SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
www.set.or.th/setresearch
Research paper 1/2559
ฝ่ายวิจัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
มิถุนายน 2559
รายงานการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ
ของบริษัทจดทะเบียนไทย ปี 2558
สารบัญ
หน้า
บทสรุปผู้บริหาร 1
บทนา 2
บทที่ 1 การสร้างฐานข้อมูล และนิยาม 4
บทที่ 2 สถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ 8
บทที่ 3 มูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศ 12
บทที่ 4 รายได้จากต่างประเทศ 21
บทที่ 5 รายชื่อบริษัทที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ
(Economic Exposure Universe) 26
สารบัญภาพ
หน้า
ภาพที่ 1 อัตราการเติบโตของมูลค่าเงินลงทุนทางตรงเปรียบเทียบระหว่าง TDI และ FDI 2
ภาพที่ 2 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม 8
ภาพที่ 3 สัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวนบริษัททั้งหมดในกลุ่มอุตสาหกรรม 9
ภาพที่ 4 ภูมิภาคเป้าหมายของการลงทุน ณ สิ้นปี 2558 9
ภาพที่ 5 ประเทศเป้าหมายของการลงทุนในอาเซียน ณ สิ้นปี 2558 10
ภาพที่ 6 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตามขนาดบริษัท 11
ภาพที่ 7 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศรายปีจาแนกตามอุตสาหกรรม 13
ภาพที่ 8 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศสะสมในช่วงปี 2549-2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม 13
ภาพที่ 9 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศรายปีจาแนกตามภูมิภาค 14
ภาพที่ 10 มูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภาคหลัก 15
ภาพที่ 11 มูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภาคย่อยในอาเซียน 15
ภาพที่ 12 มูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปีจาแนกตามผลกระทบต่ออานาจในการควบคุมกิจการ 18
ภาพที่ 13 สัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปีจาแนกตามวิธีการลงทุน 19
ภาพที่ 14 สัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนในอาเซียนรายปีจาแนกตามวิธีการลงทุน 19
ภาพที่ 15 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศรายปีจาแนกตามขนาดหลักทรัพย์ 20
ภาพที่ 16 รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม 21
ภาพที่ 17 รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม 22
ภาพที่ 18 อัตราการเติบโตของรายได้ของบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ สาหรับปี 2558
จาแนกตามอุตสาหกรรม 23
ภาพที่ 19 อัตราการเติบโตของรายได้ของบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ
ไม่รวมบริษัทที่มีรายได้จากน้ามัน สาหรับปี 2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม 23
ภาพที่ 20 อัตราการเติบโตของรายได้ของบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ 24
ภาพที่ 21 สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวม 25
สารบัญภาพ (ต่อ)
หน้า
ภาพที่ 22 สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมสาหรับปี 2557-2558 จาแนกรายอุตสาหกรรม 25
สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1 การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม และหมวดอุตสาหกรรมย่อย 5
ตารางที่ 2 รายได้เฉลี่ยและช่วงของรายได้ปี 2558 ของกลุ่มบริษัทจาแนกตาม
มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 6
ตารางที่ 3 วิธีการลงทุนในต่างประเทศ 16
1
บทสรุปผู้บริหาร
บริษัทจดทะเบียนไทยจานวนมากมีการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และมีรายได้จากต่างประเทศ ณ สิ้นปี 2558
บริษัทจดทะเบียนไทยที่มีการรายงานสถานะลงทุนในต่างประเทศมีจานวน 192 บริษัท จากจานวนบริษัทจด
ทะเบียนทั้งหมด 517 บริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) หรือคิดเป็น 37% ของจานวนบริษัทจด
ทะเบียนทั้งหมด โดยเพิ่มขึ้นจากจานวนบริษัทจดทะเบียนไทยที่มีสถานะลงทุนในต่างประเทศ 173 บริษัทในปีก่อน
ในจานวน 192 บริษัทดังกล่าว พบว่า มี 79% ลงทุนในอาเซียน และ 59% ลงทุนใน CLMV หากพิจารณา
รายประเทศในอาเซียน พบว่า ณ สิ้นปี 2558 มีจานวนบริษัทจดทะเบียนลงทุนในเวียดนามมากที่สุดเมื่อเทียบกับ
ประเทศอื่น หากพิจารณารายอุตสาหกรรม กลุ่มทรัพยากรมีสัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวน
บริษัททั้งหมดในกลุ่มอุตสาหกรรมสูงกว่ากลุ่มอื่นเช่นเดียวกับในปีก่อน
สาหรับปี 2558 บริษัทจดทะเบียนมีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสุทธิ 5.2 หมื่นล้านบาทซึ่งลดลง
จากปี 2557 ที่มีมูลค่า 1.16 แสนล้านบาท ทั้งนี้เนื่องจากมีรายการถอนเงินลงทุนด้วยมูลค่าที่สูงกว่าทุกปีที่ผ่านมา
โดยเป็นรายการถอนเงินลงทุนขนาดใหญ่มูลค่าประมาณ 2.8 หมื่นล้านบาทของบริษัทเพียงแห่งเดียว ในปี 2558
รายได้จากต่างประเทศโดยรวมเติบโตอย่างต่อเนื่องมาจนกระทั่งปี 2558 ที่รายได้จากต่างประเทศของ
บริษัทจดทะเบียนลดลงจากปีก่อน หากพิจารณาเฉพาะบริษัทเดิมที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี
2549-2558 จานวน 110 บริษัทพบว่า รายได้จากต่างประเทศของบริษัทจดทะเบียนลดลงจากปีก่อน 7% ในขณะที่
รายได้ในประเทศปรับลดลงเช่นกันโดยรายได้ในประเทศลดลง 9% จากปีก่อน แม้ว่ารายได้จากต่างประเทศจะปรับ
ลดลง แต่สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมของ 110 บริษัทดังกล่าวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนโดยมาอยู่
ที่ระดับ 46% ของรายได้รวมในปี 2558 จาก 45% ของรายได้รวมในปีก่อน
เพื่อแสดงให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้มีโอกาสทาความเข้าใจเพิ่มเติมถึงศักยภาพของบริษัทจดทะเบียน
ที่เกิดขึ้นจากความเชื่อมโยงของบริษัทจดทะเบียนกับเศรษฐกิจต่างประเทศเป็นรายบริษัท จึงได้จัดทารายชื่อบริษัท
ที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ (Economic Exposure Universe) โดยแบ่งตาม
ภูมิภาคได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม Global กลุ่ม ASEAN และ กลุ่ม CLMV สาหรับปี 2558 มีจานวนบริษัทใน Global
Economic Exposure Universe จานวน 282 บริษัทซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 262 บริษัทในปีก่อน ในขณะที่บริษัทใน
ASEAN Economic Exposure Universe และ CLMV Economic Exposure Universe มีจานวน 167 และ 125
บริษัท ตามลาดับ
2
บทนา
พัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกนาไปสู่ความเชื่อมโยงระหว่างเขตเศรษฐกิจซึ่งส่งผลให้กิจกรรมทาง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งในด้านการค้า การลงทุน การผลิต การบริโภค การขนส่ง การ
สื่อสาร ฯ โดยทุกภาคส่วนไม่อาจหลีกเลี่ยงผลจากความเชื่อมโยงระหว่างเขตเศรษฐกิจนี้ได้ ทุกภาคส่วนจึงต้อง
ปรับตัวเพื่อแสวงหาโอกาส และป้องกันความเสี่ยงจากสภาวการณ์นี้
ภาคธุรกิจไทยมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดในช่วงประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา (2549-2558) โดยเฉพาะในด้าน
การลงทุนทางตรงในต่างประเทศ แม้ว่าประเทศไทยจะอยู่ในสถานะประเทศผู้รับการลงทุนจากต่างประเทศ แต่
มูลค่าของเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสะสมของธุรกิจไทย (Thailand Direct Investment: TDI) เติบโตในอัตรา
ที่สูงกว่ามูลค่าเงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศสะสม (Foreign Direct Investment: FDI) (ภาพที่ 1)
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไทยจานวนมากขยายการลงทุนไปในต่างประเทศ ด้วยเห็นว่าเป็น
กลยุทธ์สาคัญเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจด้วยการแสวงหาโอกาสจากความแตกต่างในแต่ละประเทศ วัตถุประสงค์
ของการขยายการลงทุนทางตรงในต่างประเทศแตกต่างกันไปในแต่ละกิจการ และแต่ละช่วงเวลาโดยสามารถแบ่ง
ภาพที่ 1 อัตราการเติบ ต องมูล ่าเงินลงทุนทางตรงเปรียบเทียบระหว่างTDI และFDI
12.9
28.2
42.3
36.3
71.1
35.7
16.3
6.3
11.6
20.0
0.4
13.9
29.5
11.8 13.0
4.0 6.9
-7.1
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
TDI FDI
(%YoY)
แหล่งข้อมูล ธนาคารแห่งประเทศไทย คานวณโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
3
วัตถุประสงค์ของการลงทุนออกเป็น 3 ด้านได้แก่ การขยายตลาดใหม่ การแสวงหาแหล่งทรัพยากรใหม่ การเพิ่ม
ศักยภาพการแข่งขัน เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต การรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรม
การขยายตลาด หรือการแสวงหาแหล่งทรัพยากรในต่างประเทศเป็นความจาเป็นของบริษัทขนาดใหญ่บาง
แห่ง เนื่องจากขนาดเศรษฐกิจไทยเล็กเกินกว่าที่จะสนับสนุนการเติบโตอย่างต่อเนื่องของบริษัทขนาดใหญ่ได้ การ
เติบโตของบริษัทขนาดใหญ่จากการขยายธุรกิจในต่างประเทศ ไม่เพียงเป็นประโยชน์กับผู้ถือหุ้นเท่านั้น หากแต่
เป็นประโยชน์ต่อทั้งห่วงโซ่การผลิตของบริษัทดังกล่าวซึ่งยังคงมีฐานการผลิตหลักอยู่ในประเทศไทยได้มีโอกาส
เติบโตตามไปด้วย
ทุกภาคส่วนจึงควรเข้าใจสถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของธุรกิจไทยในปัจจุบันเพื่อนาไปสู่การ
กาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนทางตรงในต่างประเทศโดยสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและความ
ต้องการที่แท้จริงของภาคธุรกิจ
4
บทที่ 1: การสร้างฐาน ้อมูล และนิยาม
ฐานข้อมูลการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(บริษัทจดทะเบียน) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาสถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และรายได้จากต่างประเทศของ
บริษัทจดทะเบียน และเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบรายงานการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของบริษัทจดทะเบียนไทย
ซึ่งครอบคลุมการศึกษาข้อมูลของบริษัทจดทะเบียนทุกแห่งในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) โดยไม่รวม
บริษัทที่อยู่ในกลุ่มฟื้นฟูกิจการ และบริษัทที่อยู่ระหว่างเพิกถอนกิจการโดยจานวนบริษัทตามข้อมูล ณ สิ้นปี
1.1 แหล่ง ้อมูล
การสร้างฐานข้อมูลเกิดจากการรวบรวมข้อมูลการลงทุนทางตรงในต่างประเทศและรายได้จากต่างประเทศ
ที่บริษัทจดทะเบียนเปิดเผยอย่างเป็นทางการในเอกสารของบริษัท ได้แก่ หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงาน
56-1 รายงานประจาปี หรือเอกสารนาเสนอของบริษัท
1.2 นิยาม าสา ัญ
“การลงทุนทางตรงในต่างประเทศ” หมายถึง การลงทุนในส่วนทุนของกิจการโดยบริษัทผู้ลงทุน (บริษัท
จดทะเบียน) มีอานาจควบคุมในกิจการของผู้รับการลงทุนซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ บริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการร่วม
ค้า และรวมถึงการลงทุนในสินทรัพย์ เช่น การสร้างโรงงาน หรือฐานการผลิตในต่างประเทศโดยบริษัทจดทะเบียน
