SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
1 
บทททีี่่ 55 
ธรรมาภิบาล/บรรษัทภิ 
บาล
2 
ววััตถถุุปรระะสงคค์์ 
เพื่อให้นักศึกษาสามารถ 
1. อธิบายความหมายและที่มา 
ของธรรมาภิบาล/บรรษัทภิบาล 
ได้ 
2. ระบุความสำาคัญของธรรมาภิ 
บาล/บรรษัทภิบาลได้ 
3. วิเคราะห์การประยุกต์ใช้หลัก 
ธรรมาภิบาล/บรรษัทภิบาลใน 
การบริหารองค์กรได้
3 
ธรรมาภิบาล
4 
ความหมายของธรรมาภิ 
บาล
5 
ความหมายของธรรมาภิ 
บาล 
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ( อ้างถึงใน 
จุไรรัตน์ แสนใจรักษ์, 2546: 61) 
อธิบายว่า ธรรมาภิบาล หมายถึง การ 
บริหารกิจการบ้านเมืองด้วยความเป็น 
ธรรม เคารพสิทธิของผู้คนพลเมือง 
อย่างเสมอกัน มีระบบตัวแทน 
ประชาชนที่สะท้อนความคิดของผู้คน 
ได้อย่างเที่ยงตรงไม่ถืออำานาจเป็น 
ธรรม
6 
ความหมายของธรรมาภิ 
บาล 
สำานักงานคณะกรรมการกำากับหลัก 
ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) 
(2553: 1) ได้สรุปความหมายของ ธรรมาภิ 
บาล ไว้ว่า เป็นหลักการที่ได้รับการยอมรับ 
เป็นสากลว่า เป็นระบบที่ทำาให้องค์กร 
สามารถดำาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
ประสิทธิผล และที่สำาคัญเป็นไปอย่าง 
โปร่งใส น่าเชอื่ถือและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย 
จึงเป็นหลักการที่หลายองค์กรได้ให้ความ 
สำาคัญในการนำามาปฏิบัติเพื่อให้สามารถ
7 
สรุปความหมายของธร 
รมาภิบาล 
ธรรมาภิบาล หมายถึง “หลักการ 
ที่ใช้ในการบริหารประเทศ รวมทั้ง 
องค์กรต่าง ๆ เพอื่ให้เกิดความ 
โปร่งใส มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 
โดยเน้นการมีส่วนร่วมและการตรวจ 
สอบจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง 
ๆ”
8 
ที่มาธรรมาภิบาล
9 
ที่มาของธรรมาภิบาล 
ธรรมาภิบาล เป็นแนวคิดของ 
ธนาคารโลก (World Bank) ที่นำามาใช้ใน 
การกำาหนดนโยบายให้กู้เงินแก่ประเทศใน 
ซีกโลกใต้ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 เพื่อแก้ 
ปัญหาการไร้ประสิทธิภาพและการ 
คอร์รัปชั่นในประเทศกำาลังพัฒนาโดย 
เฉพาะประเทศในแถบละตินอเมริกา ที่มี 
ปัญหาในการบริหารงานจนทำาให้เกิด 
ปัญหาหนเี้สีย เนอื่งจากกู้เงินธนาคารโลก 
ไปแล้วไม่สามารถหาเงินมาชำาระคืนได้
10 
ความสำาคัญของธรรมาภิ 
บาล
11 
ความสำาคัญของธรรมาภิ 
บาล 
1. เพื่อเป็นแนวทางสำาหรับคณะกรรมการ 
