาคมและหนังสือพิมพ์จีน ระดม ความคิดปฏิรูปคณะเก็บศพไต้ฮงกงขึ้นใหม่ โดยจดทะเบียน (ทุน 2,000 บาท) จัดตั้งเป็นมูลนิธิในนาม ป่อเต็กตึ๊ง หรือในชื่อเต็มว่า ฮั่วเคี้ยวป่อเต็กเซี่ยงตึ๊ง เป็นมูลนิธิลาดับที่ 11 ของประเทศสยาม
  • 51.  โรงพยาบาลหัวเฉียว เป็นโรงพยาบาลเอกชนทั่วไป (GENERAL HOSPITAL) ก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ตั้งอยู่ที่ 665 ถนนบารุงเมือง เขต ป้ อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เปิ ดให้บริการในปี พ.ศ. 2481 เมื่อ สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง เนื่องจากประชากรในกรุงเทพฯ เพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็ว คณะกรรมการบริหารมูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง ดาริให้ย้าย โรงพยาบาล จากบริเวณหลังวัดเทพศิรินทราวาส มายังสถานที่ตั้งปัจจุบัน โดยหันหน้าออกทางถนนกรุงเกษม
  • 52.
  • 53.  ด้านวรรณกรรม (ทางเหนือ)  1) ตานานมูลศาสนา ปรากฏอิทธิพลมหายานทางด้านแนวคิด ดังนี้  1.1) การสอดแทรกเหตุการณ์ที่เป็นอภินิหารเข้าไปในเนื้อหา  1.2) แนวคิดเรื่องการนับถือพระเถระเป็นพระพุทธเจ้า  1.3) คติเรื่องพระอุปคุต  2) ชินกาลมาลีปกรณ์ ปรากฏอิทธิพลเรื่องทานบารมีแห่งชีวิตของพระ โพธิสัตว์  3) คัมภีร์โลกบัญญัติ ปรากฏอิทธิพลเรื่องพระพุทธเจ้าอยู่เหนือเทพเจ้าฮินดู  4) คัมภีร์ปฐมมูลมูลี ปรากฏอิทธิพลแนวคิดเรื่องดาวนพเคราะห์ จักรราศี ทั้ง 12 คล้ายกับแนวคิดพุทธศาสนาตันตระยานสายกาลจักรยาน
  • 54.  ด้านศิลปกรรม  ตุง หรือ ธง นั้นมักปรากฏอยู่ บ่อยครั้งในพิธีกรรมต่างๆในเชียงใหม่ โดยสันนิษฐานวาตุงนั้นมีกาเนิดมา จากอินเดียโดยปรากฏพบหลักฐาน ภาพสลักที่สถูปสาญจี ซึ่งคติการใช้ธง ในพิธีกรรม นั้นปรากฏอย่างมากใน พุทธศาสนามหายาน จากคัมภีร์ต่างๆ เช่น ลลิตวิสตระ ซึ่งในภาคเหนือของ ไทยนั้น ก็ได้ปรากฏอิทธิพลดังกล่าว โดยสันนิษฐานว่า รับอิทธิพลผ่านทาง พม่าเข้ามา
  • 55.

Editor's Notes

  1. อยู่ที่หลังตลาดบ้านหม้อในกรุงเทพ ฯ แต่ได้เปลี่ยนมาเป็นวัดพระจีนปกครอง