เอง นอกจากนี้จะคานึงถึงวัตถุประสงค์ในการลงทุนประกอบด้วยโดยบริษัทจดทะเบียนต้องระบุวัตถุประสงค์ในการ
ประกอบกิจการที่ชัดเจน ทั้งนี้ฐานข้อมูลนี้ไม่รวมถึงการลงทุนเพื่อจัดตั้งกิจการในรูปแบบ investment company
หรือ holding company และไม่รวมถึงการลงทุนในรูปแบบ portfolio investment
“รายได้จากต่างประเทศ” ประกอบด้วยรายได้ที่เกิดขึ้นจากส่วนของธุรกิจที่ประกอบกิจการใน
ต่างประเทศหรือรายได้จากการส่งออกจากฐานการผลิตในประเทศไทย อย่างไรก็ตามบริษัทจดทะเบียนบางแห่ง
อาจแสดงรายได้จาแนกตามภูมิศาสตร์ตามที่ตั้งของลูกค้าโดยบริษัทมีทั้งส่วนงานที่ประกอบกิจการในต่างประเทศ
และการส่งออกจึงไม่สามารถจาแนกประเภทได้ รวมเรียกว่า บริษัทมีรายได้จากต่างประเทศ
5
ในการวิเคราะห์จาแนกกลุ่มบริษัทจดทะเบียนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การจาแนกตามกลุ่ม
อุตสาหกรรม และการจาแนกตามขนาดของบริษัทซึ่งพิจารณาจากมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด
การวิเคราะห์จาแนกตาม “กลุ่มอุตสาหกรรม” (industry) แบ่งออกเป็น 8 กลุ่มหลักตามเกณฑ์ของตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมมีหมวดอุตสาหกรรมย่อย (sector) ตามที่
แสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม และหมวดอุตสาหกรรมย่อย
กลุ่มอุตสาหกรรม (industry) หมวดอุตสาหกรรมย่อย (sector)
1. เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร
(Agro & Food Industry)
1.1 ธุรกิจการเกษตร
1.2 อาหารและเครื่องดื่ม
2. สินค้าอุปโภคบริโภค
(Consumer Products)
2.1 แฟชั่น
2.2 ของใช้ในครัวเรือนและสานักงาน
2.3 ของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์
3. ธุรกิจการเงิน
(Financials)
3.1 ธนาคาร
3.2 เงินทุนและหลักทรัพย์
3.3 ประกันภัยและประกันชีวิต
4. สินค้าอุตสาหกรรม
(Industrials)
4.1 ยานยนต์
4.2 วัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร
4.3 กระดาษและวัสดุการพิมพ์
4.4 ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์
4.5 บรรจุภัณฑ์
4.6 เหล็ก
5. อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง
(Property & Construction)
5.1 วัสดุก่อสร้าง
5.2 พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
5.3 บริการรับเหมาก่อสร้าง
6. ทรัพยากร
(Resources)
6.1 พลังงานและสาธารณูปโภค
6.2 เหมืองแร่
6
กลุ่มอุตสาหกรรม (industry) หมวดอุตสาหกรรมย่อย (sector)
7. บริการ
(Services)
7.1 พาณิชย์
7.2 การแพทย์
7.3 สื่อและสิ่งพิมพ์
7.4 บริการเฉพาะกิจ
7.5 การท่องเที่ยวและสันทนาการ
7.6 ขนส่งและโลจิสติกส์
8. เทคโนโลยี
(Technology)
8.1 ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
8.2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การวิเคราะห์จาแนกตาม “ นาด องบริษัท” โดยเรียงตามขนาดของมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด
(market capitalization) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้
1) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูง 50 ลาดับแรก จัดอยู่ในกลุ่ม SET50
2) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 51-100 จัดอยู่ในกลุ่ม SET51-100
3) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 101-200 จัดอยู่ในกลุ่ม SET101-200
4) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 201-300 จัดอยู่ในกลุ่ม SET201-300
5) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 301 ขึ้นไป จัดอยู่ในกลุ่ม SET300+
การจัดกลุ่มตามมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสะท้อนถึงขนาดรายได้ของธุรกิจได้ตามสมควรโดยบริษัท
ที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงมักจะมีรายได้สูงกว่าดังมีรายละเอียดตามตารางที่ 2
ตารางที่ 2 รายได้เฉลี่ยและช่วง องรายได้ปี 2558 องกลุ่มบริษัท
จาแนกตามมูล ่าหลักทรัพย์ตามรา าตลาด
กลุ่มบริษัท รายได้เฉลี่ย (ล้านบาท) รายได้สูงสุด (ล้านบาท) รายได้ต่าสุด (ล้านบาท)
SET50 144,450 2,063,727 3,777
SET51-100 17,185 192,723 1,768
SET101-200 17,802 179,605 409
SET201-300 4,945 21,671 60
SET301+ 2,424 33,914 10
7
1.3 ้อจากัด องฐาน ้อมูล
ฐานข้อมูลนี้มีข้อจากัดเนื่องจากไม่มีข้อกาหนดหรือมาตรฐานของการรายงานข้อมูลการลงทุนทางตรงใน
ต่างประเทศหรือรายได้จากต่างประเทศ บริษัทจดทะเบียนอาจรายงานหรือไม่รายงานข้อมูลดังกล่าวก็ได้หากบริษัท
เห็นว่ารายการลงทุน หรือรายได้จากต่างประเทศยังไม่มีนัยสาคัญต่อผลการดาเนินงานโดยรวมของกิจการ ดังนั้น
ข้อมูลตามฐานข้อมูลนี้อาจไม่ครบถ้วนทั้งหมดตามที่เป็นจริง อย่างไรก็ตามผู้รวบรวมข้อมูลได้ใช้ความพยายาม
อย่างดีที่สุดเพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องตามที่ควร
เพื่อให้ฐานข้อมูลมีความครบถ้วนถูกต้องมากขึ้นในอนาคต ฝ่ายวิจัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
เสนอให้มีมาตรฐานในการเปิดเผยข้อมูล และการสร้างระบบส่งผ่านข้อมูลการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ
รายได้จากต่างประเทศของริษัทจดทะเบียนเข้ามารวบรวมเป็นฐานข้อมูลที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
โดยตรง แต่กระบวนการดังกล่าวมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจานวนมากจึงต้องใช้เวลาในการพัฒนาอีกช่วงหนึ่ง
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีความยินดีที่จะสนับสนุนข้อมูลในฐานข้อมูลนี้ให้กับหน่วยงานภาครัฐที่
เกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายด้านการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และสถาบันการศึกษาที่ต้องการผลิตผล
งานวิจัยในด้านนี้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
8
บทที่ 2: สถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ
ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจานวนบริษัทจดทะเบียนที่มีการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ1
มีจานวนเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง โดย ณ สิ้นปี 2558 บริษัทที่มีการรายงานสถานะการลงทุนในต่างประเทศมีจานวน 192 บริษัท เพิ่มขึ้น
จาก 173 บริษัทในปีก่อน โดยกลุ่มบริการมีจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศ 41 บริษัทซึ่งมากกว่ากลุ่มอื่น
2.1 สถานะการลงทุนจาแนกตามอุตสาหกรรม
ในปี 2558 จานวนบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนในต่างประเทศเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มอุตสาหกรรม ยกเว้นกลุ่มสินค้า
อุปโภคบริโภค โดยกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างมีจานวนบริษัทเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มอื่น (ภาพที่ 2)
อย่างไรก็ตาม ในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมมีจานวนบริษัทไม่เท่ากัน จึงควรพิจารณาสัดส่วนจานวนบริษัทที่
ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวนบริษัททั้งหมดในแต่ละอุตสาหกรรม พบว่า กลุ่มทรัพยากรมีสัดส่วนบริษัทที่ลงทุนใน
ต่างประเทศมากกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมอื่นโดย 58% ของจานวนบริษัททั้งหมดในกลุ่มทรัพยากรลงทุนใน
1
รวมบริษัทที่ยังคงมีเงินลงทุนทางตรงคงค้างอยู่ในต่างประเทศ ณ สิ้นปีที่พิจารณา โดยมิได้คานึงถึงว่าบริษัทจะเริ่มลงทุนมาตั้งแต่ปีใด
ภาพที่ 2 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม
9 9 9 9 9 9 9 15 20 236 6 6 7 9 9 9 10
16 14
5 5 5 5 5 5 6
10
13 16
7 9 10 10 12 13 15
20
24 27
7 8 8 9 9 11 12
23
27
33
7 6 8 9 10 11 11
15
19
23
9 10 11 12 14 17 19
29
40
41
9 9 9 9
11 11 11
13
14
15
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
Technology
Services
Resources
Property& Construction
Industrials
Financials
Consumer Products
Agro & Food Industry
59 62 66 70
79
86 92
135
173
192
9
ต่างประเทศ รองลงมาได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารซึ่งมีสัดส่วน 45% ตามด้วยกลุ่มบริการเป็นอันดับที่
3 ในขณะที่กลุ่มธุรกิจการเงินมีสัดส่วนต่าที่สุด (ภาพที่ 3)
2.2 สถานะการลงทุนจาแนกตามภูมิภา
อาเซียนเป็นภูมิภาคเป้าหมายหลักของการลงทุน โดยในจานวน 192 บริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศ ณ สิ้นปี
2558 มี 79% ที่ลงทุนในอาเซียน หากแยกพิจารณาเฉพาะกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง
พบว่า 59% ของบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนในต่างประเทศลงทุนใน CLMV อย่างไรก็ตาม สัดส่วนบริษัทที่ลงทุนในแต่ละ
ภูมิภาคในปี 2558 ไม่แตกต่างจากในปี 2557 ทั้งนี้ 1 บริษัทอาจลงทุนในหลายภูมิภาค การคานวณสัดส่วนดังกล่าวมี
การนับจานวนบริษัทซ้าหากบริษัทนั้นมีการลงทุนในหลายภูมิภาค (ภาพที่ 4)
ภาพที่ 4 ภูมิภา เป้ าหมาย องการลงทุน สินปี 2558
(สัดส่วนบริษัทที่ลงทุนในแต่ละภูมิภาคเทียบกับจานวนบริษัททั้งหมดที่ลงทุน 192 บริษัท โดย 1 บริษัทอาจลงทุนหลายภูมิภาค)
79%
59%
41%
21% 19% 14% 9% 8% 7%
ASEAN CLMV East Asia America Europe South Asia Australia Middle east Africa
19% 20% 20% 21% 22% 22% 22% 31% 41% 45%13% 14% 14% 17% 23% 23% 23% 24%
38% 35%
7% 7% 8% 8% 8% 8% 11%
17%
22% 27%
10% 13% 14% 14% 17% 16% 19%
24%
29% 31%
8% 9% 9% 10% 10% 13% 14%
26%
29% 35%
30% 25% 29% 33% 37% 41% 39%
44%
56%
58%
10% 11% 13% 14%
16% 20% 21%
30%
42%
41%
24% 24% 24% 23%
29% 29% 29%
33%
35%
37%
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
Technology
Services
Resources
Property& Construction
Industrials
Financials
Consumer Products
Agro & Food Industry
ภาพที่ 3 สัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวนบริษัททังหมดในกลุ่มอุตสาหกรรม
10
หากพิจารณาประเทศในกลุ่มอาเซียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของการลงทุน พบว่า ณ สิ้นปี 2558 มีจานวน
บริษัทจดทะเบียนลงทุนในเวียดนาม 55 บริษัทซึ่งมีจานวนมากที่สุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่น หรือคิดเป็น 36% ของ
บริษัทที่มีการลงทุนในอาเซียนทั้งหมด 152 บริษัท ตามด้วยเมียนมาร์ อินโดนีเซีย ลาว และสิงคโปร์ ตามลาดับ โดยมี
สัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในประเทศดังกล่าวต่อจานวนบริษัทที่ลงทุนในอาเซียนทั้งหมดใกล้เคียงกันในช่วง 32-
33% ของบริษัทที่มีการลงทุนในอาเซียน (ภาพที่ 5)
2.3 สถานะการลงทุนจาแนกตาม นาดบริษัท
เมื่อพิจารณาจากขนาดบริษัทพบว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศเพิ่มขึ้นทั้งใน
กลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 บริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่ม SET100 ที่ลงทุนใน
ต่างประเทศมีจานวนลดลงจากปีก่อน ในขณะที่บริษัทในกลุ่ม Non-SET100 มีจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศ
เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 6)