ผู้บริหารและพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ 
ตามความรับผิดชอบได้สอดคล้องกับหลัก 
ธรรมาภิบาล 
2. เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุ 
วัตถุประสงค์และภารกิจที่ได้วางไว้อย่าง 
ถูกทำานองคลองธรรม โดยมีเครื่องมือการ 
ตรวจสอบการทำางานด้านต่าง ๆ ของ 
องค์กร เป็นแนวทางเสนอข้อคิดเห็น ข้อ 
เสนอแนะให้กับองค์กรเพื่อปรับปรุงแก้ไข
12 
ความสำาคัญของธรรมาภิ 
3. เพอื่เสริมสร้างควบามาเชลื่อมนั่ต่อความโปร่งใส 
ความเป็นธรรมและความน่าเชื่อถือให้กับองค์กร 
ในการบริหารจัดการและป้องกันการแสวงหา 
ประโยชน์จากการเป็นกรรมการผู้บริหารและ 
พนักงาน 
4. เพอื่ให้คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน 
ใช้อำานาจภายในขอบเขตของกฎหมาย รวมถึง 
การสร้างกรอบความรับผิดชอบของคณะ 
กรรมการและผู้บริหารต่อผู้มีส่วนได้เสียและส่วน 
รวม และทำาให้เกิดระบบความรับผิดของผู้บริหาร 
ต่อคณะกรรมการ และคณะกรรมการต่อผู้มีส่วน
13 
องค์ประกอบของธร 
รมาภิบาล
14 
องค์ประกอบของธร 
รมาภิบาล 
ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ได้ 
กำาหนดหลักการของ 
ธรรมาภิบาล ไว้ 5 มิติ ได้แก่ 
1. ความน่าเชื่อถือและมีกฎเกณฑ์ที่ 
ชัดเจน (Accountability) 
2. ความโปร่งใส (Transparency) 
3. การมีส่วนร่วม (Participation) 
4. ความสามารถคาดการณ์ได้ 
(Predictability)
15 
องค์ประกอบของธร 
รมาภิบาล 
สำานักงานคณะกรรมการ 
ข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) กำาหนดไว้ 
ในระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 
2542 ว่าด้วยการบริหารกิจการบ้าน 
เมืองที่ดี ประกอบด้วย 6 หลัก
16 
องค์ประกอบของธร 
รมาภิบาล
17 
บรรษัทภิบาล
18 
ความหมายของบรรษัทภิ 
บาล
19 
ความหมายของบรรษัทภิ 
บาล 
บรรษัทภิบาล มาจากคำาว่า บรรษัท + 
อภิบาล 
บรรษัท แปลว่า บริษัทขนาดใหญ่ 
อภิบาล แปลว่า บำารุงรักษา ปกครอง 
บรรษัทภิบาล จึงแปลว่า การบำารุง 
รักษาบริษัทขนาดใหญ่ หรือการกำากับดูแล 
บริษัทขนาดใหญ่
20 
ความหมายของบรรษัทภิ 
บาล 
จินตนา บุญบงการ (2554: 180) 
บรรษัทภิบาลหรือระบบการกำากับดูแล 
กิจการที่ดี หมายถึง การควบคุมที่ดีโดย 
รวมของกิจการและการกระทำาของบริษัท 
และการควบคุมเช่นนี้ต้องอาศัยผู้มีส่วนได้ 
เสียของบริษัททั้งหลายและจะเป็นวิธีหนึ่งที่ 
