SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว(bipolardisorder)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นางสาว ปพิชญา อนันทวัธน์ เลขที่ 20ชั้น ม.6 ห้อง15
2นางสาว พิมพ์รพัฒน์ ขัติยะ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาว ปพิชญา อนันทวัธน์ เลขที่ 20
2. นางสาว พิมพ์รพัฒน์ ขัติยะ เลขที่ 34
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
bipolardisorder
ประเภทโครงงาน โครงพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ( educational media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ปพิชญา อนันทวัธน์
นางสาว พิมพ์รพัฒน์ ขัติยะ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 13 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันเราพบเจอกับสภาวะต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของเราด้วยกันทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นความ
กดดันต่างๆ ความเครียดไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเรียน การเงิน การทางานหรือแม้แต่กระทั่งเรื่องความรัก ซึ่งเรื่องเหล่านี้
ส่งผลกระทบต่อ จิตใจของเราอย่างมากอาจทาให้เป็นโรคเครียดโรคซึมเศร้าหรือเป็นโรคอารมณ์สองขั้วที่เรียกว่า
ไบโพล่าร์นั่นเอง
ไบโพล่าร์นั้นเป็นโรคสองบุคลิกมีสองอารมณ์จะมีอาการ ที่โมโหง่ายและมีอาการซึมเศร้าซึ่งโรคนี้ส่งผลกระทบ
ต่อการรบกวนการทางานของจิตใจ และความสามารถด้านต่างๆจนบางครั้งทาให้เกิดการสูญเสียความเป็นตัวเองไป
โรคนี้เป็นโรคที่น่ากลัวเพราะส่งผลกับสภาพจิตใจของเราเป็นอย่างมากหากละเลยหรือไม่ให้ความสนใจผู้ป่วย
พาเที่ยวจนทาร้ายร่างกายตนเองหรือผู้อื่นได้ดังนั้นควรให้ความสาคัญและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ที่มาและสาเหตุของการเกิดโรคไบโพล่าร์
2.อาการที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคไบโพล่าร์
3.การดูแลและการรักษาผู้ป่วย
4.การให้ความสาคัญกับผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เพื่อให้ทุกคนได้ทราบถึงอาการและวิธีการดูแลรักษาผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์และเพื่อให้สังเกตว่า
พฤติกรรมของตนเองว่ามีอาการเสี่ยงต่อที่จะเป็นโรคไบโพล่าร์หรือไม่และเพื่อให้ตระหนักและ ให้
ความสาคัญกับผู้ป่วยดูแลและเอาใจใส่กับผู้ป่วยให้มากเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยทาร้ายตนเองหรือผู้อื่นได้
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การเกิดโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว (bipolar disorder)
โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว หรือโรคไบโพลาร์ (Bipolar disorder) เป็นความผิดปกติทางอารมณ์อย่างหนึ่ง ซึ่งผู้ป่วย
ที่เป็นโรคนี้จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับ
ช่วงที่อารมณ์ดีมากกว่าปกติ (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือ
หลาย ๆ เดือนก็ได้
ซึ่งอาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของผู้ป่วยทั้งในด้านการงาน การประกอบอาชีพ ความสัมพันธ์กับ
บุคคลอื่น และการดูแลตนเองอย่างมาก ทาให้ไม่สามารถดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างเป็นปกติ
Bipolar disorder อาจแบ่งกลุ่มกว้าง ๆ ออกได้เป็น
Bipolar I disorder คือ มีอาการเมเนีย สลับกับช่วงซึมเศร้า หรืออาจมีอาการเมเนียเพียงอย่างเดียวก็ได้
Bipolar II disorder คือ มีอาการซึมเศร้า สลับกับช่วงไฮโปเมเนีย (hypomania)
พบว่าความชุกชั่วชีวิตของ bipolar disorder นี้โดยรวมที่สารวจในประชากรทั่วไป พบได้สูงถึงร้อยละ 1.5 -5 ซึ่ง
อัตราการเกิดโรคครั้งแรกพบบ่อยที่สุดที่ช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมา คือ อายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของ
ผู้ป่วยจะมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี
4
นอกจากนี้ bipolar disorder ถือเป็นโรคที่มีการดาเนินโรคในระยะยาวเรื้อรัง และเป็นโรคที่มีโอกาสกลับเป็นซ้าได้สูง
ประมาณ 70-90%
Major Depressive Episode
A. มีอาการดังต่อไปนี้ห้าอาการ (หรือมากกว่า) ร่วมกันอยู่นาน 2 สัปดาห์ และแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
ไปจากแต่ก่อน: โดยมีอาการอย่างน้อยหนึ่งข้อของ (1) อารมณ์ซึมเศร้า (2) เบื่อหน่าย ไม่มีความสุข
มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ป่วย (เช่น รู้สึกเศร้า หรือว่างเปล่า)
หรือจากการสังเกตของผู้อื่น (เช่น เห็นว่าร้องให้) หมายเหตุ: ในเด็กและวัยรุ่นเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้
ความสนใจหรือความสุขใจในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก เป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุก
วัน (โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ป่วย หรือจากการสังเกตของผู้อื่น)
น้าหนักลดลงโดยมิได้เป็นจากการคุมอาหาร หรือเพิ่มขึ้นอย่างมีความสาคัญ (ได้แก่น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อย
ละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหารหรือเจริญอาหารแทบทุกวัน หมายเหตุ: ในเด็ก ดูว่าน้าหนักไม่เพิ่มขึ้นตามที่ควร
จะเป็น
นอนไม่หลับ หรือหลับมากไปแทบทุกวัน
กระสับกระส่าย (psychomotor agitation) หรือ เชื่องข้า (retardation) แทบทุกวัน (จากการสังเกตของผู้อื่น มิใช่
เพียงจากความรู้สึกของผู้ป่วยว่ากระวนกระวายหรือช้าลง)
อ่อนเพลีย หรือไร้เรี่ยวแรงแทบทุกวัน
รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่เหมาะสมหรือมากเกินควร (อาจถึงขั้นหลงผิด) แทบทุกวัน (มิใช่เพียงแค่การโทษ
ตนเองหรือรู้สึกผิดที่ป่วย)
สมาธิหรือความสามารถในการคิดอ่านลดลง หรือตัดสินใจอะไรไม่ได้ แทบทุกวัน (โดยได้ไม่จากการบอกเล่าของผู้ป่วย
ก็จากการสังเกตของผู้อื่น)
คิดถึงเรื่องการตายอยู่เรื่อย ๆ (มิใช่แค่กลัวว่าจะตาย) คิดอยากตายอยู่เรื่อย ๆ โดยมิได้วางแผนแน่นอน หรือพยายาม
ฆ่าตัวตายหรือมีแผนในการฆ่าตัวตายไว้แน่นอน
B. อาการเหล่านี้ก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างมีความสาคัญทางการแพทย์ หรือกิจกรรมด้านสังคม การงาน
หรือด้านอื่นๆ ที่สาคัญ บกพร่องลง
C. อาการมิได้เป็นจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา) หรือจากภาวะความเจ็บป่วยทางกาย
(เช่น ไทรอยด์ต่าhypothyroidism)
Manic Episode
A. มีช่วงที่มีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รั้ง หรืออารมณ์หงุดหงิดที่ผิดปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนาน
อย่างน้อย 1 สัปดาห์ (หรือนานเท่าใดก็ได้หากต้องอยู่ในโรงพยาบาล)
B. ในช่วงที่มีความผิดปกติด้านอารมณ์นี้ พบมีอาการดังต่อไปนี้อยู่ตลอด อย่างน้อย 3 อาการ (หรือ 4 อาการหากมี
เพียงอารมณ์หงุดหงิด) และอาการเหล่านี้รุนแรงอย่างมีความสาคัญ
5
มีความเชื่อมั่นเพิ่มขึ้นมาก หรือมีความคิดว่าตนยิ่งใหญ่ มีความสามารถ
ความต้องการนอนลดลง (เช่น ได้นอนแค่ 3 ชั่วโมงก็รู้สึกว่าเพียงพอแล้ว)
พูดคุยมากกว่าปกติ หรือต้องการพูดอย่างไม่หยุด
ความคิดแล่น คิดมากหลายเรื่องพร้อมๆ กัน หรือผู้ป่วยรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ว
วอกแวก (ได้แก่ ถูกดึงความสนใจได้ง่าย แม้สิ่งเร้าภายนอกจะไม่สาคัญหรือไม่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งที่สนใจอยู่ในขณะนั้น)
มีกิจกรรมซึ่งมีจุดหมาย เพิ่มขึ้นมาก (ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การงานหรือการเรียน หรือด้านเพศ) หรือ
กระสับกระส่ายมาก
หมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรมที่ทาให้เพลิดเพลินแต่มีโอกาสสูงที่จะก่อให้เกิดความยุ่งยากติดตามมา (เช่น ใช้จ่ายอย่าง
ไม่ยับยั้ง ไม่ยับยั้งใจเรื่องเพศ หรือลงทุนทาธุรกิจอย่างโง่เขลา)
D. ความผิดปกติด้านอารมณ์ที่เกิดขึ้นรุนแรงจนทาให้มีความบกพร่องอย่างมากในด้านการงาน หรือกิจกรรมทางสังคม
ตามปกติ หรือสัมพันธภาพกับผู้อื่น หรือทาให้ต้องอยู่ในโรงพยาบาลเพื่อป้องกันอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือมี
อาการโรคจิต
E. อาการมิได้เป็นจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา หรือการรักษาอื่น) หรือจากภาวะความ
เจ็บป่วยทางกาย (เช่น ไทรอยด์เป็นพิษ)
หมายเหตุ: ระยะอาการคล้าย mania ที่เห็นชัดว่าเป็นจากการรักษาทางกายภาพของภาวะซึมเศร้า (เช่น การใช้ยา
การรักษาด้วยไฟฟ้า การรักษาด้วยแสงสว่าง) ไม่ควรรวมอยู่ในการวินิจฉัยของ Bipolar I Disorder
Hypomanic Episode
A. มีช่วงที่มีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รั้ง หรืออารมณ์หงุดหงิดที่ผิดปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนาน
อย่างน้อย 4 วัน โดยเห็นชัดว่าต่างจากช่วงอารมณ์ปกติที่ไม่ซึมเศร้า
B. ในช่วงที่มีความผิดปกติด้านอารมณ์นี้ พบมีอาการดังต่อไปนี้อยู่ตลอด อย่างน้อย 3 อาการ (หรือสี่อาการหากมี
เพียงอารมณ์หงุดหงิด) และอาการเหล่านี้รุนแรงอย่างมีความสาคัญ
มีความเชื่อมั่นตัวเองเพิ่มขึ้นมาก หรือมีความคิดว่าตนยิ่งใหญ่ มีความสามารถ (grandiosity)
ความต้องการนอนลดลง (เช่น ได้นอนแค่ 3 ชั่วโมงก็รู้สึกว่าเพียงพอแล้ว)
พูดคุยมากกว่าปกติ หรือต้องการพูดอย่างไม่หยุด
ความคิดแล่น คิดมากหลายเรื่องพร้อมๆ กัน หรือผู้ป่วยรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ว
วอกแวก (distractibility) (ได้แก่ ถูกดึงความสนใจได้ง่าย แม้สิ่งเร้าภายนอกจะไม่สาคัญหรือไม่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งที่
สนใจอยู่ในขณะนั้น)
มีกิจกรรมซึ่งมีจุดหมาย เพิ่มขึ้นมาก (ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การงานหรือการเรียน หรือด้านเพศ) หรือ
กระสับกระส่าย
หมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรมที่ทาให้เพลิดเพลิน แต่มีโอกาสสูงที่จะก่อให้เกิดความยุ่งยากติดตามมา (เช่น ใช้จ่ายไม่ยั้ง
ไม่ยับยั้งใจเรื่องเพศ หรือลงทุนทาธุรกิจอย่างโง่เขลา)
6
C. ระยะที่มีอาการมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ซึ่งมิใช่ลักษณะประจาของบุคคลนั้นขณะไม่มี
อาการอย่างเห็นได้ชัด
D. ผู้อื่นสังเกตเห็นความผิดปกติด้านอารมณ์และการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ นี้
E. ระยะที่มีอาการไม่รุนแรงถึงกับทาให้กิจกรรมด้านสังคม หรือการงานบกพร่องลงมาก หรือทาให้ต้องอยู่โรงพยาบาล
และไม่มีอาการโรคจิต
F. อาการมิได้เป็นจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา หรือการรักษาอื่น) หรือจากภาวะความ
เจ็บป่วยทางกาย (เช่น ไทรอยด์เป็นพิษ)
หมายเหตุ: ระยะอาการคล้าย hypomania ที่เห็นชัดว่าเป็นจากการรักษาทางกายภาพของภาวะซึมเศร้า (เช่น การใช้
ยา การรักษาด้วยไฟฟ้า การรักษาด้วยแสงสว่าง) ไม่ควรรวมอยู่ในการวินิจฉัยของ Bipolar II Disorder
การวินิจฉัย
ไม่มีการตรวจพิเศษเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคนี้ ข้อมูลหลักในการวินิจฉัยคือ การซักประวัติอาการ ความเป็นไปของ