ภาพที่ 5 ประเทศเป้ าหมาย องการลงทุนในอาเ ียน สินปี 2558
(สัดส่วนบริษัทที่ลงทุนในแต่ละประเทศเทียบกับจานวนบริษัททั้งหมดที่ลงทุนในอาเซียน 152 บริษัท
โดย 1 บริษัทอาจลงทุนหลายประเทศ)
36% 33% 32% 32% 32%
27%
23%
16%
1%
Vietnam Myanmar Indonesia Laos Singapore Cambodia Malaysia Philippines Brunei
11
สาเหตุที่จานวนบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนในต่างประเทศเปลี่ยนแปลงในแต่ละกลุ่ม ได้แก่ 1) การย้ายกลุ่มของ
บริษัทเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 2) บริษัทที่มีการลงทุนจากต่างประเทศอยู่แล้วเข้าจด
ทะเบียนใหม่ 3) การเพิกถอนหลักทรัพย์ของบริษัทที่มีการลงทุนในต่างประเทศ 4) บริษัทจดทะเบียนเพิ่งลงทุนใน
ต่างประเทศเป็นปีแรก และ 5) บริษัทจดทะเบียนถอนเงินลงทุนทั้งหมดในต่างประเทศ
อย่างไรก็ตาม เพื่อประโยชน์ในการกาหนดนโยบายสนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ จึงพิจารณาเฉพาะการ
เปลี่ยนแปลงเนื่องจากบริษัทเพิ่งลงทุนในต่างประเทศเป็นปีแรก และจานวนบริษัทที่ถอนเงินลงทุนทั้งหมดใน
ต่างประเทศ โดยไม่คานึงถึงปัจจัยด้านการเข้าจดทะเบียน หรือการเพิกถอนหลักทรัพย์ หรือการย้ายกลุ่มหลักทรัพย์
จากภาพที่ 6 ในปี 2558 บริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่ม SET100 (SET 50 และ SET51-100) มีจานวนบริษัทที่
ลงทุนในต่างประเทศ 68 บริษัท ลดลงจากปีก่อน 4 บริษัทโดยมีสาเหตุจากบริษัทจดทะเบียนเพิ่งลงทุนในต่างประเทศ
เป็นปีแรกจานวน 2 บริษัท และไม่มีบริษัทใดถอนเงินลงทุนทั้งหมดในต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงส่วนที่เหลือเกิด
จากปัจจัยด้านด้านการเข้าจดทะเบียน หรือการเพิกถอนหลักทรัพย์ หรือการย้ายกลุ่มหลักทรัพย์
ส่วนบริษัทในกลุ่ม Non-SET100 (SET101-200, SET201-300 และ SET301+) มีจานวนบริษัทที่ลงทุนใน
ต่างประเทศ 124 บริษัท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 23 บริษัท โดยมีสาเหตุจากบริษัทจดทะเบียนเพิ่งลงทุนในต่างประเทศเป็น
ปีแรกจานวน 14 บริษัท และมีบริษัทที่ถอนเงินลงทุนทั้งหมดในต่างประเทศจานวน 3 บริษัท การเปลี่ยนแปลงส่วนที่
เหลือเกิดจากปัจจัยด้านด้านการเข้าจดทะเบียน หรือการเพิกถอนหลักทรัพย์ หรือการย้ายกลุ่มหลักทรัพย์
ภาพที่ 6 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตาม นาดบริษัท
19 19 21 22 23 26 30 36 42 4012 12 13 14 16 17 19 22
30 28
21 21 21 22 25 28 28
37
33 44
5 8 8 9 11 11 10
24
30
39
4 4 5
16
38
41
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
SET301+
SET201-300
SET101-200
SET51-100
SET50
59 62 66 70
79 86
92
135
173
192
12
บทที่ 3 มูล ่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศ
มูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศหมายถึง เงินลงทุนที่บริษัทจดทะเบียนใช้ในกิจกรรมการลงทุนในแต่
ละปี (investment flow) ในปี 2558 บริษัทจดทะเบียนมีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสุทธิ2
5.2 หมื่นล้าน
บาท ลดลงจากปี 2557 ที่มีมูลค่า 1.15 แสนล้านบาท
มูลค่าเงินลงทุนสุทธิที่ปรับลดลงเกิดจากในปี 2558 มีรายการถอนเงินลงทุนจากต่างประเทศรวม 3.3 หมื่น
ล้านบาท หากพิจารณาเฉพาะเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศโดยไม่รวมรายการถอนเงินลงทุนพบว่า ในปี 2558
มีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศ 8.5 หมื่นล้านบาท ซึ่งลดลงจากปี 2557 ที่มีมูลค่า 1.15 แสนล้านบาท
3.1 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตามอุตสาหกรรม
บริษัทจดทะเบียนในกลุ่มทรัพยากรมีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสูงกว่ากลุ่มอื่นในปี 2558
เช่นเดียวกับทุกปีที่ผ่านมาด้วยมูลค่าเงินลงทุนสุทธิ 3.5 หมื่นล้านบาท ในจานวนนี้มีรายการลงทุนขนาด 1.5 หมื่น
ล้านบาท 1 รายการซึ่งเป็นการลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยของบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด
(มหาชน) ที่ประกอบธุรกิจปิโตรเลียมในประเทศแคนาดา กลุ่มที่มีมูลค่าเงินลงทุนสูงเป็นลาดับที่ 2 ได้แก่ กลุ่ม
เกษตรและอุตสาหกรรมอาหารที่มีมูลค่าเงินลงทุนสุทธิ 2.5 หมื่นล้านบาท ในจานวนนี้มีรายการลงทุนขนาดเกิน 1.5
หมื่นล้านบาท 1 รายการซึ่งเป็นการลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยของบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน)
ที่ประกอบธุรกิจไก่แปรรูปในประเทศรัสเซีย อย่างไรก็ตาม กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมมีมูลค่าเงินลงทุนสุทธิใน
ต่างประเทศเป็นลบ ซึ่งหมายถึงการถอนเงินลงทุนในต่างประเทศ โดยรายการขนาดใหญ่ที่ส่งผลต่อภาพรวมของ
กลุ่มได้แก่ การถอนเงินลงทุนของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จากัด (มหาชน) ที่ถอนเงินลงทุนจากธุรกิจเหล็กใน
อังกฤษด้วยมูลค่าประมาณ 2.8 หมื่นล้านบาท (ภาพที่ 7)
2
เงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสุทธิคานวณจากมูลค่าเงินลงทุนที่ส่งไปลงทุนในต่างประเทศลบด้วยมูลค่าการถอนเงินลงทุนจาก
ต่างประเทศ
13
โครงสร้างเงินลงทุนสะสมโดยภาพรวมทั่วโลกกับเงินลงทุนในอาเซียนไม่แตกต่างกันมากนัก หากพิจารณา
มูลค่าเงินลงทุนสุทธิสะสมในช่วงปี 2549-2558 พบว่า บริษัทจดทะเบียนในกลุ่มทรัพยากรมีมูลค่าเงินลงทุนสะสมสูง
ที่สุดโดยมากกว่า 50% ของมูลค่าเงินลงทุนสะสมทั้งหมด ทั้งโดยภาพรวมของการลงทุนทั่วโลก และการลงทุนใน
ภูมิภาคอาเซียน อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเงินลงทุนสะสมมากเป็นลาดับที่ 2 และ 3 ในภาพรวมของการลงทุนทั่วโลก
ได้แก่ กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม และกลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ในขณะที่อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเงินลงทุน
สะสมในอาเซียนมากเป็นลาดับที่ 2 และ 3 ได้แก่ กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง และกลุ่มบริการ ตามลาดับ
(ภาพที่ 8)
ภาพที่ 7 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศรายปี จาแนกตามอุตสาหกรรม
(พันล้านบาท)
30
5 4
39 258 6
3
70 61
6
7
-16
6
18 24 30
160 31
114
44
35
35
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
Technology
Services
Resources
Property& Construction
Industrials
Financials
Consumer Products
Agro & Food Industry
16
34 40 45
205
143
198
69
115
52
ภาพที่ 8 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศสะสมในช่วงปี 2549-2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม
13%
1%
1%
16%
8%55%
5%
1%
World
5%
0%
2%
5%
24%
52%
11%
1%
ASEAN
Agro & Food Industry
Consumer Products
Financials
Industrials
Property& Construction
Resources
Services
Technology
มูลค่า 9 แสนล้านบาท มูลค่า 2.6 แสนล้านบาท
14
3.2 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตามภูมิภา
ภูมิภาคหลักที่บริษัทจดทะเบียนส่งเงินลงทุนไปยังคงเป็นอาเซียน และทวีปอเมริกาเช่นเดียวกับปีก่อน ใน
ปี 2558 เงินลงทุนในอาเซียนมีมูลค่ารวม 2.4 หมื่นล้านบาท โดยรายการลงทุนแต่ละรายการมีขนาดไม่เกิน 5,000
ล้านบาท ในขณะที่เงินลงทุนในทวีปอเมริกามีมูลค่ารวม 2.5 หมื่นล้านบาท โดยเป็นรายการลงทุนขนาดใหญ่ 1.5
หมื่นล้านบาท 1 รายการซึ่งเป็นการลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยของบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด
(มหาชน) ที่ประกอบธุรกิจในประเทศแคนาดา (ภาพที่ 9)
หากเปรียบเทียบ 3 ภูมิภาคหลักที่บริษัทจดทะเบียนส่งเงินไปลงทุน ได้แก่ อาเซียน อเมริกา และยุโรป
พบว่า มูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุนในอาเซียนน้อยกว่ามูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุน
ในอเมริกาและยุโรป (ภาพที่ 10)
สาหรับภูมิภาคอาเซียน หากแบ่งออกเป็นภูมิภาคย่อยได้แก่ ASEAN 5 และ CLMV พบว่า มูลค่าเงิน
ลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุนใน CLMV น้อยกว่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุนใน ASEAN 5
(ภาพที่ 11)
ภาพที่ 9 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศรายปี จาแนกตามภูมิภา
(พันล้านบาท)
9 14 20 21 32
60
30 45
24
70 28
42
29
38
2519
71
27
30
38
30
11
16
59
5
18
14
10
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
Middle East
South Asia
East asia
Africa
Europe
Australia
America
ASEAN
16
34 40 45
205
143
198
69
115
52
15
ภาพที่ 11 มูล ่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภา ย่อยในอาเ ียน
(ล้านบาท)
283
294
1,507
1,744
1,164
1,749
3,629
668
932
393
757
304
265
412
632
389
320
337
389
388
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ASEAN 5 CLMV
จานวนบริษัทที่มีมี ุรกรรมการลงทุนในต่างประเทศ
ASEAN 5 12 10 7 8 12 16 15 30 30 24
CLMV 8 11 14 14 11 10 17 31 43 37
ภาพที่ 10 มูล ่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภา หลัก
(ล้านบาท)
527
299
750
939
1,046
1,386
2,065
553
641
439
253
5,180
84
204
17,421
4,649
5,191
3,272
5,373
4,190
205
644
1,631
594
7,434
5,426
7,603
400
726
-330
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ASEAN America Europe
จานวนบริษัทที่มี ุรกรรมการลงทุนในต่างประเทศ
ASEAN 18 21 19 21 20 23 29 55 70 54
America 2 1 2 4 4 6 8 9 7 6
Europe 3 5 4 4 4 7 4 11 15 12
16
3.3 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตามวิ ีการลงทุน
บริษัทจดทะเบียนมีวิธีการในการลงทุนทางตรงในต่างประเทศที่หลากหลาย และมีผลกระทบต่ออานาจใน
การควบคุมกิจการที่แตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 7 วิธีโดยแต่ละวิธีมีนิยาม และผลกระทบต่ออานาจใน
การควบคุมกิจการตามรายละเอียดในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 วิ ีการลงทุนในต่างประเทศ
วิธีการลงทุน นิยาม ผลกระทบต่ออานาจในการควบคุม
กิจการ
1. ซื้อกิจการอื่น
ทั้งหมด
บริษัทจดทะเบียนซื้อกิจการทั้งหมด หรือ
ซื้อหุ้นในกิจการอื่นจนมีสัดส่วนการถือ
ครองหุ้น 100%
เพิ่มขึ้น
2. ซื้อหุ้นกิจการอื่น
บางส่วน
บริษัทจดทะเบียนซื้อหุ้นในกิจการอื่นโดย
มีสัดส่วนการถือครองหุ้นน้อยกว่า 100%
เพิ่มขึ้น
3. ลงทุนในกิจการ
ร่วมค้า
บริษัทจดทะเบียนร่วมลงทุนกับบริษัทอื่น
โดยจัดตั้งกิจการใหม่ในรูปกิจการร่วมค้า
หรือบริษัทร่วมลงทุน
1) เพิ่มขึ้นถ้าเป็นการลงทุนจัดตั้ง
ครั้งแรก หรือลงทุนต่อเนื่องเพื่อ
เพิ่มสัดส่วนการถือครอง
2) ไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเป็นการ
ลงทุนต่อเนื่องโดยไม่เพิ่มสัดส่วน
การถือครอง
4. ลงทุนในบริษัทย่อย จัดตั้งบริษัทย่อยใหม่เอง หรือลงทุนเพิ่ม
ในบริษัทย่อยเดิม โดยบริษัทย่อยหมายถึง
กิจการที่บริษัทจดทะเบียนมีสัดส่วนการ
ถือหุ้นมากกว่า 50% หรือมีอานาจในการ
ควบคุมส่วนใหญ่ของกิจการนั้น
1) เพิ่มขึ้นถ้าเป็นการลงทุนจัดตั้ง
