SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
1
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต
(Production Theory)
2
ความสาคัญของทฤษฎีการผลิต
Demand = พฤติกรรมผู้บริโภค
Supply = พฤติกรรมผู้ผลิต
ดุลยภาพ
Maximize Profit
ราคาขาย - ต้นทุน
3
ความหมายการผลิตและผู้ผลิต
การผลิต การดาเนินกิจกรรมต่างๆ สินค้า
ที่มนุษย์
ต้องการ
ไม่จาเป็นต้องมีโรงงานหรือสินค้าเกิดใหม่
ผู้ผลิต = ผู้ขาย = หน่วยธุรกิจ หมายถึง ผู้ที่ก่อให้เกิดมีสินค้าหรือ
บริการที่สามารถนามาบาบัดความต้องการของผู้บริโภคได้ สาหรับหน่วย
ธุรกิจทั้งหมดที่ผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน เรียกว่า อุตสาหกรรม (industry)
ตัวอย่าง อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมอาหาร
4
ทฤษฎีการผลิตและฟังก์ชันการผลิต
 เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิต (input) และ
ผลผลิตที่ได้รับ (output)
 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปแบบฟังก์ชันได้ดังนี้
เมื่อ Q = จานวนผลผลิต x, y, z = ปัจจัยการผลิตชนิดต่างๆ
Q = f (x, y, z,…)
5
ปัจจัยการผลิตทางเศรษฐศาสตร์ (Factor of Production)
ประเภท
ของปัจจัยการผลิต
ผลตอบแทน
ที่ดิน (Land) ค่าเช่า (Rent)
แรงงาน (Labor) ค่าจ้าง (Wage)
ทุน (Capital) ดอกเบี้ย (Interest)
ผู้ประกอบการ
(Entrepreneur)
กาไร (Profit)
7
ประสิทธิภาพของการผลิต
 ประสิทธิภาพทางเทคนิค (technical efficiency)
หมายถึง วิธีการผลิตที่ให้ผลผลิตจานวนเท่ากัน แต่ใช้ปัจจัยการผลิตน้อยที่สุด
หรือวิธีการที่ใช้จานวนปัจจัยการผลิตเท่ากันแต่ให้ผลผลิตมากกว่า
 ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (economic efficiency)
หมายถึง วิธีการผลิตที่ให้ผลผลิตจานวนเท่ากัน แต่มีต้นทุนการผลิตต่าที่สุด
การผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค ไม่จาเป็นต้องเป็นการผลิตที่มี
ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ แต่การผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจต้องเป็น
การผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิคเสมอ
8
ตัวอย่างการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการผลิต
 สมมติให้วิธีการผลิตทั้ง 3 ให้ผลผลิตเท่ากัน
 วิธีการผลิต A และ B เป็นวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเทคนิค
 วิธีการผลิต A เป็นวิธีการผลิตที่มีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ
วิธีการผลิต จานวนปัจจัยการผลิต ต้นทุนการผลิต
เครื่องจักร แรงงาน เครื่องจักร แรงงาน รวม
A 5 20 5,000 2,000 7,000
B 3 50 3,000 5,000 8,000
C 3 55 3,000 5,500 8,500
9
ปัจจัยการผลิตกับระยะเวลาในการผลิต
 ปัจจัยคงที่ (Fixed factor) เป็นปัจจัยการผลิตที่ไม่ผันแปรตามปริมาณผลผลิต
ได้ภายในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น อาคาร โรงงาน เครื่องจักร เป็นต้น
 ปัจจัยผันแปร (Variable factor) เป็นปัจจัยการผลิตที่ผันแปรตามปริมาณการ
ผลิต ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ได้แก่ แรงงาน วัตถุดิบ วัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น