โรค ความเจ็บป่วยทางจิตในญาติ การใช้ยาและสารต่างๆ หรือโรคประจาตัว เพราะยาบางขนานหรือโรคทางร่างกาย
บางโรคอาจมีอาการทางจิตเหมือนกับโรคอารมณ์สองขั้วได้ แพทย์จะนาข้อมูลได้จากผู้ที่เป็นและญาติ ร่วมไปกับการ
ตรวจร่างกายและตรวจสภาพจิตมาประมวลกันเพื่อการวินิจฉัย
โรคทางกาย และยาที่อาจทาให้เกิดอาการ mania ได้แก่
โรคทางระบบประสาท ได้แก่ โรคลมชัก, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคไมเกรน, เนื้องอกสมอง
อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ
โรคต่อมไร้ท่อ เช่น ความผิดปกติของไทรอยด์ฮอร์โมน
โรคติดเชื่อ เช่น โรคเอดส์, การติดเชื้อของระบบประสาทส่วนกลาง
โรคเกี่ยวกับระบบผู้คุ้มกัน เช่น SLE
ยาต่าง ๆ เช่น ยาแก้ซึมเศร้า, corticosteroid, methylphenidate, levodopa, amphetamine, cocaine เป็นต้น
สาหรับผู้ที่สงสัยว่าตนเอง หรือสงสัยว่าคนใกล้ตัวอาจจะเป็น bipolar disorder อาจจะต้องไปพบกับแพทย์ เพื่อให้
ช่วยประเมินโดยละเอียด และวินิจฉัยโดยเร็ว เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย
ความเป็นไปของโรค
7
อาการระยะเมเนียมักเกิดขึ้นเร็ว และเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ จนภายใน 2-3 สัปดาห์อาการจะเต็มที่อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว
จนญาติจะรับไม่ไหวต้องพามาโรงพยาบาล อาการในครั้งแรกๆ จะเกิดหลังมีเรื่องกดดัน แต่หากเป็นหลายๆ ครั้งก็มัก
เป็นขึ้นมาเองโดยที่ไม่มีปัญหาอะไรมากระตุ้นเลย
ข้อสังเกตประการหนึ่งคือคนที่อยู่ในระยะเมเนียจะไม่คิดว่าตัวเองผิดปกติ มองว่าช่วงนี้ตัวเองอารมณ์ดีหรือใครๆ ก็
ขยันกันได้ ในขณะที่หากเป็นระยะซึมเศร้าคนที่เป็นจะพอบอกได้ว่าตนเองเปลี่ยนไปจากเดิม
ในระยะซึมเศร้าหากคนใกล้ชิดสนใจมักสังเกตไม่ยากเพราะเขาจะซึมลงดูอมทุกข์ แต่อาการแบบเมเนียจะบอกยาก
โดยเฉพาะในระยะแรกๆ ที่อาการยังไม่มาก เพราะดูเหมือนเขาจะเป็นแค่คนขยันอารมณ์ดีเท่านั้นเอง แต่ถ้าสังเกต
จริงๆ ก็จะเห็นว่าลักษณะแบบนี้ไม่ใช่ตัวตนของเขา เขาจะดู เวอร์ กว่าปกติไปมาก
สาเหตุของการเกิดโรคไบโพลาร์
ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของความผิดปกติทางอารมณ์นั้นมีได้หลายสาเหตุ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น
1. ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาท ในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่าง ๆ ใน
ร่างกาย , การนอนหลับที่ผิดปกติ, ความผิดปกติของการทางานในส่วนต่าง ๆ ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม
อารมณ์
2. ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความเครียด หรือปัญหาต่าง ๆ ภายในชีวิตได้ ก็สามารถ
กระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน
อย่างไรก็ตาม ปัจจัยทางสังคมไม่ใช่สาเหตุของโรค แต่อาจเป็นตัวกระตุ้นให้โรคแสดงอาการได้
3. ปัจจัยทางพันธุศาสตร์ ขณะนี้ เรายังไม่ทราบรูปแบบของการถ่ายทอดผ่านยีนที่ชัดเจนของโรคไบโพลาร์ แต่จาก
การศึกษาพบ ว่าสามารถพบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่วยเป็น bipolar มากกว่าในประชากรทั่วไป
8
รูปจาก NARSAD research newsletter article.
จาก ตาราง บรรทัดแรกแฝดไข่ใบเดียวกัน ต่อมาแฝดไข่คนละใบ ลูกที่มีพ่อแม่ป่วย 1 คน ลูกที่มีพ่แม่ป่วยทั้งคู่ พี่น้อง
ญาติลาดับที่ 2 และคนทั่วไป
คน ที่ป่วยลูกมีโอกาสเป็น 15-30% ความเสี่ยงทางกรรมพันธุ์เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิดโรคนี้ แต่ก็ไม่ได้หมายความ
ว่าลูกของคนที่ป่วยจะต้องเป็นเสมอไป คนที่พ่อกับแม่เป็นลูกก็ไม่ได้เป็น 100% และจะเห็นว่าแม้แต่ในแฝดไข่ใบ
เดียวกันคือมีอะไรเหมือนกันหมดทุกอย่าง คนหนึ่งเป็นอีกคนก็ไม่ได้เป็น 100% เพราะการแสดงออกของอาการยัง
ขึ้นกับปัจจัยอีกหลายๆ อย่างเช่นสภาพแวดล้อมความกดดันต่างๆ
โรคนี้จึงไม่ใช่โรคทางกรรม พันธ์เหมือนอย่างกับโรคฮีโมฟิเลียหรือโรคทางกรรมพันธุ์อื่นๆ แต่จะคล้ายกับโรคเบาหวาน
มากกว่า คือพ่อกับแม่เป็นลูกก็เสี่ยงแต่ไม่แน่ว่าจะเป็น บางคนพ่อแม่ไม่เป็นแต่ตัวเองเป็นก็มี
ระยะซึมเศร้า
ช่วงอารมณ์ซึมเศร้า (depressive episode) มีอาการดังต่อไปนี้ เกือบตลอดเวลา และเป็นติดต่อกันเป็นเวลาอย่าง
น้อย 2 สัปดาห์
มีอารมณ์ซึมเศร้า (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้) ผู้ป่วยจะรู้สึกเบื่อหน่ายท้อแท้
ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่างๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก อะไรที่เคยชอบทาก็จะไม่อยากทา
แรงจูงใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ก็จะลดลง
น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหาร หรือเจริญ
อาหารมาก
นอนไม่หลับ อาจมีอาการนอนหลับยาก หรือนอนแล้วตื่นเร็วกว่าปกติ อาจนอนหลับ ๆ ตื่น ทาให้รู้สึกไม่สดชื่น หรือ
ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการนอนหลับมากไป ต้องการนอนทั้งวัน กลางวันหลับมากขึ้น
9
กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง
อ่อนเพลีย รู้สึกไม่มีแรงไม่อยากทาอะไร
รู้สึกตนเองไร้ค่า บางรายอาจรู้สึกสิ้นหวัง มองสิ่งรอบ ๆ ตัวในแง่มุมที่เป็นลบไปหมด รวมถึงอนาคตที่ยังมาไม่ถึงด้วย
สมาธิ และความจาแย่ลง
คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย
ในระยะซึมเศร้า ผู้ที่เป็นจะรู้สึกเบื่อหน่ายไปหมด จากเดิมชอบอ่านหนังสือพิมพ์ ติดละคร หรือดูข่าว ก็ไม่สนใจติดตาม
อะไรๆ ก็ไม่เพลินใจไปหมด คุณยายบางคนหลานๆ มาเยี่ยมจากต่างจังหวัดแทนที่จะดีใจกลับรู้สึกเฉยๆ
บางคนจะมีอาการซึมเศร้า อารมณ์อ่อนไหวง่าย ร้องไห้เป็นว่าเล่น บางคนจะหงุดหงิด ขวางหูขวางตาไปหมด ทนเสียง
ดังไม่ได้ ไม่อยากให้ใครมาวุ่นวาย อาการเบื่อเป็นมากจนแม้แต่อาหารการกินก็ไม่สนใจ บางคนน้าหนักลดฮวบฮาบ
สัปดาห์ละ 2-3 กก.ก็มี
เขาจะนั่งอยู่เฉยๆ ได้เป็นชั่วโมงๆ ความจาก็แย่ลง มักหลงๆ ลืมๆ เพราะใจลอย ตัดสินใจอะไรก็ไม่ได้ เพราะไม่มั่นใจ
ไปเสียหมด เขาจะมองสิ่งต่างๆ ในแง่ลบไปหมด คิดว่าตัวเองเป็นภาระของคนอื่น ไม่มีใครสนใจตนเอง ถ้าตายไปคงจะ
ดีจะพ้นทุกข์เสียที
หากญาติหรือคนใกล้ชิดเห็นเขามีท่าทีบ่นไม่รู้จะอยู่ไปทาไม หรือพูดทานองฝากฝัง สั่งเสีย อย่ามองข้ามหรือต่อว่าเขา
ว่าอย่าคิดมาก แต่ให้สนใจพยายามพูดคุยกับเขา รับฟังสิ่งที่เขาเล่าให้มากๆ ถ้ารู้สึกไม่เข้าใจหรือมองแล้วไม่ค่อยดี ขอ
แนะนาให้รีบพาไปพบแพทย์เพื่อรักษาโดยเร็ว
ระยะอาการเมเนีย
ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคไบโพลาร์ จะมีช่วงที่อารมณ์ผิดปกติ โดยมีช่วงซึมเศร้า(depressive episode) สลับกับช่วงที่
อารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ (mania หรือ hypomania) ซึ่งขออธิบายแยกเป็นช่วง ๆ คือ
ช่วงอารมณ์ดีมากกว่าปกติ หรือเมเนีย (mania) ผู้ป่วยจะมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
อารมณ์เปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ร่าเริงมีความสุข เบิกบานใจ หรือหงุดหงิดง่ายก็ได้ ซึ่งญาติใกล้ชิดของผู้ป่วย
มักจะสังเกตได้ว่าอารมณ์ของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนผิดปกติ ซึ่งอาการที่เกิดขึ้น จะต้องเป็นติดต่อกันทุกวัน
อย่างน้อย 1 สัปดาห์
มีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ผู้ป่วยจะมีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีความสามารถมาก เกินไป เชื่อว่าตนเองสาคัญ และ
ยิ่งใหญ่ หรืออาจมีเนื้อหาของความคิดผิดปกติมาก ถึงขั้นว่าตนเองสาคัญ หรือยิ่งใหญ่ เช่น เชื่อว่าตนเองมีอานาจมาก
หรือมีพลังอานาจพิเศษ เป็นต้น
การนอนผิดปกติไป ผู้ป่วยจะมีความต้องการในการนอนลดลง ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกว่านอนแค่ 3 ชั่วโมงก็เพียงพอ
แล้ว เป็นต้น
ความคิดแล่นเร็ว (flight of idea) ผู้ป่วยจะคิดค่อนข้างเร็ว บางครั้งคิดหลาย ๆ เรื่องพร้อม ๆ กัน คิดเรื่องหนึ่งไม่ทัน
จบก็จะคิดเรื่องอื่นทันที บางครั้งอาจแสดงออกมาในรูปของการมีโครงการต่าง ๆ มากมาย
10
พูดเร็วขึ้น เนื่องจากความคิดของผู้ป่วยแล่นเร็ว จึงส่งผลต่อคาพูด ที่แสดงออกมาให้เห็น ผู้ป่วยมักจะพูดเร็ว และ
ขัดจังหวะได้ยาก ยิ่งถ้าอาการรุนแรงคาพูดจะดัง และเร็วขึ้นอย่างมากจนบางครั้งยากต่อการเข้าใจ
วอกแวกง่าย ผู้ป่วยจะไม่ค่อยมีสมาธิอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน และความสนใจมักจะเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้า
ภายนอกที่เข้ามากระตุ้นได้ง่าย
การเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น ในผู้ป่วยบางรายจะทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดเวลา ทั้งที่ทางาน ที่โรงเรียน หรือที่บ้าน มีการ
เคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้นชัดเจน ไม่สามารถอยู่นิ่ง ๆ ได้
ยับยั้งชั่งใจไม่ได้ ผู้ป่วยเมเนียมักจะแสดงพฤติกรรมที่เกิดจากการยับยั้งชั่งใจไม่ได้ เช่น ดื่มสุรามาก ๆ โทรศัพท์ทางไกล
มาก ๆ เล่นการพนัน หรือเสี่ยงโชคอย่างมาก ใช้เงินมากขึ้น ได้
** สาหรับอาการไฮโปเมเนียนั้น ผู้ป่วยจะมีอาการข้างต้นเช่นเดียวกับเมเนีย แต่จะแตกต่างกับเมเนียคือ อาการไฮโป
เมเนียจะไม่ส่งผลกระทบต่อการทาหน้าที่ หรือการใช้ชีวิตประจาวันมากนัก และผู้ป่วยต้องมีอาการอย่างน้อยที่สุดนาน
4 วัน
ในระยะเมเนีย เขาจะมีอาการเปลี่ยนไปอีกขั้วหนึ่งเลย เขาจะมั่นใจตัวเองมาก รู้สึกว่าตัวเองเก่ง ความคิดไอเดียต่างๆ
แล่นกระฉูด เวลาคิดอะไรจะมองข้ามไป 2-3 ช็อตจนคนตามไม่ทัน การพูดจาจะลื่นไหลพูดเก่ง คล่องแคล่ว มนุษย
สัมพันธ์ดี เรียกว่าเจอใครก็เข้าไปทักไปคุย เห็นใครก็อยากจะช่วย
ช่วงนี้เขาจะหน้าใหญ่ใจโต ใช้จ่ายเกินตัว ถ้าเป็นคุณตาคุณยายก็บริจาคเงินเข้าวัดจนลูกหลานระอา ถ้าเป็นเจ้าของ
บริษัทก็จัดงานเลี้ยง แจกโบนัส มีโครงการโปรเจคต่างๆ มากมาย พลังของเขาจะมีเหลือเฟือ นอนดึกเพราะมีเรื่องให้
ทาเยอะแยะไปหมด ตีสี่ก็ตื่นแล้ว ตื่นมาก็ทาโน่นทานี่เลย
ด้วยความที่เขาสนใจสิ่งต่างๆ มากมาย จึงทาให้เขาวอกแวกมาก ไม่สามารถอดทนทาเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้นานๆ เขา
ทางานเยอะ แต่ก็ไม่เสร็จเป็นชิ้นเป็นอันสักอย่าง ความยับยั้งชั่งใจตนเองมีน้อยมากเรียกว่าพอนึกอยากจะทาอะไรต้อง
ทาทันที หากมีใครมาห้ามจะโกรธรุนแรง
ในระยะนี้หากเป็นมากๆ จะพูดไม่หยุด เสียงดัง เอาแต่ใจตัวเอง โกรธรุนแรงถึงขั้นอาละวาดถ้ามีคนขัดขวาง
11
แนวทางในการรักษาโรค
ในปัจจุบันเชื่อว่าโรคไบโพล่าร์เกิดจากการทางานที่ผิดปกติของสมองโดยมีสารสื่อนาประสาท ที่ไม่สมดุลย์คือมีสารซีโร
โทนิน (serotonin) น้อยเกินไปและสารนอร์เอปิเนฟริน (epinephrine) มากเกินไปดังนั้นเราจึงสามารถรักษาโรคนี้ได้
ด้วยยา ยาที่ใช้รักษาโรคไบโพล่าร์ได้แก่ยาในกลุ่มยา ควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers), ยาแก้โรคจิต
(antipsychotics), และยาแก้โรคซึมเศร้า (antidepressants)