จะทำาให้การบริหารมีจริยธรรมอย่าง 
แท้จริง
21 
สรุปความหมายขอ 
งบรรษัทภิบาล 
บรรษัทภิบาล หมายถึง “หลักการที่ 
พัฒนามาจากหลักธรรมาภิบาล ใช้ในการ 
กำากับดูแลกิจการเพื่อให้เกิดความโปร่งใส 
การมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการ 
เติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร โดยมุ่งเน้น 
การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่ม 
ต่าง ๆ”
22 
ที่มาของบรรษัทภิบาล
23 
ที่มาของบรรษัทภิบาล 
แนวคิดเรื่องบรรษัทภิบาลหรือ 
Corporate Governance เกิดขนึ้พร้อม ๆ 
กับธรรมาภิบาลโดยเป็นแนวนโยบายของ 
ธนาคารโลกที่กำาหนด 
สำาหรับประเทศไทย บรรษัทภิบาลเป็น 
วิถีการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจที่นำาไปสู่ 
ความเติบโต ความรุ่งเรืองและผาสุข ตลอด 
จนความมั่นคงถาวร เชอื่กันว่า 
ประเทศไทยมีวิกฤติการณ์ทางการเงินเมื่อ 
ปี พ.ศ. 2540 นนั้ เพราะการบริหารจัดการ
24 
องค์ประกอบขอ 
งบรรษัทภิบาล
25 
องค์ประกอบขอ 
งบรรษัทภิบาล 
ความรับผิดชอบ (Responsibility) 
ความรับผิดชอบ 
(Accountability) 
ทุกฝ่ายอย่างเสมอภาค (Equitable treatment) 
โปร่งใสตรวจสอบได้ (Transparency) 
หลักปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practices)
26 
องค์ประกอบขอ 
งบรรษัทภิบาล 
โครงสร้างและกระบวนการ (Structure and Process) 
มิติที่ 2: จริยธรรมและคุณธรรม 
(Ethics and Integrity) 
มมิิตติิททีี่่ 33:: คววาามสสาามมาารถแแลละะภภูมูมิปิปััญญญาา 
((CCoommppeetteennccee aanndd WWiinnddoomm))
27 
กิจกรรมสัปดาห์ที่ 9 
คำาสั่ง นักศึกษาทำากิจกรรมโดยแบ่ง 
กลุ่มเพื่อวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยว 
กับปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น ทั้ง 
ในองค์กรภาครัฐและองค์กรภาค 
เอกชนที่นักศึกษาได้ค้นคว้ามา 
และให้เสนอแนวทางในการแก้ไข 
และป้องกันปัญหาการคอร์รัปชั่นดัง 
กล่าวโดยใช้หลักธรรมาภิ
28 
สงั่งาน สัปดาห์ที่ 9 
คำาสั่ง ให้นักศึกษาค้นหาข่าวเกี่ยว 
กับปัญหาจริยธรรมที่เกิดขึ้นใน 
หน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร (เช่น 
แผนกการตลาด แผนกการบัญชี 
แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนก 
บริหารทรัพยากรบุคคล เป็นต้น) 
(กลมุ่ละ 1 ข่าว) เพื่อนำามาเสนอ 
หน้าชั้นเรียนในสัปดาห์ถัดไป