Q = f (x, y, z,…)
ระยะเวลาในการผลิต
 ปัจจัยคงที่
 ปัจจัยผันแปร
การผลิตระยะสั้น (short-run period)
Q = f (K,L)
ปัจจัยคงที่
ปัจจัยผันแปร
ระยะเวลาในการผลิต (ต่อ)
 ปัจจัยคงที่
 ปัจจัยผันแปร
การผลิตระยะยาว (long-run period)
Q = f (L) ปัจจัยผันแปร
12
ระยะเวลาในการผลิต
 การผลิตระยะสั้น (short-run period) หมายถึง ระยะเวลาที่ ปัจจัยการ
ผลิตบางตัวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ จึงถือว่าเป็นปัจจัยคงที่
การเปลี่ยนแปลงของขนาดผลผลิตทาได้โดยการเปลี่ยนแปลงขนาดของ
การใช้ปัจจัยผันแปรเท่านั้น
ปัจจัยการผลิตบางชนิดเปลี่ยนแปลงได้ เราเรียกว่า ปัจจัยผันแปร
ปัจจัยการผลิตบางชนิดเปลี่ยนแปลงไม่ได้ เราเรียกว่า ปัจจัยคงที่
 การผลิตระยะยาว (long-run period) หมายถึง ระยะเวลาที่ปัจจัยการ
ผลิตทุกตัวสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อหน่วยผลิตต้องการเปลี่ยนแปลง
ขนาดของการผลิต
มีเฉพาะปัจจัยผันแปรเท่านั้น
13
การวิเคราะห์การผลิตระยะสั้น
14
ผลผลิตต่างๆ
1. ผลผลิตทั้งหมด (Total Product : TP)
 หมายถึง ผลผลิตทั้งหมดที่ได้รับจากการใช้ปัจจัยผันแปรผันจานวนต่างๆ
ร่วมกับปัจจัยคงที่ที่มีอยู่
 ค่าผลผลิตทั้งหมดจะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้นในตอนแรก และเพิ่มขึ้นใน
อัตราที่ลดลงในระยะต่อมา และในที่สุดจะลดลง
2. ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP)
 หมายถึง ผลผลิตเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของปัจจัยผันแปรที่ใช้ในการผลิต
 ค่าผลผลิตเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นในตอนแรก เมื่อเพิ่มการใช้ปัจจัยผันแปรไป
จนถึงระดับหนึ่งค่าผลผลิตเฉลี่ยจะลดลง
15
ผลผลิตต่างๆ (ต่อ)
3. ผลผลิตหน่วยสุดท้าย (Marginal Product : MPL)
 หมายถึง ผลผลิตที่เกิดจากปัจจัยผันแปรหน่วยสุดท้ายที่ใช้อยู่ในขณะนั้น
 ค่าผลผลิตหน่วยสุดท้าย จะเพิ่มสูงขึ้นในระยะแรก และลดลงในช่วงต่อมา
จนมีค่าเป็นศูนย์ และอาจติดลบได้ในที่สุด
 ความสัมพันธ์ ระหว่าง TP & AP & MPL
 TP = SMPL
 APL = TPL/L
 MPL = TPL – TPL-1
= ΔTP/ ΔL
16
ตารางผลผลิต
เครื่องจักร แรงงาน (คน) TPL
1 0 0
1 1 10
1 2 24
1 3 39
1 4 52
1 5 61
1 6 66
1 7 66
1 8 64
17
ตารางผลผลิต
เครื่องจักร แรงงาน (คน) TPL APL
1 0 0 0
1 1 10 10
1 2 24 12
1 3 39 13
1 4 52 13
1 5 61 12.2
1 6 66 11
1 7 66 9.4
1 8 64 8
18
ตารางผลผลิต
เครื่องจักร แรงงาน (คน) TPL APL MPL
1 0 0 0 0
1 1 10 10 10
1 2 24 12 14
1 3 39 13 15
1 4 52 13 13
1 5 61 12.2 9
1 6 66 11 5
1 7 66 9.4 0
1 8 64 8 -2
1
3
2
19
กฎการลดลงของผลได้
(Law of Diminishing Returns)
เมื่อผู้ผลิตเพิ่มการใช้ปัจจัยการผลิตชนิดใดชนิดหนึ่งแต่เพียง
ชนิดเดียวมากขึ้นเรื่อยๆ (จากข้อมูลในตารางคือ คน) เพื่อใช้ร่วมกับ
ปัจจัยการผลิตชนิดอื่นที่มีจานวนคงที่ (จากข้อมูลในตารางคือ
เครื่องจักร) ผลผลิตหน่วยสุดท้ายของแรงงาน (MPL) จะเพิ่มขึ้นใน
ตอนแรกในระยะที่ 1 (Increasing Returns) แต่ในระยะต่อมาจะลดลง