ครั้งแรก หรือลงทุนต่อเนื่องเพื่อ
เพิ่มสัดส่วนการถือครอง
2) ไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเป็นการ
ลงทุนต่อเนื่องโดยไม่เพิ่มสัดส่วน
การถือครอง
17
วิธีการลงทุน นิยาม ผลกระทบต่ออานาจในการควบคุม
กิจการ
5. ลงทุนในบริษัทร่วม จัดตั้งบริษัทร่วมใหม่เอง หรือลงทุนเพิ่มใน
บริษัทร่วมเดิม โดยบริษัทร่วมหมายถึง
กิจการที่บริษัทจดทะเบียนมีสัดส่วนการ
ถือหุ้นมากกว่า 10% หรือมีอานาจในการ
ควบคุมกิจการนั้นบางส่วน
1) เพิ่มขึ้นถ้าเป็นการลงทุนจัดตั้ง
ครั้งแรก หรือลงทุนต่อเนื่องเพื่อ
เพิ่มสัดส่วนการถือครอง
2) ไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเป็นการ
ลงทุนต่อเนื่องโดยไม่เพิ่มสัดส่วน
การถือครอง
6. สร้างโรงงานหรือ
ฐานการผลิตเอง
การลงทุนเพื่อการได้มาซึ่งโรงงานหรือ
ฐานการผลิตโดยลงทุนด้วยบริษัทจด
ทะเบียนเอง
เพิ่มขึ้น
7. ถอนเงินลงทุน บริษัทจดทะเบียนถอนเงินลงทุนจาก
กิจการนั้นโดยไม่คานึงถึงกระบวนการ
หรือสาเหตุการถอนเงินลงทุน
ลดลง
การพิจารณาผลกระทบต่ออานาจในการควบคุมกิจการเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสาคัญต่อการศึกษาแนวโน้ม
การเติบโตของบริษัทจดทะเบียนโดยหากพบว่าบริษัทจดทะเบียนมีการขยายการลงทุนในกิจการใหม่เป็นครั้งแรก
หรือเพิ่มเงินลงทุนเพื่อเพิ่มสัดส่วนการถือครองในกิจการ แสดงให้เห็นว่าบริษัทจดทะเบียนมองเห็นโอกาสใหม่ใน
การเติบโต หากเป็นการลงทุนเพิ่มในกิจการเดิมโดยที่ไม่เพิ่มสัดส่วนการถือครองซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากกิจการผู้รับ
การลงทุนขอเพิ่มทุน แสดงให้เห็นว่ากิจการเดิมนั้นมีโอกาสเติบโต แต่ในทางกลับกันหากมีการถอนเงินลงทุนซึ่ง
อาจจะเกิดจากการขายเงินลงทุน การเลิกกิจการ หรือด้วยเหตุใดก็ตามแสดงให้เห็นว่า กิจการนั้นไม่มีโอกาสเติบโต
ในช่วงปี 2549-2557 มูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศส่วนใหญ่ทาให้อานาจในการควบคุมกิจการใน
ต่างประเทศเพิ่มขึ้น ยกเว้นในปี 2558 มูลค่าเงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นการลงทุนต่อเนื่องในกิจการเดิมโดยที่ไม่ทาให้
อานาจในการควบคุมกิจการเปลี่ยนแปลง ในจานวนนี้มีรายการลงทุนขนาดใหญ่มากกว่า 15,000 ล้านบาท 2
รายการที่ลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยเดิมของบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) และบริษัท
18
เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) ในช่วงปี 2549-2554 ไม่พบว่าบริษัทจดทะเบียนถอนเงินลงทุนใน
ต่างประเทศ แต่เริ่มพบรายการถอนเงินลงทุนตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมาโดยมีมูลค่ามากที่สุดเกิดขึ้นในปี 2558 รวม
ทั้งสิ้น 3.3 หมื่นล้านบาทโดยส่วนใหญ่เป็นการถอนเงินลงทุนของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จากัด (มหาชน) ที่
ถอนเงินลงทุนจากธุรกิจเหล็กในอังกฤษด้วยมูลค่าประมาณ 2.8 หมื่นล้านบาท (ภาพที่ 12)
ด้วยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่มีความซับซ้อนแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ บริษัทจดทะเบียนจึงเลือก
ลงทุนร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจในต่างประเทศมากกว่าการลงทุนเองโดยลาพัง หากประเมินเฉพาะรายการลงทุนที่
ทาให้อานาจในการควบคุมกิจการเพิ่มขึ้นพบว่า บริษัทจดทะเบียนร่วมลงทุนกับพันธมิตรในต่างประเทศด้วยการซื้อ
กิจการอื่นทั้งหมด หรือซื้อหุ้นกิจการอื่นบางส่วนโดยกิจการดังกล่าวประกอบกิจการอยู่แล้วในประเทศนั้นมากกว่า
การจัดตั้งบริษัทย่อย บริษัทร่วมใหม่ กิจการร่วมค้า หรือสร้างฐานการผลิตด้วยตนเอง (ภาพที่ 13)
ภาพที่ 12 มูล ่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปีจาแนกตามผลกระทบต่ออานาจในการ วบ ุมกิจการ
(พันล้านบาท)
-4 -1 -33
4 4 7 8 22 28 44 41 26
62
11 30 33 36
183
106
152
33
90 24
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
อานาจควบคุมเพิ่มขึ้น
อานาจควบคุมไม่
เปลี่ยนแปลง
อานาจควบคุมลดลง
19
สาหรับการลงทุนในอาเซียน บริษัทจดทะเบียนเลือกลงทุนด้วยการหาพันธมิตรในต่างประเทศมากกว่าการ
ตั้งกิจการเองโดยลาพังเช่นกัน แต่มีสัดส่วนที่น้อยกว่าภาพรวมการลงทุนทั่วโลก โดยการซื้อกิจการอื่นทั้งหมดมี
สัดส่วนน้อยกว่าภาพรวมการลงทุนทั่วโลกอย่างเห็นได้ชัด ในขณะที่การลงทุนในอาเซียนมีสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุน
ในกิจการร่วมค้ามากกว่าภาพรวมการลงทุนทั่วโลก (ภาพที่ 14)
30%
13%
21%
73%
57%
34%
50%
24%
42%
49%
2%
58%
12%
10% 40%
28%
30%
26%
23% 10%
12%
63%
9%
11%
17%
6%
9%
4%
1% 6%
2%
35%
19%
26%
4%
12%
1%
1% 2% 23%
46%
23%
12% 13%
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
สร้างโรงงาน ฐานการผลิต
ใหม่เอง
ลงทุนในบริษัทร่วม
ลงทุนในบริษัทย่อย
ลงทุนในกิจการร่วมค้า
ซื้อหุ้นกิจการอื่นบางส่วน
ซื้อกิจการอื่นทั้งหมด
ภาพที่ 13 สัดส่วนมูล ่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปี จาแนกตามวิ ีการลงทุน
(คานวณเฉพาะรายการลงทุนที่ส่งผลให้อานาจในการควบคุมกิจการเพิ่มขึ้นเท่านั้น)
1%
7% 8%
47%
30%
14% 10%
27%
1%
51%
1%
14%
25%
14%
34%
57%
81%
32%
21%
22%
18%
8%
57%
25% 22%
14%
41%
6%
8%
26%
1%
13% 14%
28%
4%
12%
6%
13%
1%
1%
2%
0%
2%
9%
71%
43%
10% 14%
29%
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
สร้างโรงงาน ฐานการผลิต
ใหม่เอง
ลงทุนในบริษัทร่วม
ลงทุนในบริษัทย่อย
ลงทุนในกิจการร่วมค้า
ซื้อหุ้นกิจการอื่นบางส่วน
ซื้อกิจการอื่นทั้งหมด
ภาพที่ 14 สัดส่วนมูล ่าเงินลงทุนในอาเ ียนรายปีจาแนกตามวิ ีการลงทุน
(คานวณเฉพาะรายการลงทุนที่ส่งผลให้อานาจในการควบคุมกิจการเพิ่มขึ้นเท่านั้น)
20
3.4 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตาม นาดบริษัท
หากพิจาณามูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศตามขนาดหลักทรัพย์พบว่า บริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม SET50 มี
มูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศรวมสูงสุดทุกปี โดยในปี 2558 บริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม SET50 มีมูลค่าเงินลงทุน
รวม 6 หมื่นล้านบาทซึ่งคิดเป็น 75% ของมูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศ (ไม่รวมมูลค่าการถอนเงินลงทุน)
(ภาพที่ 15)
ภาพที่ 15 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศรายปี จาแนกตาม นาดหลักทรัพย์
(พันล้านบาท)
13 28 34 36
160
101
170
51 66 60
35
14
41
13
12
-28
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
SET301+
SET201-300
SET101-200
SET51-100
SET50
16
34 40 45
205
143
198
69
115
52
21
บทที่ 4 รายได้จากต่างประเทศ
การลงทุนทางตรงในต่างประเทศ ตลอดจนการส่งออกของบริษัทจดทะเบียนส่งผลให้รายได้จาก
ต่างประเทศของบริษัทเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยนิยามของ “รายได้จากต่างประเทศ” หมายถึงรายได้ที่เกิดขึ้นจาก
ส่วนของธุรกิจที่ประกอบกิจการในต่างประเทศหรือรายได้จากการส่งออกจากฐานการผลิตในประเทศไทย อย่างไรก็
ตามบริษัทจดทะเบียนบางแห่งอาจแสดงรายได้จาแนกตามภูมิศาสตร์ตามที่ตั้งของลูกค้าโดยบริษัทมีทั้งส่วนงานที่
ประกอบกิจการในต่างประเทศ และการส่งออกจึงไม่สามารถจาแนกประเภทได้ รวมเรียกว่า บริษัทมีรายได้จาก
ต่างประเทศ
4.1 รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม
รายได้จากต่างประเทศโดยรวมเติบโตอย่างต่อเนื่องมาจนกระทั่งปี 2558 ที่รายได้จากต่างประเทศของ
บริษัทจดทะเบียนลดลงจากปีก่อนมาอยู่ที่ 2.39 ล้านล้านบาท ซึ่งลดลง 11.7% จากปีก่อน ทั้งที่มีจานวนบริษัท
รายงานข้อมูลรายได้จากต่างประเทศมากกว่าปีก่อนจาก 223 บริษัท เป็น 237 บริษัท หากพิจารณาราย
อุตสาหกรรมพบว่า รายได้จากต่างประเทศลดลงในทุกอุตสาหกรรม ยกเว้นกลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร
และกลุ่มธุรกิจการเงินที่รายได้จากต่างประเทศเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ภาพที่ 16)
ภาพที่ 16รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม
(พันล้านบาท)
129 141 211 190 232 285 463 496 522 52868 111 147 138 134
287
502 538 579 461
120 136 144 129 163
188
208 232 283 275
119 139
251 359 454
641
748
891 808
640
156 168
158 128
144
151
162
193 229
222
172 170
189 158
178
186
170
167 218
197
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
Technology
Services
Resources
Property& Construction
Industrials
Financials
Consumer Products
Agro & Food Industry
132 143 149 153 153 161 190 220 223 237 จานวนบริษัทที่แสดงรายได้
-11.7%
830 933
1,160 1,148
1,352
1,798
2,310
2,579 2,709
2,393
22
อย่างไรก็ตามหากตัดปัจจัยด้านจานวนบริษัทที่แตกต่างกันในแต่ละปีจึงพิจารณาเฉพาะบริษัทเดิมที่แสดง
รายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัทพบว่า รายได้จากต่างประเทศของบริษัทจด
ทะเบียนลดลงจากปีก่อนมาอยู่ที่ 1.67 ล้านล้านบาท ซึ่งลดลง 7% จากปีก่อน หากพิจารณารายอุตสาหกรรมพบว่า
มี 3 กลุ่มอุตสาหกรรมที่รายได้จากต่างประเทศเติบโตจากปีก่อนเล็กน้อยได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร
กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค และกลุ่มธุรกิจการเงิน (ภาพที่ 17)
4.2 อัตราการเติบ ต องรายได้จากต่างประเทศ
ในปี 2558 รายได้จากต่างประเทศปรับลดลงจากปีก่อน ในขณะที่รายได้ในประเทศปรับลดลงเช่นกันโดย
รายได้ในประเทศลดลง 9% จากปีก่อน หากเปรียบเทียบความสามารถในการเติบโตของรายได้จากต่างประเทศกับ
รายได้ในประเทศในปี 2558 พบว่ารายได้จากต่างประเทศมีศักยภาพในการเติบโตสูงกว่าโดยในจานวน 8 กลุ่ม
อุตสาหกรรม มี 6 อุตสาหกรรมที่รายได้จากต่างประเทศเติบโตในอัตราที่สูงกว่า หรือลดลงในอัตราที่ต่ากว่ารายได้
ในประเทศ (ภาพที่ 18)
กลุ่มอุตสาหกรรมที่รายได้ในปี 2558 ปรับลดลงจากปีก่อนมากที่สุดได้แก่ กลุ่มทรัพยากรที่รายได้จาก
ต่างประเทศลดลง 19% และรายได้ในประเทศลดลง 26% (ภาพที่ 18) ซึ่งมีสาเหตุจากราคาน้ามันปรับตัวลดลงมาก
ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ของบริษัท หากตัดผลกระทบจากบริษัทที่มีรายได้จากน้ามันออก 3 บริษัทพบว่า
โดยภาพรวมของบริษัทจานวน 107 บริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 มีรายได้ใน
ประเทศลดลง 1% ขณะที่รายได้จากต่างประเทศลดลง 5% และส่งผลให้มี 5 อุตสาหกรรมที่รายได้จากต่างประเทศ
เติบโตในอัตราที่สูงกว่า หรือลดลงในอัตราที่ต่ากว่ารายได้ในประเทศ (ภาพที่ 19)
ภาพที่ 17รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม
(พันล้านบาท)
128 140 162 160 183 228 391 419 445 44733
31 36 35 36
86 117 125 120
243
261 276 295 287
119 135 143 128 160
179
188 199 242 228
103 103
194 182 226
320
354 366
363 296
156 168
156 126
141
147
152 151
180
171
172 169
189 158
178
186
170 166
213
191
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