More Related Content

Viewers also liked

การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
Pa'rig Prig
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
Taraya Srivilas
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1
wowwilawanph
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
Amarin Unchanum
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Sarayuth Intanai
 

Viewers also liked (15)

การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1
 
Company profile
Company profile Company profile
Company profile
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
งานนำเสนอ Company profile bk
งานนำเสนอ Company profile bkงานนำเสนอ Company profile bk
งานนำเสนอ Company profile bk
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Company Profile
Company ProfileCompany Profile
Company Profile
 
Bridgestone
Bridgestone Bridgestone
Bridgestone
 
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาดCh 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
Ch 05 สภาพแวดล้อมทางการตลาด
 

Similar to Ba.453 ch5

ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
wiraja
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
CUPress
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
CUPress
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
kroobannakakok
 

Similar to Ba.453 ch5 (6)

Abb3
Abb3Abb3
Abb3
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 

Ba.453 ch5

  • 1. 1 บทททีี่่ 55 ธรรมาภิบาล/บรรษัทภิ บาล
  • 2. 2 ววััตถถุุปรระะสงคค์์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถ 1. อธิบายความหมายและที่มา ของธรรมาภิบาล/บรรษัทภิบาล ได้ 2. ระบุความสำาคัญของธรรมาภิ บาล/บรรษัทภิบาลได้ 3. วิเคราะห์การประยุกต์ใช้หลัก ธรรมาภิบาล/บรรษัทภิบาลใน การบริหารองค์กรได้
  • 5. 5 ความหมายของธรรมาภิ บาล ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ( อ้างถึงใน จุไรรัตน์ แสนใจรักษ์, 2546: 61) อธิบายว่า ธรรมาภิบาล หมายถึง การ บริหารกิจการบ้านเมืองด้วยความเป็น ธรรม เคารพสิทธิของผู้คนพลเมือง อย่างเสมอกัน มีระบบตัวแทน ประชาชนที่สะท้อนความคิดของผู้คน ได้อย่างเที่ยงตรงไม่ถืออำานาจเป็น ธรรม
  • 6. 6 ความหมายของธรรมาภิ บาล สำานักงานคณะกรรมการกำากับหลัก ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) (2553: 1) ได้สรุปความหมายของ ธรรมาภิ บาล ไว้ว่า เป็นหลักการที่ได้รับการยอมรับ เป็นสากลว่า เป็นระบบที่ทำาให้องค์กร สามารถดำาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และที่สำาคัญเป็นไปอย่าง โปร่งใส น่าเชอื่ถือและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย จึงเป็นหลักการที่หลายองค์กรได้ให้ความ สำาคัญในการนำามาปฏิบัติเพื่อให้สามารถ
  • 7. 7 สรุปความหมายของธร รมาภิบาล ธรรมาภิบาล หมายถึง “หลักการ ที่ใช้ในการบริหารประเทศ รวมทั้ง องค์กรต่าง ๆ เพอื่ให้เกิดความ โปร่งใส มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยเน้นการมีส่วนร่วมและการตรวจ สอบจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ”
  • 9. 9 ที่มาของธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาล เป็นแนวคิดของ ธนาคารโลก (World Bank) ที่นำามาใช้ใน การกำาหนดนโยบายให้กู้เงินแก่ประเทศใน ซีกโลกใต้ตั้งแต่ทศวรรษที่ 1980 เพื่อแก้ ปัญหาการไร้ประสิทธิภาพและการ คอร์รัปชั่นในประเทศกำาลังพัฒนาโดย เฉพาะประเทศในแถบละตินอเมริกา ที่มี ปัญหาในการบริหารงานจนทำาให้เกิด ปัญหาหนเี้สีย เนอื่งจากกู้เงินธนาคารโลก ไปแล้วไม่สามารถหาเงินมาชำาระคืนได้
  • 11. 11 ความสำาคัญของธรรมาภิ บาล 1. เพื่อเป็นแนวทางสำาหรับคณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ ตามความรับผิดชอบได้สอดคล้องกับหลัก ธรรมาภิบาล 2. เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์และภารกิจที่ได้วางไว้อย่าง ถูกทำานองคลองธรรม โดยมีเครื่องมือการ ตรวจสอบการทำางานด้านต่าง ๆ ของ องค์กร เป็นแนวทางเสนอข้อคิดเห็น ข้อ เสนอแนะให้กับองค์กรเพื่อปรับปรุงแก้ไข
