Publicité

114 การบริหารจัดการผู้เรียนยุคใหม่ 15 กันยายน 2565.pdf

18 Mar 2023
Publicité

Contenu connexe

Similaire à 114 การบริหารจัดการผู้เรียนยุคใหม่ 15 กันยายน 2565.pdf(20)

Dernier(20)

Publicité

114 การบริหารจัดการผู้เรียนยุคใหม่ 15 กันยายน 2565.pdf

  1. การบริหาร จัดการผู้เรียน ยุคใหม่ อาจารย์ ดร.พัชราพรรณ นาคพงษ์ อาจารย์ประจําหลักสูตรนิติศาสตร์บัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  2. ผู้เรียนยุคใหม่?
  3. การบริหารจัดการชั+นเรียนเพื2อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที2 21 • การบริหารจัดการชั+นเรียนในศตวรรษที6 78 ต่างจากการบริหารจัดการชั+นเรียนในยุคเดิม ที6เน้นการจัดการเรียนการสอนต้องมีความเป็น ระเบียบเรียบร้อยมาก • การบริหารจัดการชั+นเรียนศตวรรษที6 78 ผู้เรียนและการเรียนรู้เปลี6ยนแปลงไปจากยุคเดิมมาก เทคโนโลยีที6เข้ามามีการปรับเปลี6ยนอย่าง รวดเร็วมาก ซึ6งมีผลต่อการเปลี6ยนแปลงหลายอย่าง การเปลี6ยนแปลงสภาพห้องเรียนการเปลี6ยนแปลงอุปกรณ์ภายในห้องเรียน การ พัฒนาตัวผู้สอนให้มีศักยภาพมากยิ6งขี+น • การบริหารจัดการชั+นเรียน เพื6อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ต้องเน้นการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที6 78 การบริหารจัดการชั+นเรียน จะต้องประกอบด้วย การวางแผน ความคิด และการปฏิบัติพัฒนาตนเองของตัวผู้สอนและผู้เรียนด้วย และการจัดสภาพแวดล้อมภายใน ห้องเรียนอย่างเป็นระบบ มีหลักการ ใส่ใจต่อตัวผู้เรียน และส่งเสริมการเรียนรู้ โดยมีเป้าหมายบริหารจัดการชั+นเรียนที6ดี อ้างอิงจาก ภูมิภควัธจ์ ภูมพงศ์คชศร.(2563). การบริหารจัดการชั7นเรียนเพื=อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที= 21. วารสารสหวิทยาการ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที= 3 ฉบับที= 3 กันยายน-ธันวาคม 2563
  4. การจัดการห้องเรียน ในรูปแบบการเรียน ในศตวรรษที9 21 ต้องมีการจัดการชั.นเรียนที3ทําให้ผู้เรียนมีประสิทธิภาพเพิ3มมากขึ.น รูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมภายใน จะต้องทําให้ผู้เรียนมีความสนใจที3จะเรียนรู้มากยิ3งขึ.น ส่งเสริมการพัฒนาครูผู้สอนให้เห็นถึงการบูรณาการจากทักษะ เครื3องมือ วิธีกาสอน ให้สอดคล้องกับการ บริหารจัดการชั.นเรียนในยุคศตวรรษที3 QR ปลูกจิตสํานึก ปลูกฝังความรู้ความสามารถของครูในการคิดค้น ค้นหา รูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน เพิ3มทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที3 QR คือต้องให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ ไม่เรียนรู้เฉพาะในห้องเรียน สามารถที3จะศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตัวเอง พัฒนาหลักสูตรเป็นกระบวนการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท เพื3อให้ผู้เรียนเกิดการ เปลี3ยนแปลงพฤติกรรมตามความมุ่งหมายและจุดประสงค์ที3กําหนดไว้ พึงระลึกว่าหลักสูตรที3ดีจะต้องช่วยเพิ3มประสิทธิภาพและประสิทธิผลทั.งตัวผู้เรียนและตัวผู้สอน
  5. นวัตกรรมในการบริหารจัดการ ชั0นเรียนเพื6อพัฒนาผู้เรียนให้มี ทักษะในศตวรรษที6 21 • นวัตกรรมในการบริหารจัดการชั0นเรียนเพื6อพัฒนา ผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษที6 AB มีหลายอย่าง เช่น ห้องเรียนกลับด้าน ห้องเรียนเสมือนจริง ห้องเรียนอัจฉริยะ ดิจิตอล การเรียนแบบ ผสมผสาน และการบริหารจัดการชั0นเรียนเชิงรุก