1. การรักษาในปัจจุบันนี้ ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางาน ได้อย่างปกติ เรียกชื่อกลุ่ม
ยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัว ที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้
ช่วงระยะการรักษา ช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมา เป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า 1
เดือน หลังจากนั้น จะเป็นการรักษาต่อเนื่องอาจ ต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้เป็น
สาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจ มาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด
2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็นระยะ
เวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็นๆ หายๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกัน ได้ทั้งอาการ mania และอาการซึมเศร้า ยา
อื่นๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate
3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และziprasidone
4. สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง ดาเนินชีวิตในทางสายกลาง
ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่า
ใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง
5. ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้องกันผู้ป่วยในช่วงก่อน โรค กาเริบรุนแรงเพราะว่ามี
โอกาส กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวน มาก ที่สุด คือ 15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วย
อาการขยันผิดปกติ หรือที่เรียกว่า “ไฮเปอร์แอคทีฟ”ต่อมา บางช่วงของการเจ็บป่วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า เป็น
มากๆอาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย
โรคนี้รักษาได้ ญาติควรนาผู้ป่วยส่งแพทย์โดยด่วน หากพบว่าอาการเริ่มเพิ่มชั้นความรุนแรงปัจจุบัน มียาที่ใช้ปรับ
อารมณ์ให้คงที่ปกติ สามารถให้ผู้ป่วยดาเนินได้อย่างปกติเหมือนคนทั่วไป และลดซึ่ง ความสูญเสียทางด้านหน้าที่การ
งาน และเงินทอง เวลาผู้ป่วยมีอาการ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความรุนแรง เป็นปัญหาสังคมได้
12
8 สัญญาณที่อาจเข้าข่ายเป็นโรคไบโพล่าร์
โรคอารมณ์สองขั้วหรือที่คนทั่วไปเรียกว่า “โรคไบโพล่าร์” (Bipolar Disorder) คือความผิดปกติของสมองที่ประชากร
ประมาณ 60 ล้านคนทั่วโลกกาลังเป็นอยู่ โรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4 อาการ ซึ่งอาการพื้นฐานเหล่านี้จะทาให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้องรับผิดชอบใน
ชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน โดยทั่วไปผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะเผชิญกับภาวะที่เรียกว่า Manic Episode คือ
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงหนึ่งของโรคไบโพลาร์ เป็นช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้งพล่าน (Mania) ซึ่งจะเกิดสลับกับช่วงที่
มีอาการซึมเศร้า (Depressive Episode) อาการที่เกิดขึ้นในช่วง Manic Episode ได้แก่ อยู่ไม่สุข ชอบทางานหรือลุก
เดินไปมา ความคิดแล่นเร็ว พูดเร็ว ความต้องการในการนอนน้อยลงหรือไม่อยากนอนหงุดหงิดง่าย ตัดสินใจไม่
เหมาะสม ไม่มีสมาธิ และอาจทาอันตรายต่อผู้ใกล้ชิด ยิ่งไปกว่านั้นผู้ป่วยบางรายอาจจะเผชิญกับภาวะ Hypomanic
Episode ซึ่งจะมีความรุนแรงน้อยกว่า Manic Episode
อารมณ์ของผู้ที่ป่วยเป็นโรคไบโพล่าร์สามารถเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาสั้นๆ อาการเหล่านี้ทาให้เป็น
เรื่องยากที่จะวินิจฉัยโรคเพราะทุกคนต่างก็มีทั้งวันที่ดีและไม่ดีทั้งนั้น วันนี้ เดอะ เคบิน กรุงเทพฯ ได้รวบรวม 8
สัญญาณต่างๆ ที่จะช่วยให้คนตระหนักและหันมาสนใจเกี่ยวกับโรคนี้มากขึ้น อีกทั้งเราจะบอกความแตกต่างของโรค
ไบโพล่าร์กับโรคซึมเศร้า ถ้าคุณกาลังรู้สึกว่าตัวคุณเองหรือคนที่คุณรัก มีพฤติกรรมหรืออาการต่อไปนี้ คุณหรือคนที่
คุณรักควรเข้ารับคาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
1. มีปัญหาในการทางานให้สาเร็จ
บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยไบโพล่าร์จะไม่มีปัญหาในการเริ่มต้นทางานต่างๆ แต่เมื่ออารมณ์ของผู้ป่วยเริ่มเปลี่ยนแปลง การ
ทางานให้สาเร็จลุล่วงจะเป็นเรื่องที่ยากขึ้นเรื่อยๆ เพราะฉะนั้นงานต่างๆที่ยังค้างคายาวเป็นหางว่าวคือหนึ่งในสัญญาณ
ที่กาลังบอกว่าคุณอาจจะเป็นโรคไบโพล่าร์ แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะมีอาการนี้เพราะมีหลายคนที่สามารถ
เรียนรู้วิธีการจัดการตัวเองและพัฒนาให้เป็นคนขยันในขณะที่กาลังเป็นไบโพล่าร์
2. มีอาการต่างๆของโรคซึมเศร้า
ในช่วงของโรคไบโพล่าร์ ผู้ป่วยจะมีอาการลักษณะเดียวกับคนที่กาลังป่วยเป็นโรคซึมเศร้า เช่น
ความอยากอาหารลดลง
มีปัญหาเรื่องการนอนหลับ
ไม่ค่อยมีสมาธิ
ไม่มีเรี่ยวแรง
แต่โรคไบโพล่าร์และโรคซึมเศร้าไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการเดียวกันได้ ความจริงแล้วถ้าคนที่เป็นไบโพล่าร์ทานแต่ยา
ต้านเศร้าเพียงอย่างเดียว อาการของพวกเขาอาจจะร้ายแรงขึ้น และอาจทาให้เขาตัดขาดตัวเองออกจากความเป็นจริง
เพราะฉะนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญมากว่าการรับประทานยาทุกชนิดต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
13
3. พูดเร็ว
การที่คนส่วนใหญ่พูดเร็วขึ้นเมื่อพวกเขารู้สึกตื่นเต้นถือว่าเป็นเรื่องที่ปกติมากและบางคนพูดเร็วกว่าคนอื่นถึงแม้ว่า
สถานการณ์จะปกติ อย่างไรก็ตามบ่อยครั้งที่การพูดเร็วเป็นสัญญาณหนึ่งของโรคไบไพล่าร์ โชคดีที่มีหลายวิธีที่ใช้ดูว่า
ลักษณะการพูดเร็วแบบนี้ถือว่าเป็นอาการหนึ่งของโรคไบโพล่าร์หรือไม่
คนที่เป็นไบโพล่าร์จะพูดแทรกคนอื่นและไม่สนใจบทสนทนาของคนรอบข้าง เขามักเปลี่ยนหัวข้อสนทนาอยู่บ่อยๆ ทา
ให้เป็นเรื่องยากสาหรับคนรอบข้างที่จะเข้าใจว่าเขากาลังพูดถึงอะไรอยู่ เขาจะพูดแบบนี้ก็ต่อเมื่อพวกเขากาลังอยู่ช่วง
ที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้งพล่าน (Mania Episode)
4. หงุดหงิดง่าย
ในบางกรณี คนที่เป็นไบโพล่าร์อาจจะมีอาการฟุ้งพล่านและภาวะซึมเศร้าพร้อมๆกัน เมื่อมีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น
พวกเขาจะหงุดหงิดง่ายมาก แน่นอนว่ามันอาจเป็นเรื่องยากที่จะคาดเดาว่าอาการที่เขากาลังเป็นตอนนี้เกิดจากอาการ
ของโรคไบโพล่าร์หรือแค่อาการหงุดหงิดเท่านั้น แต่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์มักจะถึงจุดที่ความหงุดหงิดเริ่มส่งผลเสียต่อการ
ใช้ชีวิตประจาวันโดยเฉพาะในเรื่องของความสัมพันธ์ต่างๆกับคนรอบข้าง นอกเหนือจากนั้นพวกเขาอาจจะสังเกตเห็น
ความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมตัวเองแต่รู้สึกว่าไม่สามารถควบคุมสิ่งที่เกิดขึ้นได้
5. ใช้ยาเสพติดหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ส่วนมากจะเริ่มต้นใช้ยาเสพติด กินเหล้า หรือใช้ทั้งสองอย่างร่วมกันเพื่อช่วยคลายอาการซึมเศร้า
ระหว่างที่อยู่ในช่วงซึมเศร้า (Depressive Episode) แต่พอใช้วิธีการแบบนี้บ่อยๆเพื่อบาบัดความซึมเศร้า มันก็มักจะ
นาไปสู่ภาวะการติดสารเสพติด ยิ่งไปกว่านั้นยาเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังเป็นอุปสรรคในการรักษาเพราะจะ
ทาให้ประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ของยาลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการข้างเคียงที่ไม่ต้องการ และลดคุณภาพชีวิตของ
ผู้ป่วยในทุกด้านอีกด้วย
6. อารมณ์ดีมากเกินไป (ไฮเปอร์)
อาจฟังดูแปลกแต่การแสดงออกทางอารมณ์ที่ดีมากเกินไปอาจเป็นสัญญาณของโรคไบโพล่าร์ได้เช่นกัน แน่นอนว่า
อาการนี้จะเกิดขึ้นสลับกับภาวะซึมเศร้า (Depressive States) อาการสุดโต่งแบบนี้เรียกว่า Manic Episode แต่
ผู้ป่วยไบโพล่าร์หลายคนก็ไม่ได้มีอารมณ์สุดโต่งแบบนี้ ผู้ป่วยเหล่านี้อาจจะแค่รู้สึกค่อนข้างดี (Hypomanic Episode)
คล้ายๆกับคนปกติและสามารถใช้ชีวิตประจาวันอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ส่วนมากผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะประสบกับ
ภาวะทั้ง 2 แบบสลับกันไปคือ บางครั้งจะเป็น Manic Episode และบางครั้งก็จะเป็น Hypomanic Episode
7. นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
เป็นเรื่องปกติที่โรคไบโพล่าร์จะมีผลข้างเคียงต่อการนอนของผู้ป่วย คนที่เคยมีประสบการณ์ของภาวะฟุ้งผล่าน
(Manic Episode) จะมีปัญหาในการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอแต่จะไม่เคยรู้สึกเหนื่อยล้า ในทางกลับกัน ช่วงที่
ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าจะนอนหลับมากขึ้นแต่ยังรู้สึกเหน็ดเหนื่อยอยู่ดี แน่นอนว่าการที่นอนหลับมากเกินไปหรือนอน
หลับพักผ่อนไม่เพียงพอเป็นสิ่งที่ไม่สมควรทาและพฤติกรรมนี้ยังสามารถทาให้อาการของโรคไบโพล่าร์แย่ลง ดังนั้น
14
การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอต่อความต้องการของร่ายกายในแต่ละวันจึงเป็นสิ่งที่สาคัญมากสาหรับผู้ที่เป็นโรค
ไบโพล่าร์
8. มีพฤติกรรมที่สม่าเสมอ – ไม่คิดหน้าคิดหลัง
เวลาที่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์อยู่ในช่วงฟุ้งพล่าน (Manic Episode) เขามักจะมีความเชื่อมั่นในตัวเองสูงมากจึงทาให้
มักจะแสดงกิริยาโอ้อวด ซึ่งจะเป็นสาเหตุทาให้ผู้ป่วยแสดงออกโดยที่ไม่คานึงถึงผลกระทบต่างๆที่จะตามมาใน
ภายหลัง ทาให้ผู้ป่วยทาสิ่งต่างๆที่พวกเขาไม่มีทางทาหากอยู่ในภาวะปกติ บ่อยครั้งที่โรคไบโพล่าร์เป็นตัวกระตุ้นให้
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงหรือใช้เงินฟุ้มเฟือยอย่างน่ากลัว และอาจมีการแสดงออกในรูปแบบของพฤติกรรม
อื่นๆร่วมด้วยเช่นกัน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครูผู้สอน
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
300บาท
15
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน พิมพ์รพัฒน์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พิมพ์รพัฒน์
3 จัดทาโครงร่างงาน ปพิชญา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปพิชญา
5 ปรับปรุงทดสอบ พิมพรพฒน์
6 การทาเอกสารรายงาน พิมพ์รพัฒน์
ปพิชญา
7 ประเมินผลงาน ปพิชญา
8 นาเสนอโครงงาน พิมพ์รพัฒน์
ปพิชญา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาโรคไบโพล่าร์ได้มากยิ่งขึ้น
2.สามารถเฝ้าสังเกตคนใกล้ตัวที่กาลังเสี่ยงเป็นโรคไบโพล่าร์
3.อาจลดปริมาณผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ได้มากยิ่งขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียน สถานที่ทั่วไป
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-วิทยาศาสตร์
-สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- http://www.somdet.go.th/Knowledge_(saranarue)/7.php
- https://th.thecabinbangkok.co.th
- https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1105