Technology
Services
Resources
Property& Construction
Industrials
Financials
Consumer Products
Agro & Food Industry
-7%
788 854
1,006 913
1,046
1,350
1,557 1,625
1,790
1,672
(เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัท)
23
0% 2%
7%
-3%
-6%
-19%
-5%
-10%
0%
-7%
4% 1%
-8%
-26%
-7%
15%
Agro & Food
Industry
Consumer
Products
Financials Industrials Property&
Construction
Resources Services Technology
รายได้จากต่างประเทศ รายได้ในประเทศ
ภาพที่ 18อัตราการเติบ ต องรายได้ องบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ สาหรับปี 2558
จาแนกตามอุตสาหกรรม
(เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัท)
รวมทุกอุตสาหกรรม -9%-7%
(%YoY)
0% 2%
7%
-3%
-6%
-17%
-5%
-10%
0%
-7%
4%
1%
-8%
-2%
-7%
15%
Agro & Food
Industry
Consumer
Products
Financials Industrials Property&
Construction
Resources Services Technology
รายได้จากต่างประเทศ รายได้ในประเทศ
ภาพที่ 19อัตราการเติบ ต องรายได้ องบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ ไม่รวมบริษัทที่มีรายได้จากนามัน
สาหรับปี 2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม
(เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 107 บริษัท)
รวมทุกอุตสาหกรรม -1%-5%
(%YoY)
24
หากพิจารณาในระยะยาวในช่วงปี 2549-2558 บริษัทเดิมที่แสดงรายได้ครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558
จานวน 110 บริษัทมีอัตราการเติบโตของรายได้จากต่างประเทศเฉลี่ย 9% ต่อปีซึ่งยังคงสูงกว่าอัตราการเติบโตของ
รายได้ในประเทศเฉลี่ย 4% ต่อปี นอกจากนี้อัตราการเติบโตของรายได้จากต่างประเทศสูงกว่ารายได้ในประเทศทุก
ปี ยกเว้นปี 2553 ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา รายได้จากต่างประเทศมีศักยภาพในการเติบโต
สูงกว่ารายได้ในประเทศ (ภาพที่ 20)
4.3 สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวม
รายได้จากต่างประเทศมีความสาคัญต่อรายได้รวมของบริษัทจดทะเบียนมากขึ้น จากข้อมูลบริษัทจด
ทะเบียนเดิมที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัทพบว่า สัดส่วนรายได้
จากต่างประเทศในปี 2558 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น 46% ของรายได้รวม (ภาพที่ 21) หากพิจารณารายอุตสาหกรรม
พบว่า เกือบทุกอุตสาหกรรมมีสัดส่วนรายได้จากต่างประเทศในปี 2558 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนเล็กน้อย ยกเว้นกลุ่ม
สินค้าอุตสาหกรรม และกลุ่มเทคโนโลยี ที่สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมลดลงเล็กน้อย (ภาพที่ 22)
8%
18%
-9%
15%
29%
15%
4%
10%
-7%
0%
12%
-19%
28%
16% 12%
1% 0%
-9%
2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
รายได้จากต่างประเทศ รายได้ในประเทศ
ภาพที่ 20อัตราการเติบ ต องรายได้ องบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ
CAGR (2549-2558) 4%9%
(เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัท)
(%YoY)
25
ภาพที่ 21สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวม
36% 37% 37%
39% 39%
42% 42% 43%
45% 46%
2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
(คานวณจากรายได้ของบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558
จานวน 110 บริษัท)
ภาพที่ 22สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมสาหรับปี 2557-2558 จาแนกรายอุตสาหกรรม
63%
53%
4%
71%
35% 33%
80% 69%63%
55%
4%
70%
36% 35%
81%
64%
Agro & Food
Industry
Consumer
Products
Financials Industrials Property &
Construction
Resources Services Technology
2557 2558
(คานวณจากรายได้ของบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558)
จานวนบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 ในแต่ละอุตสาหกรรม
22 21 4 30 11 6 4 12
26
บทที่ 5 รายชื่อบริษัทที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ
(Economic Exposure Universe)
จากการขยายการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และฐานรายได้ในต่างประเทศที่เติบโตขึ้นสะท้อนให้เห็นว่า
บริษัทจดทะเบียนมีโอกาสที่จะเติบโตในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย ไม่จากัดเฉพาะในประเทศไทย
ซึ่งเป็นการยกระดับศักยภาพของบริษัทจดทะเบียนไทยอันอาจจะเชื่อมโยงโอกาสในการเติบโตไปยังธุรกิจอื่นที่อยู่
ในห่วงโซ่อุปทานของบริษัทจดทะเบียน ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทจดทะเบียน
การจัดทารายชื่อบริษัทที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ (Economic
Exposure Universe) มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีโอกาสทาความเข้าใจเพิ่มเติมถึง
ศักยภาพของบริษัทจดทะเบียนที่เกิดขึ้นจากความเชื่อมโยงของบริษัทจดทะเบียนกับเศรษฐกิจต่างประเทศเป็นราย
บริษัท
บริษัทจดทะเบียนที่ถูกจัดให้อยู่ใน “Global Economic Exposure Universe” หมายถึง บริษัทที่ลงทุน
ทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ นอกจากนี้ได้มีการจัดทา Economic Exposure
Universe เป็นรายภูมิภาคโดยแบ่งเป็น 2 ภูมิภาคที่เป็นเป้าหมายหลักในการลงทุน ได้แก่ อาเซียน และ กลุ่ม
ประเทศ CLMV ซึ่งจะเรียกว่าบริษัทจดทะเบียนใน ASEAN Economic Exposure Universe และ CLMV
Economic Exposure Universe
สาหรับปี 2558 บริษัทจดทะเบียน 282 บริษัทลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จาก
ต่างประเทศซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 262 บริษัทในปีก่อน รายชื่อของบริษัทจดทะเบียนดังกล่าวรวบรวมไว้ใน “Global
Economic Exposure Universe” ดังมีรายชื่อในภาคผนวก 1
รายชื่อของบริษัทจดทะเบียนใน ASEAN Economic Exposure Universe และ CLMV Economic
Exposure Universe สาหรับปี 2558 มีจานวน 167 และ 125 บริษัท ดังมีรายชื่อในภาคผนวก 2 และ 3 ตามลาดับ
27
ภา ผนวก 1 รายชื่อบริษัทจดทะเบียนใน Global Economic Exposure Universe (282 บริษัท)
Agro & Food
Industry
Consumer
Products
Financials
Property &
Construction
Resources Services Technology
APURE AFC AEONTS AH TMD AMATA AKR AAV CCET
ASIAN BTNC BAY AJ TNPC AMATAV BANPU AS DELTA
BR CPH BBL ALUCON TOPP BJCHI BCP ASIA DRACO
BRR CPL BKI AMC TPA CGD CKP BA EIC
CBG DSGT CIMBT APCS TPC CK DEMCO BDMS FORTH
CFRESH DTCI CNS BAT-3K TSC CPN EARTH BEAUTY HANA
CHOTI FANCY FNS CSC TSTH DCC EGCO BEC IEC
CM ICC FSS CTW TWP DRT ESSO BH INTUCH
CPF JCT GL CWT TYCN EPG GLOW BIGC KCE
CPI KYE KBANK EASON VARO GEL GPSC BJC METCO
F&D LTX KKP FMT VNT HEMRAJ GUNKUL BTS PT
GFPT NC KTB GSTEL WG ITD IFEC CENTEL SAMART
ICHI OGC SAWAD GYT LH IRPC CPALL SIM
KBS PG SCB HFT MBK LANNA DTC SMT
KSL PRANDA TCAP IHL NWR MDX EPCO SPPT
KTIS ROCK TK INOX PACE PDI ERW SVI
LST S & J TMB IRC PF PTT HMPRO TEAM
M SABINA ZMICO IVL POLAR PTTEP JWD THCOM
MALEE SAWANG KKC PPP RATCH KAMART TWZ
MINT SIAM MCS PS RPC LOXLEY
OISHI STHAI MILL Q-CON SCI LRH
PB SUC PAP RCI SCN MACO
PM TNL PK RML SGP MAJOR
PR TOG PMTA S SOLAR MAKRO
PRG TPCORP PTL SCC SPRC MC
SAPPE TR PTTGC SCCC SUSCO MEGA
SAUCE TTI SAM SEAFCO TCC MIDA
SFP UPF SAT SIRI TOP MONO
SNP UT SITHAI SPALI MPIC
SORKON WACOAL SLP SRICHA NOK
SSC SMIT STEC PRAKIT
SSF SMPC STPI PSL
STA SNC TASCO RCL
TC SPG TCMC ROBINS
TF SSI TFD SHANG
TIPCO SSSC TGCI SPC
TKN STANLY TICON SPI
TLUXE SUTHA TPIPL SVH
TRS TCB TRC THAI
TRUBB TCOAT TTCL TKS
TU TFI UMI TTA
TVO TGPRO VNG VGI
TWPC THIP WHA WICE
UVAN WIIK
Industrials
28
ภา ผนวก 2 รายชื่อบริษัทจดทะเบียนใน ASEAN Economic Exposure Universe (167 บริษัท)
Agro & Food
Industry
Consumer
Products
Financials Industrials
Property &
Construction
Resources Services Technology
BR BTNC AEONTS AH AMATA AKR AAV CCET
CBG DSGT BAY AMC AMATAV BANPU AS DELTA
CHOTI PRANDA BBL CSC CK BCP BA DRACO
CM SUC BKI CTW GEL CKP BDMS FORTH
CPF TNL CIMBT EASON HEMRAJ DEMCO BEAUTY HANA
CPI TOG CNS FMT ITD EARTH BEC IEC
F&D TPCORP FSS IHL NWR EGCO BH INTUCH
ICHI TR GL IRC PACE GLOW BIGC KCE
KSL WACOAL KBANK IVL PS GPSC BJC PT
M KTB KKC RML GUNKUL CENTEL SAMART
MALEE SAWAD MILL SCC IFEC DTC SIM
MINT SCB PK SCCC LANNA ERW SVI
OISHI TK PMTA SEAFCO MDX HMPRO TEAM
SAPPE TMB PTTGC SIRI PDI JWD THCOM
SNP ZMICO SAM SPALI PTT KAMART
STA SITHAI STEC PTTEP LOXLEY
TC SLP TASCO RATCH LRH
TF SPG TICON SCI MACO
TKN SSSC TTCL SGP MAJOR
TLUXE STANLY WHA SUSCO MAKRO
TRUBB SUTHA TCC MC
TU TCB TOP MEGA
TWPC TOPP MIDA
UVAN TPC MONO
TYCN MPIC
VNT NOK
WG PRAKIT
PSL
RCL
ROBINS
SHANG
SPC
SPI
SVH
THAI
TTA
29
ภา ผนวก 3 รายชื่อบริษัทจดทะเบียนใน CLMV Economic Exposure Universe (125 บริษัท)
Agro & Food
Industry
Consumer
Products
Financials Industrials
Property &
Construction
Resources Services Technology
CBG BTNC AEONTS AMC AMATA AKR AAV DELTA
CM PRANDA BAY CTW AMATAV BANPU BA DRACO
CPF SUC BBL EASON CK CKP BDMS FORTH
KSL TOG BKI IRC GEL DEMCO BEAUTY HANA
M TR CIMBT IVL HEMRAJ EGCO BEC INTUCH
MINT WACOAL CNS MILL ITD GLOW BH PT
OISHI FSS PK NWR GPSC BIGC SAMART
SNP GL PMTA PS GUNKUL BJC SIM
STA KBANK SAM SCC IFEC CENTEL SVI
TF KTB SITHAI SCCC MDX JWD THCOM
TLUXE SAWAD SLP SEAFCO PDI KAMART
TRUBB SCB SPG STEC PTT LOXLEY
TU TK SSSC TASCO PTTEP MAJOR
TWPC TMB STANLY TTCL RATCH MAKRO
ZMICO SUTHA SCI MC
TOPP SGP MEGA
TPC SUSCO MIDA
TYCN TOP MONO
WG MPIC
NOK
PRAKIT
RCL
ROBINS
SHANG
SPC
SPI
SVH
THAI
TTA
30
ผู้จัดทาและเผยแพร่: ฝ่ายวิจัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Researchdepartment@set.or.th
www.set.or.th/setresearch
ผู้วิจัย: ปฐมาภรณ์ นิธิชัย
ผู้ช่วยวิจัย: ชัยทิตย์ สนองชาติ
ภัทรนิดา ตั้งจิตเจริญ
Disclaimer: ข้อมูลที่ปรากฎในเอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นบนพื้นฐานของข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ความรู้และแนวคิดแก่ผู้อ่าน มิใช่การให้คาแนะนาด้านการลงทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมิได้ให้การรับรองใน
ความถูกต้องของข้อมูล และไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้น อันเนื่องจากการนาข้อมูลไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่งหรือ
ทั้งหมดไปใช้อ้างอิง หรือเผยแพร่ไม่ว่าในลักษณะใด นอกจากนี้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยขอสงวนสิทธิในการ
เปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดตามหลักเกณฑ์ที่เห็นสมควร