  6. ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom)
  7. ห้องเรียนเสมือน • ห้องเรียนเสมือนเป็นการสอนที2จําลองแบบเสมือนจริงนั:นเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที2สถาบันการศึกษา ต่างๆ ทั2วโลกกําลังให้ความสนใจและจะขยายตัวมากขึ:นในศตวรรษที2 21 การเรียนการสอนในระบบนี:อาศัยสื2อ อิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นหลักที2เรียกว่า Virtual Classroom หรือ Virtual Campus บ้าง นับว่าเป็นการพัฒนาการ บริการทางการศึกษาทางไกลชนิดที2 เป็นรูปแบบใหม่ของสถาบันการศึกษา ในโลกยุคไร้พรมแดน
  8. ที#มา : ดร.เอื-ออารี (ทองแก้ว) จันทร
  9. ห้องเรียนอัจฉริยะ • ห้องเรียน หรือแหล่งการเรียนที1จัดทําขึ8นใน ลักษณะพิเศษที1แตกต่างไปจากห้องเรียนปกติ โดยทั1วไป • เพื1อใช้สําหรับการเสริมสร้างและพัฒนา ประสบการณ์ทางการเรียนการสอน การฝึกอบรม รวมทั8งการฝึกทักษะ และความรู้ในด้านต่าง ๆ ที1 ผู้เรียนจะสามารถนําไปปรับใช้ในอนาคตได้ • โดยมีจุดเน้นในด้านของการมีปฏิสัมพันธ์ ทางการเรียนร่วมกันกับเทคโนโลยีที1หลากหลาย ของสื1อในรูปแบบต่างๆ ที1ก่อให้เกิดเป็นการเรียน การสอนทั8งในระบบชั8นเรียนและนอกชั8นเรียนใน การเรียนการสอนแบบทางไกลที1มีประสิทธิภาพ
  10. การบริหารจัดการห้องเรียนเชิงรุก ผู้สอนจะมีการเตรียมการในระดับที6ซับซ้อนอย่างระมัดระวังเพื6อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาหรือถูกขัดจังหวะในขณะจัดการเรียนการสอน เพื6อให้การเรียนรู้แก่ผู้เรียนมีความหมายสามารถเกิดขึIนได้ ความรู้ทักษะและความสามารถในการบริหารจัดการชัIนเรียนเชิงรุก จะส่งผลให้การปฏิบัติงานในหน้าที6ที6รับผิดชอบมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสําเร็จเป็นที6ยอมรับประกอบด้วย S ด้าน !) การจัดรูปแบบห้องเรียน 6) การตั8งค่าความคาดหวัง การตั8งกฎและ กําหนดขั8นตอนการเรียน B) การชี8แจงกฎระเบียบ D) ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนและครู I) กลยุทธ์การสอนอย่างหลากหลาย L) การประเมินและตรวจสอบพฤติกรรม ด้วยรูปแบบการบริหารจัดการชั8นเรียนแบบ โปรแอคทีฟนี8ผู้เรียนจะมีการลงมือ ปฏิบัติงานจนเกิดเป็นประสบการณ์จริง การบริหารจัดการชัIนเรียนเชิงรุก (Proactive Classroom Management) เป็นการดําเนินงานทําให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียนเป็นไปอย่างราบรื6น มีการตัดสินใจที6ตรง ประเด็นและมีบรรยากาศโดยรวมเหมาะสม
  11. หาโจทย์ ประเด็นหัวข้อที5จะนํามาจัดการเรียนรู้ ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้ Kolb’s Experiential Learning Cycle มีเวลาจัดกระบวนการ 45 นาที หรือมากกว่า ใช้ Learning Curve Design เป็นเครื5องมือในการช่วย ออกแบบชัCนเรียน การออกแบบชั)นเรียน
  12. ทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ หรือ Experiential Learning Theory (ELT)
  13. Learning Curve Design
  14. Warm Up Activities 01 02 03 04
  15. Warm Up Activities
  16. ใน online class การใช้ประเด็นทางสังคมที4น่าสนใจ อาจ ถูกหยิบยกมาใช้ในกิจกรรม warm up เพื4อกระตุ้นให้ตื4นตัวทางความคิด ในเบืCองต้น