More Related Content

What's hot

ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapysiradamew
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanokpimchanokSirichaisop
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
ปัญหาของการฆ่าตัวตาย
ปัญหาของการฆ่าตัวตายปัญหาของการฆ่าตัวตาย
ปัญหาของการฆ่าตัวตายพัน พัน
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าNattanichaYRC
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกPantawan Bututham
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1เล้ง ยอดดี
 
กิตตินันท์ รังสรรค์
กิตตินันท์ รังสรรค์กิตตินันท์ รังสรรค์
กิตตินันท์ รังสรรค์Kittinan42
 

What's hot (20)

2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
Punisa
PunisaPunisa
Punisa
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปัญหาของการฆ่าตัวตาย
ปัญหาของการฆ่าตัวตายปัญหาของการฆ่าตัวตาย
ปัญหาของการฆ่าตัวตาย
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
บทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุกบทคัดย่อ Is มุก
บทคัดย่อ Is มุก
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
แบบสำรวจการรู้จักสมุนไพรไทยของวัยรุ่น 1
 
กิตตินันท์ รังสรรค์
กิตตินันท์ รังสรรค์กิตตินันท์ รังสรรค์
กิตตินันท์ รังสรรค์
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn SathapornTaboo
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าMai Natthida
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Guy Prp
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5 (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
Com final2
Com final2Com final2
Com final2
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Papitchaya_19

งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Papitchaya_19
 
งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Papitchaya_19
 
งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์Papitchaya_19
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2Papitchaya_19
 
งานชิ้นที่1
งานชิ้นที่1งานชิ้นที่1
งานชิ้นที่1Papitchaya_19
 

More from Papitchaya_19 (6)

งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
งานชิ้นที่ 2 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2กิจกรรมที่ 2
กิจกรรมที่ 2
 