More Related Content

Similar to AttachFile_1466676581798

โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยRHB Banking Group
 
Presentation - FETCO (July 2022).pdf
Presentation - FETCO (July 2022).pdfPresentation - FETCO (July 2022).pdf
Presentation - FETCO (July 2022).pdfKobsak
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfkittithaithana
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
ผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทย
ผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทยผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทย
ผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทยNicha Tatsaneeyapan
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้Ake Saroj
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองThailandCoop
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECPatteera Somsong
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีThailand Board of Investment North America
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) Thailand Board of Investment North America
 
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมOpportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมThailand Board of Investment North America
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 

Similar to AttachFile_1466676581798 (20)

บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทยโครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
โครงการ 2 ล้านๆ กับ อนาคตประเทศไทย
 
Presentation - FETCO (July 2022).pdf
Presentation - FETCO (July 2022).pdfPresentation - FETCO (July 2022).pdf
Presentation - FETCO (July 2022).pdf
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
ผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทย
ผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทยผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทย
ผลกระทบของอัตราการออมต่ออัตราการเจริฐเติบต่อทางเศรษฐกิจในไทย
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
เศรษฐกิจไทย...ใครๆก็เข้าใจได้
 
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สองการปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
การปฏิรูปการสหกรณ์สู่ศตวรรษที่สอง
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
 
SCG Financial Presentation
SCG Financial PresentationSCG Financial Presentation
SCG Financial Presentation
 
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปีมาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
มาตรการส่งเสริมการลงทุนใหม่ภายใต้ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุน 5 ปี
 
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564) สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
สรุปยุทธศาสตร์การส่งเสริมการลงทุนในระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2558-2564)
 
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมOpportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
Opportunity Thailand - เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
 
Foresight for thorkorsor
Foresight for thorkorsorForesight for thorkorsor
Foresight for thorkorsor
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 