  17. ตัวอย่างของการบรรยายเกีKยวกับผู้หญิงข้ามเพศสามารถดูได้จาก เรืKองราวของ ลอเรล ฮับบาร์ด นักยกชาวนิวซีแลนด์ บทความจํานวน มากกล่าวถึงชัยชนะของเธอในเกมโกลด์โคสต์ในช่วงปี VWXY โดยมี บทความมากมายทีKไม่ได้มุ่งเน้นไปทีKการชนะของเธอ แต่มุ่งเน้นไปทีK ตัวตนของเธอในฐานะผู้หญิงข้ามเพศ (ลูคัส, VWXY, น. XW]) การเป็น ผู้ชายทําให้เธอได้เปรียบอย่างไม่เป็นธรรมเหนือผู้หญิงคนอืKน ๆ ทีKเธอ แข่งขัน ไม่สําคัญว่าเธอจะยกได้มากแค่ไหนการแข่งขันใกล้เข้ามาแค่ ไหนหรือมีผู้หญิงทีKมีนํaาหนักตัวและอายุทีKยกนํaาหนักได้สูงกว่ามาก จุด สนใจอยู่ทีKความจริงทีKว่าเธอเป็นคนข้ามเพศดังนัaนจึงมี ความได้เปรียบทีK ไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน ตัวอย่าง ข้อโต้แย้งเกี1ยวกับความยุติธรรมในการเล่นกีฬา การสํารวจความคิดเห็นจัดทําขึ4นจากผู้คน 9,;;; คนและมีเพียงสองคําถาม: 9 * คุณชอบหรือคัดค้านการอนุญาตให้นักเรียนข้ามเพศเข้าร่วมในทีมกีฬาตามเพศทีRระบุโดยปล่อยให้ผู้ชายทางชีววิทยาเล่นกีฬาเด็กผู้หญิงหรือไม่? W * นักกีฬาข้ามเพศทีRเป็นผู้ชายโดยกําเนิดจะชนะในทุกระดับของกีฬาหญิงและหญิงในทุกวันนี4การเพิRมเพศชายทางชีวภาพในกีฬาของเด็กผู้หญิงและผู้หญิงมี แนวโน้มทีRจะเปลีRยนกีฬาเหล่านั4นให้ดีขึ4นหรือแย่ลงหรือไม่? หรือจะไม่มีผลกระทบ? (Rasmussen, 2019)
  18. • ประเด็นเหล่านี8เป็นประเด็นทั1วไป แต่เป็นประเด็นที1เข้าถึงวัยรุ่นได้เป็นอย่างดี สามารถทําให้ฉุกคิด และการได้นํามา Discuss ในชั8นเรียนจะก่อให้เกิดมุมมองที1แตกต่างกันออกไป
  19. This text can be replaced with your own text. กิจกรรมแบ่งกลุ่ม กิจกรรมแบ่งกลุ่ม
  20. กิจกรรมแบ่งกลุ่มจากตัวละครในวรรณกรรม ให้นักศึกษาหยิบฉลากคนละใบที6อาจารย์เตรียมไว้ให้ เปิดกระดาษพร้อมกัน แล้วตามหา ตัวละครจากเรื6องเดียวกัน เมื6อได้กลุ่ม ให้นั6งลงกับพื0น ใครได้ครบเป็นกลุ่มแรกจะมิอภิสิทธิSบางอย่างในการเลือกทํากิจกรรม ตัวอย่างจาก ห้องเรียนวิชา คุณค่าความสุข ภาคฤดูร้อน 2564
  21. Learning Activities!!
  22. 1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning :PBL) 2. การเรียนรู้ผ่านเกมส์(GamesBased Learning : GBL) 3. การเรียนรู้ผ่านกรณีศึกษา การคิดวิเคราะห์ (Case study and analysis Learning) 4. การโต้เถียงอย่างมีเหตุมีผล (Debate) 5. การเรียนรู้ผ่านการแสดงบทบาทสมมุติ(Role Play)
  23. Procedure: Point to the posters on the walls of the class. Tell students they will have about 10 minutes to make up a funny crime story. They can take notes but they cannot write the whole story. Ask students to stand up and take a crime. They will do it by tearing off the piece of paper containing the crime. Students sit down and began making up their funny crime stories. In groups of 3 or 4, they share their stories and decide on the best story in the group. The best story in each group will be then shared with the whole class and again the best story will be chosen.
  24. การทดลองใช้กิจกรรมการเรียนในวิชาวิธีพิจารณาความอาญา ของนักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง
  25. การทดลองใช้กิจกรรมการแสดงบทบาทสมมุติและ Crime Scene ประกอบการเรียนในวิชา วิธีพิจารณาความอาญา ของนักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง
  26. การทดลองใช้กิจกรรมบอร์ด เกมส์ประกอบการเรียนใน วิชาวิธีพิจารณาความอาญา ของนักศึกษาหลักสูตรนิติ ศาสตรบัณฑิต โรงเรียน กฎหมายและการเมือง
  27. Before Leaving!! กิจกรรมถอดบทเรียนและประเมินผลความรู้ในชัaนเรียนผ่านกิจกรรม
  28. Q&A
  29. Thank You
Publicité