Pdf คอม-1
Pdf คอม-1Pdf คอม-1
Pdf คอม-1
 
งานชิ้นที่1
งานชิ้นที่1งานชิ้นที่1
งานชิ้นที่1
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว(bipolardisorder) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นางสาว ปพิชญา อนันทวัธน์ เลขที่ 20ชั้น ม.6 ห้อง15 2นางสาว พิมพ์รพัฒน์ ขัติยะ เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว ปพิชญา อนันทวัธน์ เลขที่ 20 2. นางสาว พิมพ์รพัฒน์ ขัติยะ เลขที่ 34 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) bipolardisorder ประเภทโครงงาน โครงพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ( educational media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ปพิชญา อนันทวัธน์ นางสาว พิมพ์รพัฒน์ ขัติยะ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 13 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันเราพบเจอกับสภาวะต่างๆที่ส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจของเราด้วยกันทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็นความ กดดันต่างๆ ความเครียดไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเรียน การเงิน การทางานหรือแม้แต่กระทั่งเรื่องความรัก ซึ่งเรื่องเหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อ จิตใจของเราอย่างมากอาจทาให้เป็นโรคเครียดโรคซึมเศร้าหรือเป็นโรคอารมณ์สองขั้วที่เรียกว่า ไบโพล่าร์นั่นเอง ไบโพล่าร์นั้นเป็นโรคสองบุคลิกมีสองอารมณ์จะมีอาการ ที่โมโหง่ายและมีอาการซึมเศร้าซึ่งโรคนี้ส่งผลกระทบ ต่อการรบกวนการทางานของจิตใจ และความสามารถด้านต่างๆจนบางครั้งทาให้เกิดการสูญเสียความเป็นตัวเองไป โรคนี้เป็นโรคที่น่ากลัวเพราะส่งผลกับสภาพจิตใจของเราเป็นอย่างมากหากละเลยหรือไม่ให้ความสนใจผู้ป่วย พาเที่ยวจนทาร้ายร่างกายตนเองหรือผู้อื่นได้ดังนั้นควรให้ความสาคัญและดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ที่มาและสาเหตุของการเกิดโรคไบโพล่าร์ 2.อาการที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคไบโพล่าร์ 3.การดูแลและการรักษาผู้ป่วย 4.การให้ความสาคัญกับผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เพื่อให้ทุกคนได้ทราบถึงอาการและวิธีการดูแลรักษาผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์และเพื่อให้สังเกตว่า พฤติกรรมของตนเองว่ามีอาการเสี่ยงต่อที่จะเป็นโรคไบโพล่าร์หรือไม่และเพื่อให้ตระหนักและ ให้ ความสาคัญกับผู้ป่วยดูแลและเอาใจใส่กับผู้ป่วยให้มากเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยทาร้ายตนเองหรือผู้อื่นได้ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การเกิดโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว (bipolar disorder) โรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว หรือโรคไบโพลาร์ (Bipolar disorder) เป็นความผิดปกติทางอารมณ์อย่างหนึ่ง ซึ่งผู้ป่วย ที่เป็นโรคนี้จะมีลักษณะอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (major depressive episode) สลับกับ ช่วงที่อารมณ์ดีมากกว่าปกติ (mania หรือ hypomania) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเป็นอยู่นานเป็นสัปดาห์ หรือ หลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึ่งอาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของผู้ป่วยทั้งในด้านการงาน การประกอบอาชีพ ความสัมพันธ์กับ บุคคลอื่น และการดูแลตนเองอย่างมาก ทาให้ไม่สามารถดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่างเป็นปกติ Bipolar disorder อาจแบ่งกลุ่มกว้าง ๆ ออกได้เป็น Bipolar I disorder คือ มีอาการเมเนีย สลับกับช่วงซึมเศร้า หรืออาจมีอาการเมเนียเพียงอย่างเดียวก็ได้ Bipolar II disorder คือ มีอาการซึมเศร้า สลับกับช่วงไฮโปเมเนีย (hypomania) พบว่าความชุกชั่วชีวิตของ bipolar disorder นี้โดยรวมที่สารวจในประชากรทั่วไป พบได้สูงถึงร้อยละ 1.5 -5 ซึ่ง อัตราการเกิดโรคครั้งแรกพบบ่อยที่สุดที่ช่วงอายุ 15-19 ปี และรองลงมา คือ อายุ 20-24 ปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งของ ผู้ป่วยจะมีอาการครั้งแรกก่อนอายุ 20 ปี
  • 4. 4 นอกจากนี้ bipolar disorder ถือเป็นโรคที่มีการดาเนินโรคในระยะยาวเรื้อรัง และเป็นโรคที่มีโอกาสกลับเป็นซ้าได้สูง ประมาณ 70-90% Major Depressive Episode A. มีอาการดังต่อไปนี้ห้าอาการ (หรือมากกว่า) ร่วมกันอยู่นาน 2 สัปดาห์ และแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ไปจากแต่ก่อน: โดยมีอาการอย่างน้อยหนึ่งข้อของ (1) อารมณ์ซึมเศร้า (2) เบื่อหน่าย ไม่มีความสุข มีอารมณ์ซึมเศร้าเป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ป่วย (เช่น รู้สึกเศร้า หรือว่างเปล่า) หรือจากการสังเกตของผู้อื่น (เช่น เห็นว่าร้องให้) หมายเหตุ: ในเด็กและวัยรุ่นเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้ ความสนใจหรือความสุขใจในกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก เป็นส่วนใหญ่ของวัน แทบทุก วัน (โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ป่วย หรือจากการสังเกตของผู้อื่น) น้าหนักลดลงโดยมิได้เป็นจากการคุมอาหาร หรือเพิ่มขึ้นอย่างมีความสาคัญ (ได้แก่น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อย ละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหารหรือเจริญอาหารแทบทุกวัน หมายเหตุ: ในเด็ก ดูว่าน้าหนักไม่เพิ่มขึ้นตามที่ควร จะเป็น นอนไม่หลับ หรือหลับมากไปแทบทุกวัน กระสับกระส่าย (psychomotor agitation) หรือ เชื่องข้า (retardation) แทบทุกวัน (จากการสังเกตของผู้อื่น มิใช่ เพียงจากความรู้สึกของผู้ป่วยว่ากระวนกระวายหรือช้าลง) อ่อนเพลีย หรือไร้เรี่ยวแรงแทบทุกวัน รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่เหมาะสมหรือมากเกินควร (อาจถึงขั้นหลงผิด) แทบทุกวัน (มิใช่เพียงแค่การโทษ ตนเองหรือรู้สึกผิดที่ป่วย) สมาธิหรือความสามารถในการคิดอ่านลดลง หรือตัดสินใจอะไรไม่ได้ แทบทุกวัน (โดยได้ไม่จากการบอกเล่าของผู้ป่วย ก็จากการสังเกตของผู้อื่น) คิดถึงเรื่องการตายอยู่เรื่อย ๆ (มิใช่แค่กลัวว่าจะตาย) คิดอยากตายอยู่เรื่อย ๆ โดยมิได้วางแผนแน่นอน หรือพยายาม ฆ่าตัวตายหรือมีแผนในการฆ่าตัวตายไว้แน่นอน B. อาการเหล่านี้ก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างมีความสาคัญทางการแพทย์ หรือกิจกรรมด้านสังคม การงาน หรือด้านอื่นๆ ที่สาคัญ บกพร่องลง C. อาการมิได้เป็นจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา) หรือจากภาวะความเจ็บป่วยทางกาย (เช่น ไทรอยด์ต่าhypothyroidism) Manic Episode A. มีช่วงที่มีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รั้ง หรืออารมณ์หงุดหงิดที่ผิดปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนาน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ (หรือนานเท่าใดก็ได้หากต้องอยู่ในโรงพยาบาล) B. ในช่วงที่มีความผิดปกติด้านอารมณ์นี้ พบมีอาการดังต่อไปนี้อยู่ตลอด อย่างน้อย 3 อาการ (หรือ 4 อาการหากมี เพียงอารมณ์หงุดหงิด) และอาการเหล่านี้รุนแรงอย่างมีความสาคัญ