(Diminishing Returns) จนกระทั่งมีค่าเป็นศูนย์และติดลบได้ในที่สุด
(Decreasing Returns)
20
1 2 3
21
สรุปความสัมพันธ์ระหว่าง TP & MPL
 ช่วงที่ MPL เพิ่มขึ้น TP จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่เพิ่มขึ้น (Increasing
Returns)
 ช่วงที่ MPL ลดลง (MPL >0) TP จะเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง
(Diminishing Returns)
 เมื่อ MPL มีค่าติดลบ TP จะลดลง (Decreasing Returns)
 ดังนั้น TP จะมีค่าสูงสุด เมื่อ MPL มีค่าเท่ากับ 0
22
สรุปความสัมพันธ์ระหว่าง MPL & APL
 ช่วง APL เพิ่มขึ้น MPL จะเพิ่มหรือลดก็ได้ แต่จะต้องมีค่ามากกว่า
APL
 ช่วง APL ลดลง MPL จะต้องมีค่าน้อยกว่า APL
 ดังนั้น MPL จะตัดกับ APL ณ จุดที่ APL
มีค่าสูงสุด
24
การวิเคราะห์การผลิตระยะยาว
25
 เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Curve)
 เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Curve)
 ส่วนประกอบของปัจจัยการผลิตที่ให้ต้นทุนต่าสุด
 เส้นแนวทางการผลิต
 กฎผลได้ต่อขนาด
ประเด็นที่ศึกษา
26
เส้นผลผลิตเท่ากัน (Isoquant Curve)
 หมายถึง เส้นที่แสดงส่วนประกอบต่างๆ ของปัจจัยการผลิต
สองชนิด (K,L) ที่ให้ผลผลิต (Q) จานวนเท่ากัน นั่นคือ ทุกๆ จุดบน
เส้นผลผลิตเท่ากันจะให้ได้ผลผลิตในจานวนเดียวกัน
 ลักษณะของเส้นผลผลิตเท่ากัน
 เป็นเส้นที่มีลักษณะต่อเนื่องลาดลงจากซ้ายไปขวา อันเป็นผลมาจาก
การทดแทนกันของปัจจัยการผลิต 2 ชนิด
 เส้นผลผลิตเท่ากันจะเป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกาเนิด
 เส้นผลผลิตเท่ากันจะไม่ตัดกัน
 เส้นที่อยู่สูงกว่าจะแสดงผลผลิตจานวนมากกว่า
27
อัตราการทดแทนทางเทคนิคหน่วยสุดท้าย
Marginal Rate of technical Substitution: MRTS
 ในการผลิตระยะยาว ปัจจัยการผลิตทุกชนิดเป็นปัจจัยผันแปร ดังนั้นการ
เปลี่ยนแปลงผลผลิต (Q) ย่อมมาจากการเปลี่ยนแปลงในปริมาณของ
ปัจจัยการผลิตทุกชนิด (ทั้ง K และ L)
 MPK , MPL
 เมื่อ MPK เปลี่ยนแปลงไป 1 หน่วยแล้ว MPL จะต้องเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด
เพื่อทาให้ระดับผลผลิตไม่เปลี่ยนแปลง (ได้ Q จานวนเท่าเดิม)
 MRTSLK = -2 หมายถึง ถ้าจะลดเครื่องจักร (K) ลง 2 เครื่อง จะต้องใช้
แรงงาน (L) เพิ่มขึ้น 1 คน เพื่อรักษาระดับผลผลิต (Q) ให้เท่าเดิม
28
ลักษณะของเส้น Isoquant เป็นเส้นโค้งเว้า
เข้าหาจุดกาเนิด และมีความชันเป็นลบ
• L  K และ L  K
• จากจุด A มายังจุด B
• Δ K = 30 – 50 = -20
• Δ L = 20 – 10 = 10
• Δ K / Δ L = -20/10 = -2
• MPK = Δ TP/ Δ K
• MPL = Δ TP/ Δ L
ทุกจุดบนเส้น Iq เดียวกันปริมาณ
ผลผลิตจะเท่ากัน
ดังนั้น MPK * ΔK = -MPL * ΔL
L
Iq
K
30
50
22
15
10 20 30 40
A
B
C
D
ลักษณะของเส้น Isoquant เป็นเส้นโค้งเว้า
เข้าหาจุดกาเนิด และมีความชันเป็นลบ (ต่อ)
29
MRTSK L = - L
K
30
เส้น Iq จะไม่ตัดกัน
 ทุกจุดที่อยู่บนเส้น Iq เดียวกัน จะ
ได้รับความพึงพอใจเท่ากัน
 A = B
 A = C
 B > C เป็นไปไม่ได้
Iq0
L
K
Iq1
A
B
C
31
เส้น Iq มีได้หลายเส้น
 Iq3 > Iq2 > Iq1
L
Iq2=75
Iq3=90
Iq1=55
K
32
เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Curve)