  • 12. 12 ความสำาคัญของธรรมาภิ 3. เพอื่เสริมสร้างควบามาเชลื่อมนั่ต่อความโปร่งใส ความเป็นธรรมและความน่าเชื่อถือให้กับองค์กร ในการบริหารจัดการและป้องกันการแสวงหา ประโยชน์จากการเป็นกรรมการผู้บริหารและ พนักงาน 4. เพอื่ให้คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน ใช้อำานาจภายในขอบเขตของกฎหมาย รวมถึง การสร้างกรอบความรับผิดชอบของคณะ กรรมการและผู้บริหารต่อผู้มีส่วนได้เสียและส่วน รวม และทำาให้เกิดระบบความรับผิดของผู้บริหาร ต่อคณะกรรมการ และคณะกรรมการต่อผู้มีส่วน
  • 14. 14 องค์ประกอบของธร รมาภิบาล ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) ได้ กำาหนดหลักการของ ธรรมาภิบาล ไว้ 5 มิติ ได้แก่ 1. ความน่าเชื่อถือและมีกฎเกณฑ์ที่ ชัดเจน (Accountability) 2. ความโปร่งใส (Transparency) 3. การมีส่วนร่วม (Participation) 4. ความสามารถคาดการณ์ได้ (Predictability)
  • 15. 15 องค์ประกอบของธร รมาภิบาล สำานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) กำาหนดไว้ ในระเบียบสำานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2542 ว่าด้วยการบริหารกิจการบ้าน เมืองที่ดี ประกอบด้วย 6 หลัก
  • 19. 19 ความหมายของบรรษัทภิ บาล บรรษัทภิบาล มาจากคำาว่า บรรษัท + อภิบาล บรรษัท แปลว่า บริษัทขนาดใหญ่ อภิบาล แปลว่า บำารุงรักษา ปกครอง บรรษัทภิบาล จึงแปลว่า การบำารุง รักษาบริษัทขนาดใหญ่ หรือการกำากับดูแล บริษัทขนาดใหญ่
  • 20. 20 ความหมายของบรรษัทภิ บาล จินตนา บุญบงการ (2554: 180) บรรษัทภิบาลหรือระบบการกำากับดูแล กิจการที่ดี หมายถึง การควบคุมที่ดีโดย รวมของกิจการและการกระทำาของบริษัท และการควบคุมเช่นนี้ต้องอาศัยผู้มีส่วนได้ เสียของบริษัททั้งหลายและจะเป็นวิธีหนึ่งที่ จะทำาให้การบริหารมีจริยธรรมอย่าง แท้จริง
  • 21. 21 สรุปความหมายขอ งบรรษัทภิบาล บรรษัทภิบาล หมายถึง “หลักการที่ พัฒนามาจากหลักธรรมาภิบาล ใช้ในการ กำากับดูแลกิจการเพื่อให้เกิดความโปร่งใส การมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการ เติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กร โดยมุ่งเน้น การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่ม ต่าง ๆ”
  • 23. 23 ที่มาของบรรษัทภิบาล แนวคิดเรื่องบรรษัทภิบาลหรือ Corporate Governance เกิดขนึ้พร้อม ๆ กับธรรมาภิบาลโดยเป็นแนวนโยบายของ ธนาคารโลกที่กำาหนด สำาหรับประเทศไทย บรรษัทภิบาลเป็น วิถีการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจที่นำาไปสู่ ความเติบโต ความรุ่งเรืองและผาสุข ตลอด จนความมั่นคงถาวร เชอื่กันว่า ประเทศไทยมีวิกฤติการณ์ทางการเงินเมื่อ ปี พ.ศ. 2540 นนั้ เพราะการบริหารจัดการ
  • 25. 25 องค์ประกอบขอ งบรรษัทภิบาล ความรับผิดชอบ (Responsibility) ความรับผิดชอบ (Accountability) ทุกฝ่ายอย่างเสมอภาค (Equitable treatment) โปร่งใสตรวจสอบได้ (Transparency) หลักปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best practices)
  • 26. 26 องค์ประกอบขอ งบรรษัทภิบาล โครงสร้างและกระบวนการ (Structure and Process) มิติที่ 2: จริยธรรมและคุณธรรม (Ethics and Integrity) มมิิตติิททีี่่ 33:: คววาามสสาามมาารถแแลละะภภูมูมิปิปััญญญาา ((CCoommppeetteennccee aanndd WWiinnddoomm))
  • 27. 27 กิจกรรมสัปดาห์ที่ 9 คำาสั่ง นักศึกษาทำากิจกรรมโดยแบ่ง กลุ่มเพื่อวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยว กับปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่น ทั้ง ในองค์กรภาครัฐและองค์กรภาค เอกชนที่นักศึกษาได้ค้นคว้ามา และให้เสนอแนวทางในการแก้ไข และป้องกันปัญหาการคอร์รัปชั่นดัง กล่าวโดยใช้หลักธรรมาภิ
  • 28. 28 สงั่งาน สัปดาห์ที่ 9 คำาสั่ง ให้นักศึกษาค้นหาข่าวเกี่ยว กับปัญหาจริยธรรมที่เกิดขึ้นใน หน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร (เช่น แผนกการตลาด แผนกการบัญชี แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ แผนก บริหารทรัพยากรบุคคล เป็นต้น) (กลมุ่ละ 1 ข่าว) เพื่อนำามาเสนอ หน้าชั้นเรียนในสัปดาห์ถัดไป