  • 5. 5 มีความเชื่อมั่นเพิ่มขึ้นมาก หรือมีความคิดว่าตนยิ่งใหญ่ มีความสามารถ ความต้องการนอนลดลง (เช่น ได้นอนแค่ 3 ชั่วโมงก็รู้สึกว่าเพียงพอแล้ว) พูดคุยมากกว่าปกติ หรือต้องการพูดอย่างไม่หยุด ความคิดแล่น คิดมากหลายเรื่องพร้อมๆ กัน หรือผู้ป่วยรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ว วอกแวก (ได้แก่ ถูกดึงความสนใจได้ง่าย แม้สิ่งเร้าภายนอกจะไม่สาคัญหรือไม่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งที่สนใจอยู่ในขณะนั้น) มีกิจกรรมซึ่งมีจุดหมาย เพิ่มขึ้นมาก (ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การงานหรือการเรียน หรือด้านเพศ) หรือ กระสับกระส่ายมาก หมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรมที่ทาให้เพลิดเพลินแต่มีโอกาสสูงที่จะก่อให้เกิดความยุ่งยากติดตามมา (เช่น ใช้จ่ายอย่าง ไม่ยับยั้ง ไม่ยับยั้งใจเรื่องเพศ หรือลงทุนทาธุรกิจอย่างโง่เขลา) D. ความผิดปกติด้านอารมณ์ที่เกิดขึ้นรุนแรงจนทาให้มีความบกพร่องอย่างมากในด้านการงาน หรือกิจกรรมทางสังคม ตามปกติ หรือสัมพันธภาพกับผู้อื่น หรือทาให้ต้องอยู่ในโรงพยาบาลเพื่อป้องกันอันตรายต่อตนเองหรือผู้อื่น หรือมี อาการโรคจิต E. อาการมิได้เป็นจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา หรือการรักษาอื่น) หรือจากภาวะความ เจ็บป่วยทางกาย (เช่น ไทรอยด์เป็นพิษ) หมายเหตุ: ระยะอาการคล้าย mania ที่เห็นชัดว่าเป็นจากการรักษาทางกายภาพของภาวะซึมเศร้า (เช่น การใช้ยา การรักษาด้วยไฟฟ้า การรักษาด้วยแสงสว่าง) ไม่ควรรวมอยู่ในการวินิจฉัยของ Bipolar I Disorder Hypomanic Episode A. มีช่วงที่มีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รั้ง หรืออารมณ์หงุดหงิดที่ผิดปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนาน อย่างน้อย 4 วัน โดยเห็นชัดว่าต่างจากช่วงอารมณ์ปกติที่ไม่ซึมเศร้า B. ในช่วงที่มีความผิดปกติด้านอารมณ์นี้ พบมีอาการดังต่อไปนี้อยู่ตลอด อย่างน้อย 3 อาการ (หรือสี่อาการหากมี เพียงอารมณ์หงุดหงิด) และอาการเหล่านี้รุนแรงอย่างมีความสาคัญ มีความเชื่อมั่นตัวเองเพิ่มขึ้นมาก หรือมีความคิดว่าตนยิ่งใหญ่ มีความสามารถ (grandiosity) ความต้องการนอนลดลง (เช่น ได้นอนแค่ 3 ชั่วโมงก็รู้สึกว่าเพียงพอแล้ว) พูดคุยมากกว่าปกติ หรือต้องการพูดอย่างไม่หยุด ความคิดแล่น คิดมากหลายเรื่องพร้อมๆ กัน หรือผู้ป่วยรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ว วอกแวก (distractibility) (ได้แก่ ถูกดึงความสนใจได้ง่าย แม้สิ่งเร้าภายนอกจะไม่สาคัญหรือไม่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งที่ สนใจอยู่ในขณะนั้น) มีกิจกรรมซึ่งมีจุดหมาย เพิ่มขึ้นมาก (ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม การงานหรือการเรียน หรือด้านเพศ) หรือ กระสับกระส่าย หมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรมที่ทาให้เพลิดเพลิน แต่มีโอกาสสูงที่จะก่อให้เกิดความยุ่งยากติดตามมา (เช่น ใช้จ่ายไม่ยั้ง ไม่ยับยั้งใจเรื่องเพศ หรือลงทุนทาธุรกิจอย่างโง่เขลา)
  • 6. 6 C. ระยะที่มีอาการมีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ซึ่งมิใช่ลักษณะประจาของบุคคลนั้นขณะไม่มี อาการอย่างเห็นได้ชัด D. ผู้อื่นสังเกตเห็นความผิดปกติด้านอารมณ์และการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ นี้ E. ระยะที่มีอาการไม่รุนแรงถึงกับทาให้กิจกรรมด้านสังคม หรือการงานบกพร่องลงมาก หรือทาให้ต้องอยู่โรงพยาบาล และไม่มีอาการโรคจิต F. อาการมิได้เป็นจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา หรือการรักษาอื่น) หรือจากภาวะความ เจ็บป่วยทางกาย (เช่น ไทรอยด์เป็นพิษ) หมายเหตุ: ระยะอาการคล้าย hypomania ที่เห็นชัดว่าเป็นจากการรักษาทางกายภาพของภาวะซึมเศร้า (เช่น การใช้ ยา การรักษาด้วยไฟฟ้า การรักษาด้วยแสงสว่าง) ไม่ควรรวมอยู่ในการวินิจฉัยของ Bipolar II Disorder การวินิจฉัย ไม่มีการตรวจพิเศษเพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคนี้ ข้อมูลหลักในการวินิจฉัยคือ การซักประวัติอาการ ความเป็นไปของ โรค ความเจ็บป่วยทางจิตในญาติ การใช้ยาและสารต่างๆ หรือโรคประจาตัว เพราะยาบางขนานหรือโรคทางร่างกาย บางโรคอาจมีอาการทางจิตเหมือนกับโรคอารมณ์สองขั้วได้ แพทย์จะนาข้อมูลได้จากผู้ที่เป็นและญาติ ร่วมไปกับการ ตรวจร่างกายและตรวจสภาพจิตมาประมวลกันเพื่อการวินิจฉัย โรคทางกาย และยาที่อาจทาให้เกิดอาการ mania ได้แก่ โรคทางระบบประสาท ได้แก่ โรคลมชัก, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคไมเกรน, เนื้องอกสมอง อาการบาดเจ็บที่ศีรษะ โรคต่อมไร้ท่อ เช่น ความผิดปกติของไทรอยด์ฮอร์โมน โรคติดเชื่อ เช่น โรคเอดส์, การติดเชื้อของระบบประสาทส่วนกลาง โรคเกี่ยวกับระบบผู้คุ้มกัน เช่น SLE ยาต่าง ๆ เช่น ยาแก้ซึมเศร้า, corticosteroid, methylphenidate, levodopa, amphetamine, cocaine เป็นต้น สาหรับผู้ที่สงสัยว่าตนเอง หรือสงสัยว่าคนใกล้ตัวอาจจะเป็น bipolar disorder อาจจะต้องไปพบกับแพทย์ เพื่อให้ ช่วยประเมินโดยละเอียด และวินิจฉัยโดยเร็ว เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเจ็บป่วย ความเป็นไปของโรค
  • 7. 7 อาการระยะเมเนียมักเกิดขึ้นเร็ว และเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ จนภายใน 2-3 สัปดาห์อาการจะเต็มที่อารมณ์รุนแรง ก้าวร้าว จนญาติจะรับไม่ไหวต้องพามาโรงพยาบาล อาการในครั้งแรกๆ จะเกิดหลังมีเรื่องกดดัน แต่หากเป็นหลายๆ ครั้งก็มัก เป็นขึ้นมาเองโดยที่ไม่มีปัญหาอะไรมากระตุ้นเลย ข้อสังเกตประการหนึ่งคือคนที่อยู่ในระยะเมเนียจะไม่คิดว่าตัวเองผิดปกติ มองว่าช่วงนี้ตัวเองอารมณ์ดีหรือใครๆ ก็ ขยันกันได้ ในขณะที่หากเป็นระยะซึมเศร้าคนที่เป็นจะพอบอกได้ว่าตนเองเปลี่ยนไปจากเดิม ในระยะซึมเศร้าหากคนใกล้ชิดสนใจมักสังเกตไม่ยากเพราะเขาจะซึมลงดูอมทุกข์ แต่อาการแบบเมเนียจะบอกยาก โดยเฉพาะในระยะแรกๆ ที่อาการยังไม่มาก เพราะดูเหมือนเขาจะเป็นแค่คนขยันอารมณ์ดีเท่านั้นเอง แต่ถ้าสังเกต จริงๆ ก็จะเห็นว่าลักษณะแบบนี้ไม่ใช่ตัวตนของเขา เขาจะดู เวอร์ กว่าปกติไปมาก สาเหตุของการเกิดโรคไบโพลาร์ ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของความผิดปกติทางอารมณ์นั้นมีได้หลายสาเหตุ ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 1. ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความผิดปกติของสารสื่อประสาท ในสมอง ความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่าง ๆ ใน ร่างกาย , การนอนหลับที่ผิดปกติ, ความผิดปกติของการทางานในส่วนต่าง ๆ ของสมองที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม อารมณ์ 2. ปัจจัยทางจิตสังคม เช่น การไม่สามารถปรับตัวเข้ากับความเครียด หรือปัญหาต่าง ๆ ภายในชีวิตได้ ก็สามารถ กระตุ้นให้เกิดความผิดปกติทางอารมณ์ขึ้นมาได้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ปัจจัยทางสังคมไม่ใช่สาเหตุของโรค แต่อาจเป็นตัวกระตุ้นให้โรคแสดงอาการได้ 3. ปัจจัยทางพันธุศาสตร์ ขณะนี้ เรายังไม่ทราบรูปแบบของการถ่ายทอดผ่านยีนที่ชัดเจนของโรคไบโพลาร์ แต่จาก การศึกษาพบ ว่าสามารถพบโรคนี้ได้บ่อยขึ้นในครอบครัวที่มีผู้ป่วยเป็น bipolar มากกว่าในประชากรทั่วไป
  • 8. 8 รูปจาก NARSAD research newsletter article. จาก ตาราง บรรทัดแรกแฝดไข่ใบเดียวกัน ต่อมาแฝดไข่คนละใบ ลูกที่มีพ่อแม่ป่วย 1 คน ลูกที่มีพ่แม่ป่วยทั้งคู่ พี่น้อง ญาติลาดับที่ 2 และคนทั่วไป คน ที่ป่วยลูกมีโอกาสเป็น 15-30% ความเสี่ยงทางกรรมพันธุ์เป็นสาเหตุสาคัญของการเกิดโรคนี้ แต่ก็ไม่ได้หมายความ ว่าลูกของคนที่ป่วยจะต้องเป็นเสมอไป คนที่พ่อกับแม่เป็นลูกก็ไม่ได้เป็น 100% และจะเห็นว่าแม้แต่ในแฝดไข่ใบ เดียวกันคือมีอะไรเหมือนกันหมดทุกอย่าง คนหนึ่งเป็นอีกคนก็ไม่ได้เป็น 100% เพราะการแสดงออกของอาการยัง ขึ้นกับปัจจัยอีกหลายๆ อย่างเช่นสภาพแวดล้อมความกดดันต่างๆ โรคนี้จึงไม่ใช่โรคทางกรรม พันธ์เหมือนอย่างกับโรคฮีโมฟิเลียหรือโรคทางกรรมพันธุ์อื่นๆ แต่จะคล้ายกับโรคเบาหวาน มากกว่า คือพ่อกับแม่เป็นลูกก็เสี่ยงแต่ไม่แน่ว่าจะเป็น บางคนพ่อแม่ไม่เป็นแต่ตัวเองเป็นก็มี ระยะซึมเศร้า ช่วงอารมณ์ซึมเศร้า (depressive episode) มีอาการดังต่อไปนี้ เกือบตลอดเวลา และเป็นติดต่อกันเป็นเวลาอย่าง น้อย 2 สัปดาห์ มีอารมณ์ซึมเศร้า (ในเด็กและวัยรุ่นอาจเป็นอารมณ์หงุดหงิดก็ได้) ผู้ป่วยจะรู้สึกเบื่อหน่ายท้อแท้ ความสนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่างๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก อะไรที่เคยชอบทาก็จะไม่อยากทา แรงจูงใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ก็จะลดลง น้าหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก (น้าหนักเปลี่ยนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบื่ออาหาร หรือเจริญ อาหารมาก นอนไม่หลับ อาจมีอาการนอนหลับยาก หรือนอนแล้วตื่นเร็วกว่าปกติ อาจนอนหลับ ๆ ตื่น ทาให้รู้สึกไม่สดชื่น หรือ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการนอนหลับมากไป ต้องการนอนทั้งวัน กลางวันหลับมากขึ้น