 หมายถึง เส้นที่แสดงส่วนประกอบ
ต่างๆ ของปัจจัยการผลิตสองชนิด
(K,L) ที่ผู้ผลิตสามารถซื้อได้ด้วยเงิน
จานวนเท่ากัน
 ยกตัวอย่างเช่น
 มีงบประมาณ 1,000 บาท
 K ราคาหน่วยละ 200 บาท
 L ราคาหน่วยละ 100 บาท
จานวน K จานวน L
5 0
4 2
3 4
2 6
1 8
0 10
33
เส้นต้นทุนเท่ากัน (Isocost Curve)
 Slope =
L
K
C/PL
C/PK
ISOCOST
ความชันของเส้นต้นทุน
Slope = - (C/PK) / (C/ PL)
ความชัน = -(w/r)
สมการต้นทุน
L K
L
K K
P L P K C
C P
K L
P P
   
 -
L
K
P
P
-
34
การเปลี่ยนแปลงของเส้นต้นทุนเท่ากัน
 การเปลี่ยนแปลงของเงินทุน
เงินทุนเพิ่มขึ้น
 การเปลี่ยนแปลงของต้นทุนอัน
เนื่องมาจากราคาของปัจจัยการ
ผลิตเปลี่ยนแปลง
ราคาต้นทุนปัจจัย L ลดลง
L
K
IC1 IC2
K
C/PL
C*/PK
C/PL
*
0 0
C*/PL
C/PK
35
ส่วนประกอบของปัจจัยการผลิตที่ให้ต้นทุนต่าสุด
หรือจุดดุลยภาพของการผลิต
 จุด A : ได้รับผลผลิตเท่ากับ Iq1
 จุด B : ได้รับผลผลิตเท่ากับ Iq1
 จุด C : ได้รับผลผลิตเท่ากับ Iq1
จุด A ใช้ต้นทุนต่าที่สุด
Iq1
K
L
A
C
B
Isocost1 Isocost2 Isocost3
36
ส่วนประกอบของปัจจัยการผลิตที่ให้ต้นทุนต่าสุด (ต่อ)
 ดุลยภาพของผู้ผลิต คือ จุด E
 ณ จุด E
slope Isoquant = slope Isocost
MPL = PL
MPK PK
MPL = MPK
W r
L
K
C/PL
C/PK
E
Iq
KE
LE
0
37
เส้นแนวทางการผลิต (expansion path)
L
K
C1 C2
Iq1
Iq2
เส้นแนวทางการผลิตระยะยาว
0
K
(ต้นทุนต่อหน่วยสูงกว่า)
 การเปลี่ยนแปลงของเป้าหมายการผลิต
38
การเปลี่ยนแปลงของราคาปัจจัยการผลิต
K
L
B
A
เมื่อผู้ผลิตไม่
สามารถขยาย
เงินทุนได้ในระยะ
สั้นจาเป็นต้องลด
ปริมาณการผลิต
Iq1K
ราคาของแรงงานแพงขึ้น
Iq3
Z
*การขึ้นค่าแรงโดยไม่สมเหตุสมผลจะ
นาไปสู่การว่างงานที่มากขึ้น
C*/PK
C/PK
C*/PL* C/PLC/PL*
ไม่สัมผัสกันสื่อถึง
ไม่ใช่จุด
ประสิทธิภาพทาง
เศรษฐกิจ
39
กฎผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to Scale)
จะเปรียบเทียบระหว่าง:
40
กฎผลได้ต่อขนาด (Law of Returns to Scale)
 ผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้น (increasing return to scale) อัตราการเพิ่มขึ้น
ของผลผลิตมากกว่าอัตราการเพิ่มของปัจจัยการผลิต มักเกิดขึ้นในระยะแรก ๆ
ของการขยายการผลิต
 ผลได้ต่อขนาดคงที่ (constant return to scale) อัตราการเพิ่มขึ้นของ
ผลผลิตเท่ากับอัตราการเพิ่มของปัจจัยการผลิต มักเกิดขึ้นในระยะกลาง ๆ ของ
การขยายการผลิต
 ผลได้ต่อขนาดลดลง (decreasing return to scale) อัตราการเพิ่มขึ้น
ของผลผลิตน้อยกว่าอัตราการเพิ่มของปัจจัยการผลิต มักเกิดขึ้นในระยะหลัง ๆ
ของการขยายการผลิต
41
ผลได้ต่อขนาด (Returns to Scale)
2
4
6
8
10
5 10 15 20 25
K
L
Iq = 10
Iq = 15
Iq =20
Iq = 25 Iq = 26
Iq =30
Iq = 35
42
การประหยัดต่อขนาด และการไม่ประหยัดต่อขนาด
 การประหยัดต่อขนาด หมายถึง ต้นทุนต่อหน่วย (ต้นทุนเฉลี่ย) ลดลง จาก
การที่ธุรกิจขยายขนาดการผลิต
 การไม่ประหยัดต่อขนาด หมายถึง ต้นทุนต่อหน่วย (ต้นทุนเฉลี่ย) เพิ่มขึ้น
จากการที่ธุรกิจขยายขนาดการผลิต นั่นคือ ขยายขนาดการผลิตมากเกินไป
43
การประหยัดต่อขนาด (economies of scale)