AttachFile_1466676581798

  • 1. www.set.or.th/setresearch Research paper 1/2559 ฝ่ายวิจัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มิถุนายน 2559 รายงานการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ ของบริษัทจดทะเบียนไทย ปี 2558
  • 2. สารบัญ หน้า บทสรุปผู้บริหาร 1 บทนา 2 บทที่ 1 การสร้างฐานข้อมูล และนิยาม 4 บทที่ 2 สถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ 8 บทที่ 3 มูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศ 12 บทที่ 4 รายได้จากต่างประเทศ 21 บทที่ 5 รายชื่อบริษัทที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ (Economic Exposure Universe) 26
  • 3. สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 อัตราการเติบโตของมูลค่าเงินลงทุนทางตรงเปรียบเทียบระหว่าง TDI และ FDI 2 ภาพที่ 2 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม 8 ภาพที่ 3 สัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวนบริษัททั้งหมดในกลุ่มอุตสาหกรรม 9 ภาพที่ 4 ภูมิภาคเป้าหมายของการลงทุน ณ สิ้นปี 2558 9 ภาพที่ 5 ประเทศเป้าหมายของการลงทุนในอาเซียน ณ สิ้นปี 2558 10 ภาพที่ 6 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตามขนาดบริษัท 11 ภาพที่ 7 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศรายปีจาแนกตามอุตสาหกรรม 13 ภาพที่ 8 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศสะสมในช่วงปี 2549-2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม 13 ภาพที่ 9 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศรายปีจาแนกตามภูมิภาค 14 ภาพที่ 10 มูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภาคหลัก 15 ภาพที่ 11 มูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภาคย่อยในอาเซียน 15 ภาพที่ 12 มูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปีจาแนกตามผลกระทบต่ออานาจในการควบคุมกิจการ 18 ภาพที่ 13 สัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปีจาแนกตามวิธีการลงทุน 19 ภาพที่ 14 สัดส่วนมูลค่าเงินลงทุนในอาเซียนรายปีจาแนกตามวิธีการลงทุน 19 ภาพที่ 15 มูลค่าเงินลงทุนสุทธิในต่างประเทศรายปีจาแนกตามขนาดหลักทรัพย์ 20 ภาพที่ 16 รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม 21 ภาพที่ 17 รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม 22 ภาพที่ 18 อัตราการเติบโตของรายได้ของบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ สาหรับปี 2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม 23 ภาพที่ 19 อัตราการเติบโตของรายได้ของบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ ไม่รวมบริษัทที่มีรายได้จากน้ามัน สาหรับปี 2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม 23 ภาพที่ 20 อัตราการเติบโตของรายได้ของบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ 24 ภาพที่ 21 สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวม 25
  • 4. สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 22 สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมสาหรับปี 2557-2558 จาแนกรายอุตสาหกรรม 25 สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม และหมวดอุตสาหกรรมย่อย 5 ตารางที่ 2 รายได้เฉลี่ยและช่วงของรายได้ปี 2558 ของกลุ่มบริษัทจาแนกตาม มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 6 ตารางที่ 3 วิธีการลงทุนในต่างประเทศ 16
  • 5. 1 บทสรุปผู้บริหาร บริษัทจดทะเบียนไทยจานวนมากมีการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และมีรายได้จากต่างประเทศ ณ สิ้นปี 2558 บริษัทจดทะเบียนไทยที่มีการรายงานสถานะลงทุนในต่างประเทศมีจานวน 192 บริษัท จากจานวนบริษัทจด ทะเบียนทั้งหมด 517 บริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) หรือคิดเป็น 37% ของจานวนบริษัทจด ทะเบียนทั้งหมด โดยเพิ่มขึ้นจากจานวนบริษัทจดทะเบียนไทยที่มีสถานะลงทุนในต่างประเทศ 173 บริษัทในปีก่อน ในจานวน 192 บริษัทดังกล่าว พบว่า มี 79% ลงทุนในอาเซียน และ 59% ลงทุนใน CLMV หากพิจารณา รายประเทศในอาเซียน พบว่า ณ สิ้นปี 2558 มีจานวนบริษัทจดทะเบียนลงทุนในเวียดนามมากที่สุดเมื่อเทียบกับ ประเทศอื่น หากพิจารณารายอุตสาหกรรม กลุ่มทรัพยากรมีสัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวน บริษัททั้งหมดในกลุ่มอุตสาหกรรมสูงกว่ากลุ่มอื่นเช่นเดียวกับในปีก่อน สาหรับปี 2558 บริษัทจดทะเบียนมีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสุทธิ 5.2 หมื่นล้านบาทซึ่งลดลง จากปี 2557 ที่มีมูลค่า 1.16 แสนล้านบาท ทั้งนี้เนื่องจากมีรายการถอนเงินลงทุนด้วยมูลค่าที่สูงกว่าทุกปีที่ผ่านมา โดยเป็นรายการถอนเงินลงทุนขนาดใหญ่มูลค่าประมาณ 2.8 หมื่นล้านบาทของบริษัทเพียงแห่งเดียว ในปี 2558 รายได้จากต่างประเทศโดยรวมเติบโตอย่างต่อเนื่องมาจนกระทั่งปี 2558 ที่รายได้จากต่างประเทศของ บริษัทจดทะเบียนลดลงจากปีก่อน หากพิจารณาเฉพาะบริษัทเดิมที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัทพบว่า รายได้จากต่างประเทศของบริษัทจดทะเบียนลดลงจากปีก่อน 7% ในขณะที่ รายได้ในประเทศปรับลดลงเช่นกันโดยรายได้ในประเทศลดลง 9% จากปีก่อน แม้ว่ารายได้จากต่างประเทศจะปรับ ลดลง แต่สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมของ 110 บริษัทดังกล่าวเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนโดยมาอยู่ ที่ระดับ 46% ของรายได้รวมในปี 2558 จาก 45% ของรายได้รวมในปีก่อน เพื่อแสดงให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้มีโอกาสทาความเข้าใจเพิ่มเติมถึงศักยภาพของบริษัทจดทะเบียน ที่เกิดขึ้นจากความเชื่อมโยงของบริษัทจดทะเบียนกับเศรษฐกิจต่างประเทศเป็นรายบริษัท จึงได้จัดทารายชื่อบริษัท ที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ (Economic Exposure Universe) โดยแบ่งตาม ภูมิภาคได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม Global กลุ่ม ASEAN และ กลุ่ม CLMV สาหรับปี 2558 มีจานวนบริษัทใน Global Economic Exposure Universe จานวน 282 บริษัทซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 262 บริษัทในปีก่อน ในขณะที่บริษัทใน ASEAN Economic Exposure Universe และ CLMV Economic Exposure Universe มีจานวน 167 และ 125 บริษัท ตามลาดับ
  • 6. 2 บทนา พัฒนาการทางเศรษฐกิจของโลกนาไปสู่ความเชื่อมโยงระหว่างเขตเศรษฐกิจซึ่งส่งผลให้กิจกรรมทาง เศรษฐกิจระหว่างประเทศขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งในด้านการค้า การลงทุน การผลิต การบริโภค การขนส่ง การ สื่อสาร ฯ โดยทุกภาคส่วนไม่อาจหลีกเลี่ยงผลจากความเชื่อมโยงระหว่างเขตเศรษฐกิจนี้ได้ ทุกภาคส่วนจึงต้อง ปรับตัวเพื่อแสวงหาโอกาส และป้องกันความเสี่ยงจากสภาวการณ์นี้ ภาคธุรกิจไทยมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดในช่วงประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา (2549-2558) โดยเฉพาะในด้าน การลงทุนทางตรงในต่างประเทศ แม้ว่าประเทศไทยจะอยู่ในสถานะประเทศผู้รับการลงทุนจากต่างประเทศ แต่ มูลค่าของเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสะสมของธุรกิจไทย (Thailand Direct Investment: TDI) เติบโตในอัตรา ที่สูงกว่ามูลค่าเงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศสะสม (Foreign Direct Investment: FDI) (ภาพที่ 1) บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ไทยจานวนมากขยายการลงทุนไปในต่างประเทศ ด้วยเห็นว่าเป็น กลยุทธ์สาคัญเพื่อความอยู่รอดของธุรกิจด้วยการแสวงหาโอกาสจากความแตกต่างในแต่ละประเทศ วัตถุประสงค์ ของการขยายการลงทุนทางตรงในต่างประเทศแตกต่างกันไปในแต่ละกิจการ และแต่ละช่วงเวลาโดยสามารถแบ่ง ภาพที่ 1 อัตราการเติบ ต องมูล ่าเงินลงทุนทางตรงเปรียบเทียบระหว่างTDI และFDI 12.9 28.2 42.3 36.3 71.1 35.7 16.3 6.3 11.6 20.0 0.4 13.9 29.5 11.8 13.0 4.0 6.9 -7.1 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 TDI FDI (%YoY) แหล่งข้อมูล ธนาคารแห่งประเทศไทย คานวณโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • 7. 3 วัตถุประสงค์ของการลงทุนออกเป็น 3 ด้านได้แก่ การขยายตลาดใหม่ การแสวงหาแหล่งทรัพยากรใหม่ การเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขัน เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต การรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี และนวัตกรรม การขยายตลาด หรือการแสวงหาแหล่งทรัพยากรในต่างประเทศเป็นความจาเป็นของบริษัทขนาดใหญ่บาง แห่ง เนื่องจากขนาดเศรษฐกิจไทยเล็กเกินกว่าที่จะสนับสนุนการเติบโตอย่างต่อเนื่องของบริษัทขนาดใหญ่ได้ การ เติบโตของบริษัทขนาดใหญ่จากการขยายธุรกิจในต่างประเทศ ไม่เพียงเป็นประโยชน์กับผู้ถือหุ้นเท่านั้น หากแต่ เป็นประโยชน์ต่อทั้งห่วงโซ่การผลิตของบริษัทดังกล่าวซึ่งยังคงมีฐานการผลิตหลักอยู่ในประเทศไทยได้มีโอกาส เติบโตตามไปด้วย ทุกภาคส่วนจึงควรเข้าใจสถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของธุรกิจไทยในปัจจุบันเพื่อนาไปสู่การ กาหนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนทางตรงในต่างประเทศโดยสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและความ ต้องการที่แท้จริงของภาคธุรกิจ
  • 8. 4 บทที่ 1: การสร้างฐาน ้อมูล และนิยาม ฐานข้อมูลการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (บริษัทจดทะเบียน) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาสถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และรายได้จากต่างประเทศของ บริษัทจดทะเบียน และเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบรายงานการลงทุนทางตรงในต่างประเทศของบริษัทจดทะเบียนไทย ซึ่งครอบคลุมการศึกษาข้อมูลของบริษัทจดทะเบียนทุกแห่งในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) โดยไม่รวม บริษัทที่อยู่ในกลุ่มฟื้นฟูกิจการ และบริษัทที่อยู่ระหว่างเพิกถอนกิจการโดยจานวนบริษัทตามข้อมูล ณ สิ้นปี 1.1 แหล่ง ้อมูล การสร้างฐานข้อมูลเกิดจากการรวบรวมข้อมูลการลงทุนทางตรงในต่างประเทศและรายได้จากต่างประเทศ ที่บริษัทจดทะเบียนเปิดเผยอย่างเป็นทางการในเอกสารของบริษัท ได้แก่ หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงาน 56-1 รายงานประจาปี หรือเอกสารนาเสนอของบริษัท 1.2 นิยาม าสา ัญ “การลงทุนทางตรงในต่างประเทศ” หมายถึง การลงทุนในส่วนทุนของกิจการโดยบริษัทผู้ลงทุน (บริษัท จดทะเบียน) มีอานาจควบคุมในกิจการของผู้รับการลงทุนซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ บริษัทย่อย บริษัทร่วม กิจการร่วม ค้า และรวมถึงการลงทุนในสินทรัพย์ เช่น การสร้างโรงงาน หรือฐานการผลิตในต่างประเทศโดยบริษัทจดทะเบียน เอง นอกจากนี้จะคานึงถึงวัตถุประสงค์ในการลงทุนประกอบด้วยโดยบริษัทจดทะเบียนต้องระบุวัตถุประสงค์ในการ ประกอบกิจการที่ชัดเจน ทั้งนี้ฐานข้อมูลนี้ไม่รวมถึงการลงทุนเพื่อจัดตั้งกิจการในรูปแบบ investment company หรือ holding company และไม่รวมถึงการลงทุนในรูปแบบ portfolio investment “รายได้จากต่างประเทศ” ประกอบด้วยรายได้ที่เกิดขึ้นจากส่วนของธุรกิจที่ประกอบกิจการใน ต่างประเทศหรือรายได้จากการส่งออกจากฐานการผลิตในประเทศไทย อย่างไรก็ตามบริษัทจดทะเบียนบางแห่ง อาจแสดงรายได้จาแนกตามภูมิศาสตร์ตามที่ตั้งของลูกค้าโดยบริษัทมีทั้งส่วนงานที่ประกอบกิจการในต่างประเทศ และการส่งออกจึงไม่สามารถจาแนกประเภทได้ รวมเรียกว่า บริษัทมีรายได้จากต่างประเทศ
  • 9. 5 ในการวิเคราะห์จาแนกกลุ่มบริษัทจดทะเบียนแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ การจาแนกตามกลุ่ม อุตสาหกรรม และการจาแนกตามขนาดของบริษัทซึ่งพิจารณาจากมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด การวิเคราะห์จาแนกตาม “กลุ่มอุตสาหกรรม” (industry) แบ่งออกเป็น 8 กลุ่มหลักตามเกณฑ์ของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมมีหมวดอุตสาหกรรมย่อย (sector) ตามที่ แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 การแบ่งกลุ่มอุตสาหกรรม และหมวดอุตสาหกรรมย่อย กลุ่มอุตสาหกรรม (industry) หมวดอุตสาหกรรมย่อย (sector) 1. เกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร (Agro & Food Industry) 1.1 ธุรกิจการเกษตร 1.2 อาหารและเครื่องดื่ม 2. สินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer Products) 2.1 แฟชั่น 2.2 ของใช้ในครัวเรือนและสานักงาน 2.3 ของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์ 3. ธุรกิจการเงิน (Financials) 3.1 ธนาคาร 3.2 เงินทุนและหลักทรัพย์ 3.3 ประกันภัยและประกันชีวิต 4. สินค้าอุตสาหกรรม (Industrials) 4.1 ยานยนต์ 4.2 วัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร 4.3 กระดาษและวัสดุการพิมพ์ 4.4 ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ 4.5 บรรจุภัณฑ์ 4.6 เหล็ก 5. อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง (Property & Construction) 5.1 วัสดุก่อสร้าง 5.2 พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 5.3 บริการรับเหมาก่อสร้าง 6. ทรัพยากร (Resources) 6.1 พลังงานและสาธารณูปโภค 6.2 เหมืองแร่