  • 9. 9 กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข หรือเชื่องช้าลง อ่อนเพลีย รู้สึกไม่มีแรงไม่อยากทาอะไร รู้สึกตนเองไร้ค่า บางรายอาจรู้สึกสิ้นหวัง มองสิ่งรอบ ๆ ตัวในแง่มุมที่เป็นลบไปหมด รวมถึงอนาคตที่ยังมาไม่ถึงด้วย สมาธิ และความจาแย่ลง คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย ในระยะซึมเศร้า ผู้ที่เป็นจะรู้สึกเบื่อหน่ายไปหมด จากเดิมชอบอ่านหนังสือพิมพ์ ติดละคร หรือดูข่าว ก็ไม่สนใจติดตาม อะไรๆ ก็ไม่เพลินใจไปหมด คุณยายบางคนหลานๆ มาเยี่ยมจากต่างจังหวัดแทนที่จะดีใจกลับรู้สึกเฉยๆ บางคนจะมีอาการซึมเศร้า อารมณ์อ่อนไหวง่าย ร้องไห้เป็นว่าเล่น บางคนจะหงุดหงิด ขวางหูขวางตาไปหมด ทนเสียง ดังไม่ได้ ไม่อยากให้ใครมาวุ่นวาย อาการเบื่อเป็นมากจนแม้แต่อาหารการกินก็ไม่สนใจ บางคนน้าหนักลดฮวบฮาบ สัปดาห์ละ 2-3 กก.ก็มี เขาจะนั่งอยู่เฉยๆ ได้เป็นชั่วโมงๆ ความจาก็แย่ลง มักหลงๆ ลืมๆ เพราะใจลอย ตัดสินใจอะไรก็ไม่ได้ เพราะไม่มั่นใจ ไปเสียหมด เขาจะมองสิ่งต่างๆ ในแง่ลบไปหมด คิดว่าตัวเองเป็นภาระของคนอื่น ไม่มีใครสนใจตนเอง ถ้าตายไปคงจะ ดีจะพ้นทุกข์เสียที หากญาติหรือคนใกล้ชิดเห็นเขามีท่าทีบ่นไม่รู้จะอยู่ไปทาไม หรือพูดทานองฝากฝัง สั่งเสีย อย่ามองข้ามหรือต่อว่าเขา ว่าอย่าคิดมาก แต่ให้สนใจพยายามพูดคุยกับเขา รับฟังสิ่งที่เขาเล่าให้มากๆ ถ้ารู้สึกไม่เข้าใจหรือมองแล้วไม่ค่อยดี ขอ แนะนาให้รีบพาไปพบแพทย์เพื่อรักษาโดยเร็ว ระยะอาการเมเนีย ผู้ป่วยที่ป่วยเป็นโรคไบโพลาร์ จะมีช่วงที่อารมณ์ผิดปกติ โดยมีช่วงซึมเศร้า(depressive episode) สลับกับช่วงที่ อารมณ์ดี หรือคึกคักมากกว่าปกติ (mania หรือ hypomania) ซึ่งขออธิบายแยกเป็นช่วง ๆ คือ ช่วงอารมณ์ดีมากกว่าปกติ หรือเมเนีย (mania) ผู้ป่วยจะมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ อารมณ์เปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยจะมีอารมณ์ร่าเริงมีความสุข เบิกบานใจ หรือหงุดหงิดง่ายก็ได้ ซึ่งญาติใกล้ชิดของผู้ป่วย มักจะสังเกตได้ว่าอารมณ์ของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมจนผิดปกติ ซึ่งอาการที่เกิดขึ้น จะต้องเป็นติดต่อกันทุกวัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ มีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น ผู้ป่วยจะมีความเชื่อมั่นว่าตนเองมีความสามารถมาก เกินไป เชื่อว่าตนเองสาคัญ และ ยิ่งใหญ่ หรืออาจมีเนื้อหาของความคิดผิดปกติมาก ถึงขั้นว่าตนเองสาคัญ หรือยิ่งใหญ่ เช่น เชื่อว่าตนเองมีอานาจมาก หรือมีพลังอานาจพิเศษ เป็นต้น การนอนผิดปกติไป ผู้ป่วยจะมีความต้องการในการนอนลดลง ผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกว่านอนแค่ 3 ชั่วโมงก็เพียงพอ แล้ว เป็นต้น ความคิดแล่นเร็ว (flight of idea) ผู้ป่วยจะคิดค่อนข้างเร็ว บางครั้งคิดหลาย ๆ เรื่องพร้อม ๆ กัน คิดเรื่องหนึ่งไม่ทัน จบก็จะคิดเรื่องอื่นทันที บางครั้งอาจแสดงออกมาในรูปของการมีโครงการต่าง ๆ มากมาย
  • 10. 10 พูดเร็วขึ้น เนื่องจากความคิดของผู้ป่วยแล่นเร็ว จึงส่งผลต่อคาพูด ที่แสดงออกมาให้เห็น ผู้ป่วยมักจะพูดเร็ว และ ขัดจังหวะได้ยาก ยิ่งถ้าอาการรุนแรงคาพูดจะดัง และเร็วขึ้นอย่างมากจนบางครั้งยากต่อการเข้าใจ วอกแวกง่าย ผู้ป่วยจะไม่ค่อยมีสมาธิอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้นาน และความสนใจมักจะเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้า ภายนอกที่เข้ามากระตุ้นได้ง่าย การเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น ในผู้ป่วยบางรายจะทากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดเวลา ทั้งที่ทางาน ที่โรงเรียน หรือที่บ้าน มีการ เคลื่อนไหวเพิ่มมากขึ้นชัดเจน ไม่สามารถอยู่นิ่ง ๆ ได้ ยับยั้งชั่งใจไม่ได้ ผู้ป่วยเมเนียมักจะแสดงพฤติกรรมที่เกิดจากการยับยั้งชั่งใจไม่ได้ เช่น ดื่มสุรามาก ๆ โทรศัพท์ทางไกล มาก ๆ เล่นการพนัน หรือเสี่ยงโชคอย่างมาก ใช้เงินมากขึ้น ได้ ** สาหรับอาการไฮโปเมเนียนั้น ผู้ป่วยจะมีอาการข้างต้นเช่นเดียวกับเมเนีย แต่จะแตกต่างกับเมเนียคือ อาการไฮโป เมเนียจะไม่ส่งผลกระทบต่อการทาหน้าที่ หรือการใช้ชีวิตประจาวันมากนัก และผู้ป่วยต้องมีอาการอย่างน้อยที่สุดนาน 4 วัน ในระยะเมเนีย เขาจะมีอาการเปลี่ยนไปอีกขั้วหนึ่งเลย เขาจะมั่นใจตัวเองมาก รู้สึกว่าตัวเองเก่ง ความคิดไอเดียต่างๆ แล่นกระฉูด เวลาคิดอะไรจะมองข้ามไป 2-3 ช็อตจนคนตามไม่ทัน การพูดจาจะลื่นไหลพูดเก่ง คล่องแคล่ว มนุษย สัมพันธ์ดี เรียกว่าเจอใครก็เข้าไปทักไปคุย เห็นใครก็อยากจะช่วย ช่วงนี้เขาจะหน้าใหญ่ใจโต ใช้จ่ายเกินตัว ถ้าเป็นคุณตาคุณยายก็บริจาคเงินเข้าวัดจนลูกหลานระอา ถ้าเป็นเจ้าของ บริษัทก็จัดงานเลี้ยง แจกโบนัส มีโครงการโปรเจคต่างๆ มากมาย พลังของเขาจะมีเหลือเฟือ นอนดึกเพราะมีเรื่องให้ ทาเยอะแยะไปหมด ตีสี่ก็ตื่นแล้ว ตื่นมาก็ทาโน่นทานี่เลย ด้วยความที่เขาสนใจสิ่งต่างๆ มากมาย จึงทาให้เขาวอกแวกมาก ไม่สามารถอดทนทาเรื่องใดเรื่องหนึ่งได้นานๆ เขา ทางานเยอะ แต่ก็ไม่เสร็จเป็นชิ้นเป็นอันสักอย่าง ความยับยั้งชั่งใจตนเองมีน้อยมากเรียกว่าพอนึกอยากจะทาอะไรต้อง ทาทันที หากมีใครมาห้ามจะโกรธรุนแรง ในระยะนี้หากเป็นมากๆ จะพูดไม่หยุด เสียงดัง เอาแต่ใจตัวเอง โกรธรุนแรงถึงขั้นอาละวาดถ้ามีคนขัดขวาง
  • 11. 11 แนวทางในการรักษาโรค ในปัจจุบันเชื่อว่าโรคไบโพล่าร์เกิดจากการทางานที่ผิดปกติของสมองโดยมีสารสื่อนาประสาท ที่ไม่สมดุลย์คือมีสารซีโร โทนิน (serotonin) น้อยเกินไปและสารนอร์เอปิเนฟริน (epinephrine) มากเกินไปดังนั้นเราจึงสามารถรักษาโรคนี้ได้ ด้วยยา ยาที่ใช้รักษาโรคไบโพล่าร์ได้แก่ยาในกลุ่มยา ควบคุมอารมณ์ (mood stabilizers), ยาแก้โรคจิต (antipsychotics), และยาแก้โรคซึมเศร้า (antidepressants) 1. การรักษาในปัจจุบันนี้ ใช้ยาไปช่วยในการปรับสารสื่อนาประสาทตรงให้กลับมาทางาน ได้อย่างปกติ เรียกชื่อกลุ่ม ยานี้ว่า กลุ่มปรับอารมณ์ให้คงที่ mood stabilizer ซึ่งจะมียาเฉพาะไม่กี่ตัว ที่จะใช้ในการรักษาที่จะช่วยอาการนี้ได้ ช่วงระยะการรักษา ช่วงแรกจะเป็นการคุมอาการให้กลับมา เป็นปกติที่สุดภายใน 1 สัปดาห์ก่อน หรืออย่างช้า 1 เดือน หลังจากนั้น จะเป็นการรักษาต่อเนื่องอาจ ต้องใช้ยาคุมอาการ ระยะเวลาการรักษาขึ้นอยู่กับอาการคนไข้เป็น สาคัญ ในคนไข้บางราย 1 ปี อาจ มาพบหมอแค่ 2-4 ครั้งเท่านั้น ไม่ต้องอยู่โรงพยาบาลตลอด 2. ยาหลักที่นิยมใช้รักษาและได้ผลดี คือ lithium ควบคุมอาการ mania ได้ดีมาก แต่ผู้ ป่วยอาจต้องใช้ยาเป็นระยะ เวลานาน เนื่องจากโรคนี้อาจเป็นๆ หายๆ ได้ ตัวยายังสามารถป้องกัน ได้ทั้งอาการ mania และอาการซึมเศร้า ยา อื่นๆ ที่ได้ผลดี ได้แก่ valproate, carbamazepine, lamotrigine, gabapentin และ topiramate 3. สาหรับอาการซึมเศร้าตอบสนองดีต่อยา clozapine, olanzapine, risperidone, quetiapine และziprasidone 4. สิ่งสาคัญที่สุด คนรอบข้างต้องเข้าใจในผู้ป่วยที่เป็นภาวะเช่นนี้ด้วย ตัวผู้ป่วยเองก็ต้อง ดาเนินชีวิตในทางสายกลาง ควบคุมเวลานอนหลับให้เพียงพอ อย่างน้อยก็วันละ 6-8 ชั่วโมง พยายามหาวิธีแก้ปัญหาและลดความเครียด และอย่า ใช้ยากระตุ้นหรือสารมึนเมา เช่น เหล้า หรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนสูง 5. ถ้ามีผู้ป่วยในครอบครัว คนรอบตัวต้องเข้าใจและช่วยกันป้องกันผู้ป่วยในช่วงก่อน โรค กาเริบรุนแรงเพราะว่ามี โอกาส กลับไปเป็นซ้าอีก ช่วงอายุที่มีโอกาสเป็นโรคอารมณ์แปรปรวน มาก ที่สุด คือ 15-25 ปี กลุ่มนี้จะเริ่มต้นด้วย อาการขยันผิดปกติ หรือที่เรียกว่า “ไฮเปอร์แอคทีฟ”ต่อมา บางช่วงของการเจ็บป่วยก็จะเปลี่ยนเป็นซึมเศร้า เป็น มากๆอาจถึงขั้นฆ่าตัวตาย โรคนี้รักษาได้ ญาติควรนาผู้ป่วยส่งแพทย์โดยด่วน หากพบว่าอาการเริ่มเพิ่มชั้นความรุนแรงปัจจุบัน มียาที่ใช้ปรับ อารมณ์ให้คงที่ปกติ สามารถให้ผู้ป่วยดาเนินได้อย่างปกติเหมือนคนทั่วไป และลดซึ่ง ความสูญเสียทางด้านหน้าที่การ งาน และเงินทอง เวลาผู้ป่วยมีอาการ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความรุนแรง เป็นปัญหาสังคมได้