 การประหยัดทางด้านแรงงาน
 เกิดการแบ่งงานกันทา มีความชานาญเฉพาะอย่าง ทาให้ประสิทธิภาพการ
ผลิตสูงขึ้น
 การประหยัดทางด้านเทคนิค
 เกิดขึ้นเมื่อหน่วยธุรกิจมีขนาดใหญ่ และมีความสามารถที่จะนาเอา
เครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพสูงมาใช้
 การประหยัดทางด้านการจัดการ
 เป็นผลจากการกระจายต้นทุนคงที่ เช่น เงินเดือนผู้จัดการ ค่าเช่าสถานที่
ค่าเบี้ยประกัน เป็นต้น หากหน่วยธุรกิจสามารถขยายการผลิตได้มากขึ้น
ต้นทุนคงที่ต่อหน่วยจะลดลง
44
การประหยัดต่อขนาด (ต่อ)
 การประหยัดทางด้านการตลาด
 ซื้อวัตถุดิบ : การซื้อเป็นจานวนมากๆ จะได้รับส่วนลด ทาให้ต้นทุนลดลง
 ขายสินค้า : ต้นทุนค่าขนส่งลดลง ค่าโฆษณาลดลง คือ หน่วยธุรกิจที่มี
ขนาดใหญ่ แม้จะมีต้นทุนในการขายสูง แต่ก็จะสามารถทาให้ขายได้มากขึ้น
ต้นทุนเฉลี่ยจะลดลง
 การประหยัดทางด้านการเงิน
 เนื่องจากกิจการขนาดใหญ่ จะเป็นที่เชื่อถือในวงการธุรกิจ ได้รับเครดิตใน
การซื้อสินค้า และสามารถกู้เงินได้ง่าย เสียดอกเบี้ยต่า
45
การไม่ประหยัดต่อขนาด (diseconomies of scale)
 ความยุ่งยากในการบริหารงาน ปัญหาการดูแลไม่ทั่วถึง ปัญหาการติดต่อ
ประสานงาน ปัญหาทางด้านการจัดการแรงงาน
 การขาดแคลนปัจจัยการผลิต
46
การประหยัดภายใน และการไม่ประหยัดภายใน
 การประหยัดภายใน (internal economies) หมายถึง การประหยัด (ต้นทุน
เฉลี่ยลดลง) ที่เกิดจากการดาเนินการของธุรกิจ(นโยบายการบริหารงาน)
 การไม่ประหยัดภายใน (internal diseconomies) หมายถึง การไม่ประหยัด
(ต้นทุนเฉลี่ยเพิ่มขึ้น) ที่เกิดจากการดาเนินการของธุรกิจ
โดยสรุป
 วัตถุประสงค์ของการศึกษาบทนี้คือ ต้องการทราบปริมาณการผลติที่
เหมาะสม:
 หากปริมาณการผลติเท่ากัน ต้องเลือกทางเลือกที่ให้ต้นทุนต่าสุด
 หากต้นทุนเท่ากัน ต้องเลือกทางเลือกที่ให้ผลผลิตมากกว่า
 ความหมายของการผลิต
 ฟังก์ชันการผลิต, ประสิทธิภาพของการผลิตทั้งทางเทคนิคและทาง
เศรษฐกิจ
 การผลิตระยะสั้น
 TP, MP, AP
 ลักษณะผลผลิตที่ได้รับในแต่ละช่วงการผลิต 47
โดยสรุป (ต่อ)
 การผลิตระยะยาว
 เส้นผลผลิตเท่ากัน: MRTSLK
 เส้นต้นทุนเท่ากัน
 จุดการผลิตที่เหมาะสม
 กฎผลได้ต่อขนาดและการประหยัดต่อขนาด
48

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานVolunteerCharmSchool
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคtumetr1
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคVolunteerCharmSchool
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs productionsavinee
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าtumetr1
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Nitinop Tongwassanasong
 

What's hot (20)

บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานการกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
การกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Unit 4 costs production
Unit 4 costs productionUnit 4 costs production
Unit 4 costs production
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
 

Chapter5 ทฤษฎีการผลิต