  • 12. 12 8 สัญญาณที่อาจเข้าข่ายเป็นโรคไบโพล่าร์ โรคอารมณ์สองขั้วหรือที่คนทั่วไปเรียกว่า “โรคไบโพล่าร์” (Bipolar Disorder) คือความผิดปกติของสมองที่ประชากร ประมาณ 60 ล้านคนทั่วโลกกาลังเป็นอยู่ โรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4 อาการ ซึ่งอาการพื้นฐานเหล่านี้จะทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้องรับผิดชอบใน ชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน โดยทั่วไปผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะเผชิญกับภาวะที่เรียกว่า Manic Episode คือ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงหนึ่งของโรคไบโพลาร์ เป็นช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้งพล่าน (Mania) ซึ่งจะเกิดสลับกับช่วงที่ มีอาการซึมเศร้า (Depressive Episode) อาการที่เกิดขึ้นในช่วง Manic Episode ได้แก่ อยู่ไม่สุข ชอบทางานหรือลุก เดินไปมา ความคิดแล่นเร็ว พูดเร็ว ความต้องการในการนอนน้อยลงหรือไม่อยากนอนหงุดหงิดง่าย ตัดสินใจไม่ เหมาะสม ไม่มีสมาธิ และอาจทาอันตรายต่อผู้ใกล้ชิด ยิ่งไปกว่านั้นผู้ป่วยบางรายอาจจะเผชิญกับภาวะ Hypomanic Episode ซึ่งจะมีความรุนแรงน้อยกว่า Manic Episode อารมณ์ของผู้ที่ป่วยเป็นโรคไบโพล่าร์สามารถเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลาสั้นๆ อาการเหล่านี้ทาให้เป็น เรื่องยากที่จะวินิจฉัยโรคเพราะทุกคนต่างก็มีทั้งวันที่ดีและไม่ดีทั้งนั้น วันนี้ เดอะ เคบิน กรุงเทพฯ ได้รวบรวม 8 สัญญาณต่างๆ ที่จะช่วยให้คนตระหนักและหันมาสนใจเกี่ยวกับโรคนี้มากขึ้น อีกทั้งเราจะบอกความแตกต่างของโรค ไบโพล่าร์กับโรคซึมเศร้า ถ้าคุณกาลังรู้สึกว่าตัวคุณเองหรือคนที่คุณรัก มีพฤติกรรมหรืออาการต่อไปนี้ คุณหรือคนที่ คุณรักควรเข้ารับคาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ 1. มีปัญหาในการทางานให้สาเร็จ บ่อยครั้งที่ผู้ป่วยไบโพล่าร์จะไม่มีปัญหาในการเริ่มต้นทางานต่างๆ แต่เมื่ออารมณ์ของผู้ป่วยเริ่มเปลี่ยนแปลง การ ทางานให้สาเร็จลุล่วงจะเป็นเรื่องที่ยากขึ้นเรื่อยๆ เพราะฉะนั้นงานต่างๆที่ยังค้างคายาวเป็นหางว่าวคือหนึ่งในสัญญาณ ที่กาลังบอกว่าคุณอาจจะเป็นโรคไบโพล่าร์ แต่ก็ไม่ใช่ทุกคนที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะมีอาการนี้เพราะมีหลายคนที่สามารถ เรียนรู้วิธีการจัดการตัวเองและพัฒนาให้เป็นคนขยันในขณะที่กาลังเป็นไบโพล่าร์ 2. มีอาการต่างๆของโรคซึมเศร้า ในช่วงของโรคไบโพล่าร์ ผู้ป่วยจะมีอาการลักษณะเดียวกับคนที่กาลังป่วยเป็นโรคซึมเศร้า เช่น ความอยากอาหารลดลง มีปัญหาเรื่องการนอนหลับ ไม่ค่อยมีสมาธิ ไม่มีเรี่ยวแรง แต่โรคไบโพล่าร์และโรคซึมเศร้าไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการเดียวกันได้ ความจริงแล้วถ้าคนที่เป็นไบโพล่าร์ทานแต่ยา ต้านเศร้าเพียงอย่างเดียว อาการของพวกเขาอาจจะร้ายแรงขึ้น และอาจทาให้เขาตัดขาดตัวเองออกจากความเป็นจริง เพราะฉะนั้นเป็นสิ่งที่สาคัญมากว่าการรับประทานยาทุกชนิดต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
  • 13. 13 3. พูดเร็ว การที่คนส่วนใหญ่พูดเร็วขึ้นเมื่อพวกเขารู้สึกตื่นเต้นถือว่าเป็นเรื่องที่ปกติมากและบางคนพูดเร็วกว่าคนอื่นถึงแม้ว่า สถานการณ์จะปกติ อย่างไรก็ตามบ่อยครั้งที่การพูดเร็วเป็นสัญญาณหนึ่งของโรคไบไพล่าร์ โชคดีที่มีหลายวิธีที่ใช้ดูว่า ลักษณะการพูดเร็วแบบนี้ถือว่าเป็นอาการหนึ่งของโรคไบโพล่าร์หรือไม่ คนที่เป็นไบโพล่าร์จะพูดแทรกคนอื่นและไม่สนใจบทสนทนาของคนรอบข้าง เขามักเปลี่ยนหัวข้อสนทนาอยู่บ่อยๆ ทา ให้เป็นเรื่องยากสาหรับคนรอบข้างที่จะเข้าใจว่าเขากาลังพูดถึงอะไรอยู่ เขาจะพูดแบบนี้ก็ต่อเมื่อพวกเขากาลังอยู่ช่วง ที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้งพล่าน (Mania Episode) 4. หงุดหงิดง่าย ในบางกรณี คนที่เป็นไบโพล่าร์อาจจะมีอาการฟุ้งพล่านและภาวะซึมเศร้าพร้อมๆกัน เมื่อมีเหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้น พวกเขาจะหงุดหงิดง่ายมาก แน่นอนว่ามันอาจเป็นเรื่องยากที่จะคาดเดาว่าอาการที่เขากาลังเป็นตอนนี้เกิดจากอาการ ของโรคไบโพล่าร์หรือแค่อาการหงุดหงิดเท่านั้น แต่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์มักจะถึงจุดที่ความหงุดหงิดเริ่มส่งผลเสียต่อการ ใช้ชีวิตประจาวันโดยเฉพาะในเรื่องของความสัมพันธ์ต่างๆกับคนรอบข้าง นอกเหนือจากนั้นพวกเขาอาจจะสังเกตเห็น ความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมตัวเองแต่รู้สึกว่าไม่สามารถควบคุมสิ่งที่เกิดขึ้นได้ 5. ใช้ยาเสพติดหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ส่วนมากจะเริ่มต้นใช้ยาเสพติด กินเหล้า หรือใช้ทั้งสองอย่างร่วมกันเพื่อช่วยคลายอาการซึมเศร้า ระหว่างที่อยู่ในช่วงซึมเศร้า (Depressive Episode) แต่พอใช้วิธีการแบบนี้บ่อยๆเพื่อบาบัดความซึมเศร้า มันก็มักจะ นาไปสู่ภาวะการติดสารเสพติด ยิ่งไปกว่านั้นยาเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยังเป็นอุปสรรคในการรักษาเพราะจะ ทาให้ประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ของยาลดลง ทาให้ผู้ป่วยมีอาการข้างเคียงที่ไม่ต้องการ และลดคุณภาพชีวิตของ ผู้ป่วยในทุกด้านอีกด้วย 6. อารมณ์ดีมากเกินไป (ไฮเปอร์) อาจฟังดูแปลกแต่การแสดงออกทางอารมณ์ที่ดีมากเกินไปอาจเป็นสัญญาณของโรคไบโพล่าร์ได้เช่นกัน แน่นอนว่า อาการนี้จะเกิดขึ้นสลับกับภาวะซึมเศร้า (Depressive States) อาการสุดโต่งแบบนี้เรียกว่า Manic Episode แต่ ผู้ป่วยไบโพล่าร์หลายคนก็ไม่ได้มีอารมณ์สุดโต่งแบบนี้ ผู้ป่วยเหล่านี้อาจจะแค่รู้สึกค่อนข้างดี (Hypomanic Episode) คล้ายๆกับคนปกติและสามารถใช้ชีวิตประจาวันอย่างมีประสิทธิภาพ แต่ส่วนมากผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะประสบกับ ภาวะทั้ง 2 แบบสลับกันไปคือ บางครั้งจะเป็น Manic Episode และบางครั้งก็จะเป็น Hypomanic Episode 7. นอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ เป็นเรื่องปกติที่โรคไบโพล่าร์จะมีผลข้างเคียงต่อการนอนของผู้ป่วย คนที่เคยมีประสบการณ์ของภาวะฟุ้งผล่าน (Manic Episode) จะมีปัญหาในการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอแต่จะไม่เคยรู้สึกเหนื่อยล้า ในทางกลับกัน ช่วงที่ ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้าจะนอนหลับมากขึ้นแต่ยังรู้สึกเหน็ดเหนื่อยอยู่ดี แน่นอนว่าการที่นอนหลับมากเกินไปหรือนอน หลับพักผ่อนไม่เพียงพอเป็นสิ่งที่ไม่สมควรทาและพฤติกรรมนี้ยังสามารถทาให้อาการของโรคไบโพล่าร์แย่ลง ดังนั้น
  • 14. 14 การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอต่อความต้องการของร่ายกายในแต่ละวันจึงเป็นสิ่งที่สาคัญมากสาหรับผู้ที่เป็นโรค ไบโพล่าร์ 8. มีพฤติกรรมที่สม่าเสมอ – ไม่คิดหน้าคิดหลัง เวลาที่ผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์อยู่ในช่วงฟุ้งพล่าน (Manic Episode) เขามักจะมีความเชื่อมั่นในตัวเองสูงมากจึงทาให้ มักจะแสดงกิริยาโอ้อวด ซึ่งจะเป็นสาเหตุทาให้ผู้ป่วยแสดงออกโดยที่ไม่คานึงถึงผลกระทบต่างๆที่จะตามมาใน ภายหลัง ทาให้ผู้ป่วยทาสิ่งต่างๆที่พวกเขาไม่มีทางทาหากอยู่ในภาวะปกติ บ่อยครั้งที่โรคไบโพล่าร์เป็นตัวกระตุ้นให้ ผู้ป่วยมีพฤติกรรมทางเพศที่เสี่ยงหรือใช้เงินฟุ้มเฟือยอย่างน่ากลัว และอาจมีการแสดงออกในรูปแบบของพฤติกรรม อื่นๆร่วมด้วยเช่นกัน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครูผู้สอน -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ 300บาท
  • 15. 15 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน พิมพ์รพัฒน์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล พิมพ์รพัฒน์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ปพิชญา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปพิชญา 5 ปรับปรุงทดสอบ พิมพรพฒน์ 6 การทาเอกสารรายงาน พิมพ์รพัฒน์ ปพิชญา 7 ประเมินผลงาน ปพิชญา 8 นาเสนอโครงงาน พิมพ์รพัฒน์ ปพิชญา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ผู้ที่สนใจสามารถศึกษาโรคไบโพล่าร์ได้มากยิ่งขึ้น 2.สามารถเฝ้าสังเกตคนใกล้ตัวที่กาลังเสี่ยงเป็นโรคไบโพล่าร์ 3.อาจลดปริมาณผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ได้มากยิ่งขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียน สถานที่ทั่วไป กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -วิทยาศาสตร์ -สังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - http://www.somdet.go.th/Knowledge_(saranarue)/7.php - https://th.thecabinbangkok.co.th - https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1105