  • 10. 6 กลุ่มอุตสาหกรรม (industry) หมวดอุตสาหกรรมย่อย (sector) 7. บริการ (Services) 7.1 พาณิชย์ 7.2 การแพทย์ 7.3 สื่อและสิ่งพิมพ์ 7.4 บริการเฉพาะกิจ 7.5 การท่องเที่ยวและสันทนาการ 7.6 ขนส่งและโลจิสติกส์ 8. เทคโนโลยี (Technology) 8.1 ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ 8.2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การวิเคราะห์จาแนกตาม “ นาด องบริษัท” โดยเรียงตามขนาดของมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (market capitalization) แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ 1) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูง 50 ลาดับแรก จัดอยู่ในกลุ่ม SET50 2) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 51-100 จัดอยู่ในกลุ่ม SET51-100 3) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 101-200 จัดอยู่ในกลุ่ม SET101-200 4) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 201-300 จัดอยู่ในกลุ่ม SET201-300 5) บริษัทจดทะเบียนที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดในลาดับที่ 301 ขึ้นไป จัดอยู่ในกลุ่ม SET300+ การจัดกลุ่มตามมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสะท้อนถึงขนาดรายได้ของธุรกิจได้ตามสมควรโดยบริษัท ที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงมักจะมีรายได้สูงกว่าดังมีรายละเอียดตามตารางที่ 2 ตารางที่ 2 รายได้เฉลี่ยและช่วง องรายได้ปี 2558 องกลุ่มบริษัท จาแนกตามมูล ่าหลักทรัพย์ตามรา าตลาด กลุ่มบริษัท รายได้เฉลี่ย (ล้านบาท) รายได้สูงสุด (ล้านบาท) รายได้ต่าสุด (ล้านบาท) SET50 144,450 2,063,727 3,777 SET51-100 17,185 192,723 1,768 SET101-200 17,802 179,605 409 SET201-300 4,945 21,671 60 SET301+ 2,424 33,914 10
  • 11. 7 1.3 ้อจากัด องฐาน ้อมูล ฐานข้อมูลนี้มีข้อจากัดเนื่องจากไม่มีข้อกาหนดหรือมาตรฐานของการรายงานข้อมูลการลงทุนทางตรงใน ต่างประเทศหรือรายได้จากต่างประเทศ บริษัทจดทะเบียนอาจรายงานหรือไม่รายงานข้อมูลดังกล่าวก็ได้หากบริษัท เห็นว่ารายการลงทุน หรือรายได้จากต่างประเทศยังไม่มีนัยสาคัญต่อผลการดาเนินงานโดยรวมของกิจการ ดังนั้น ข้อมูลตามฐานข้อมูลนี้อาจไม่ครบถ้วนทั้งหมดตามที่เป็นจริง อย่างไรก็ตามผู้รวบรวมข้อมูลได้ใช้ความพยายาม อย่างดีที่สุดเพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องตามที่ควร เพื่อให้ฐานข้อมูลมีความครบถ้วนถูกต้องมากขึ้นในอนาคต ฝ่ายวิจัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เสนอให้มีมาตรฐานในการเปิดเผยข้อมูล และการสร้างระบบส่งผ่านข้อมูลการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ รายได้จากต่างประเทศของริษัทจดทะเบียนเข้ามารวบรวมเป็นฐานข้อมูลที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยตรง แต่กระบวนการดังกล่าวมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจานวนมากจึงต้องใช้เวลาในการพัฒนาอีกช่วงหนึ่ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีความยินดีที่จะสนับสนุนข้อมูลในฐานข้อมูลนี้ให้กับหน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวข้องกับการกาหนดนโยบายด้านการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และสถาบันการศึกษาที่ต้องการผลิตผล งานวิจัยในด้านนี้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
  • 12. 8 บทที่ 2: สถานะการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมาจานวนบริษัทจดทะเบียนที่มีการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ1 มีจานวนเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดย ณ สิ้นปี 2558 บริษัทที่มีการรายงานสถานะการลงทุนในต่างประเทศมีจานวน 192 บริษัท เพิ่มขึ้น จาก 173 บริษัทในปีก่อน โดยกลุ่มบริการมีจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศ 41 บริษัทซึ่งมากกว่ากลุ่มอื่น 2.1 สถานะการลงทุนจาแนกตามอุตสาหกรรม ในปี 2558 จานวนบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนในต่างประเทศเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มอุตสาหกรรม ยกเว้นกลุ่มสินค้า อุปโภคบริโภค โดยกลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างมีจานวนบริษัทเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มอื่น (ภาพที่ 2) อย่างไรก็ตาม ในแต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมมีจานวนบริษัทไม่เท่ากัน จึงควรพิจารณาสัดส่วนจานวนบริษัทที่ ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวนบริษัททั้งหมดในแต่ละอุตสาหกรรม พบว่า กลุ่มทรัพยากรมีสัดส่วนบริษัทที่ลงทุนใน ต่างประเทศมากกว่ากลุ่มอุตสาหกรรมอื่นโดย 58% ของจานวนบริษัททั้งหมดในกลุ่มทรัพยากรลงทุนใน 1 รวมบริษัทที่ยังคงมีเงินลงทุนทางตรงคงค้างอยู่ในต่างประเทศ ณ สิ้นปีที่พิจารณา โดยมิได้คานึงถึงว่าบริษัทจะเริ่มลงทุนมาตั้งแต่ปีใด ภาพที่ 2 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม 9 9 9 9 9 9 9 15 20 236 6 6 7 9 9 9 10 16 14 5 5 5 5 5 5 6 10 13 16 7 9 10 10 12 13 15 20 24 27 7 8 8 9 9 11 12 23 27 33 7 6 8 9 10 11 11 15 19 23 9 10 11 12 14 17 19 29 40 41 9 9 9 9 11 11 11 13 14 15 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 Technology Services Resources Property& Construction Industrials Financials Consumer Products Agro & Food Industry 59 62 66 70 79 86 92 135 173 192
  • 13. 9 ต่างประเทศ รองลงมาได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารซึ่งมีสัดส่วน 45% ตามด้วยกลุ่มบริการเป็นอันดับที่ 3 ในขณะที่กลุ่มธุรกิจการเงินมีสัดส่วนต่าที่สุด (ภาพที่ 3) 2.2 สถานะการลงทุนจาแนกตามภูมิภา อาเซียนเป็นภูมิภาคเป้าหมายหลักของการลงทุน โดยในจานวน 192 บริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศ ณ สิ้นปี 2558 มี 79% ที่ลงทุนในอาเซียน หากแยกพิจารณาเฉพาะกลุ่มประเทศ CLMV ที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง พบว่า 59% ของบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนในต่างประเทศลงทุนใน CLMV อย่างไรก็ตาม สัดส่วนบริษัทที่ลงทุนในแต่ละ ภูมิภาคในปี 2558 ไม่แตกต่างจากในปี 2557 ทั้งนี้ 1 บริษัทอาจลงทุนในหลายภูมิภาค การคานวณสัดส่วนดังกล่าวมี การนับจานวนบริษัทซ้าหากบริษัทนั้นมีการลงทุนในหลายภูมิภาค (ภาพที่ 4) ภาพที่ 4 ภูมิภา เป้ าหมาย องการลงทุน สินปี 2558 (สัดส่วนบริษัทที่ลงทุนในแต่ละภูมิภาคเทียบกับจานวนบริษัททั้งหมดที่ลงทุน 192 บริษัท โดย 1 บริษัทอาจลงทุนหลายภูมิภาค) 79% 59% 41% 21% 19% 14% 9% 8% 7% ASEAN CLMV East Asia America Europe South Asia Australia Middle east Africa 19% 20% 20% 21% 22% 22% 22% 31% 41% 45%13% 14% 14% 17% 23% 23% 23% 24% 38% 35% 7% 7% 8% 8% 8% 8% 11% 17% 22% 27% 10% 13% 14% 14% 17% 16% 19% 24% 29% 31% 8% 9% 9% 10% 10% 13% 14% 26% 29% 35% 30% 25% 29% 33% 37% 41% 39% 44% 56% 58% 10% 11% 13% 14% 16% 20% 21% 30% 42% 41% 24% 24% 24% 23% 29% 29% 29% 33% 35% 37% 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 Technology Services Resources Property& Construction Industrials Financials Consumer Products Agro & Food Industry ภาพที่ 3 สัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศต่อจานวนบริษัททังหมดในกลุ่มอุตสาหกรรม
  • 14. 10 หากพิจารณาประเทศในกลุ่มอาเซียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักของการลงทุน พบว่า ณ สิ้นปี 2558 มีจานวน บริษัทจดทะเบียนลงทุนในเวียดนาม 55 บริษัทซึ่งมีจานวนมากที่สุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่น หรือคิดเป็น 36% ของ บริษัทที่มีการลงทุนในอาเซียนทั้งหมด 152 บริษัท ตามด้วยเมียนมาร์ อินโดนีเซีย ลาว และสิงคโปร์ ตามลาดับ โดยมี สัดส่วนจานวนบริษัทที่ลงทุนในประเทศดังกล่าวต่อจานวนบริษัทที่ลงทุนในอาเซียนทั้งหมดใกล้เคียงกันในช่วง 32- 33% ของบริษัทที่มีการลงทุนในอาเซียน (ภาพที่ 5) 2.3 สถานะการลงทุนจาแนกตาม นาดบริษัท เมื่อพิจารณาจากขนาดบริษัทพบว่า ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศเพิ่มขึ้นทั้งใน กลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ และขนาดเล็ก อย่างไรก็ตาม ในปี 2558 บริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่ม SET100 ที่ลงทุนใน ต่างประเทศมีจานวนลดลงจากปีก่อน ในขณะที่บริษัทในกลุ่ม Non-SET100 มีจานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศ เพิ่มขึ้น (ภาพที่ 6) ภาพที่ 5 ประเทศเป้ าหมาย องการลงทุนในอาเ ียน สินปี 2558 (สัดส่วนบริษัทที่ลงทุนในแต่ละประเทศเทียบกับจานวนบริษัททั้งหมดที่ลงทุนในอาเซียน 152 บริษัท โดย 1 บริษัทอาจลงทุนหลายประเทศ) 36% 33% 32% 32% 32% 27% 23% 16% 1% Vietnam Myanmar Indonesia Laos Singapore Cambodia Malaysia Philippines Brunei
  • 15. 11 สาเหตุที่จานวนบริษัทจดทะเบียนที่ลงทุนในต่างประเทศเปลี่ยนแปลงในแต่ละกลุ่ม ได้แก่ 1) การย้ายกลุ่มของ บริษัทเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด 2) บริษัทที่มีการลงทุนจากต่างประเทศอยู่แล้วเข้าจด ทะเบียนใหม่ 3) การเพิกถอนหลักทรัพย์ของบริษัทที่มีการลงทุนในต่างประเทศ 4) บริษัทจดทะเบียนเพิ่งลงทุนใน ต่างประเทศเป็นปีแรก และ 5) บริษัทจดทะเบียนถอนเงินลงทุนทั้งหมดในต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม เพื่อประโยชน์ในการกาหนดนโยบายสนับสนุนการลงทุนในต่างประเทศ จึงพิจารณาเฉพาะการ เปลี่ยนแปลงเนื่องจากบริษัทเพิ่งลงทุนในต่างประเทศเป็นปีแรก และจานวนบริษัทที่ถอนเงินลงทุนทั้งหมดใน ต่างประเทศ โดยไม่คานึงถึงปัจจัยด้านการเข้าจดทะเบียน หรือการเพิกถอนหลักทรัพย์ หรือการย้ายกลุ่มหลักทรัพย์ จากภาพที่ 6 ในปี 2558 บริษัทขนาดใหญ่ในกลุ่ม SET100 (SET 50 และ SET51-100) มีจานวนบริษัทที่ ลงทุนในต่างประเทศ 68 บริษัท ลดลงจากปีก่อน 4 บริษัทโดยมีสาเหตุจากบริษัทจดทะเบียนเพิ่งลงทุนในต่างประเทศ เป็นปีแรกจานวน 2 บริษัท และไม่มีบริษัทใดถอนเงินลงทุนทั้งหมดในต่างประเทศ การเปลี่ยนแปลงส่วนที่เหลือเกิด จากปัจจัยด้านด้านการเข้าจดทะเบียน หรือการเพิกถอนหลักทรัพย์ หรือการย้ายกลุ่มหลักทรัพย์ ส่วนบริษัทในกลุ่ม Non-SET100 (SET101-200, SET201-300 และ SET301+) มีจานวนบริษัทที่ลงทุนใน ต่างประเทศ 124 บริษัท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 23 บริษัท โดยมีสาเหตุจากบริษัทจดทะเบียนเพิ่งลงทุนในต่างประเทศเป็น ปีแรกจานวน 14 บริษัท และมีบริษัทที่ถอนเงินลงทุนทั้งหมดในต่างประเทศจานวน 3 บริษัท การเปลี่ยนแปลงส่วนที่ เหลือเกิดจากปัจจัยด้านด้านการเข้าจดทะเบียน หรือการเพิกถอนหลักทรัพย์ หรือการย้ายกลุ่มหลักทรัพย์ ภาพที่ 6 จานวนบริษัทที่ลงทุนในต่างประเทศจาแนกตาม นาดบริษัท 19 19 21 22 23 26 30 36 42 4012 12 13 14 16 17 19 22 30 28 21 21 21 22 25 28 28 37 33 44 5 8 8 9 11 11 10 24 30 39 4 4 5 16 38 41 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 SET301+ SET201-300 SET101-200 SET51-100 SET50 59 62 66 70 79 86 92 135 173 192
  • 16. 12 บทที่ 3 มูล ่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศ มูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศหมายถึง เงินลงทุนที่บริษัทจดทะเบียนใช้ในกิจกรรมการลงทุนในแต่ ละปี (investment flow) ในปี 2558 บริษัทจดทะเบียนมีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสุทธิ2 5.2 หมื่นล้าน บาท ลดลงจากปี 2557 ที่มีมูลค่า 1.15 แสนล้านบาท มูลค่าเงินลงทุนสุทธิที่ปรับลดลงเกิดจากในปี 2558 มีรายการถอนเงินลงทุนจากต่างประเทศรวม 3.3 หมื่น ล้านบาท หากพิจารณาเฉพาะเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศโดยไม่รวมรายการถอนเงินลงทุนพบว่า ในปี 2558 มีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศ 8.5 หมื่นล้านบาท ซึ่งลดลงจากปี 2557 ที่มีมูลค่า 1.15 แสนล้านบาท 3.1 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตามอุตสาหกรรม บริษัทจดทะเบียนในกลุ่มทรัพยากรมีมูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสูงกว่ากลุ่มอื่นในปี 2558 เช่นเดียวกับทุกปีที่ผ่านมาด้วยมูลค่าเงินลงทุนสุทธิ 3.5 หมื่นล้านบาท ในจานวนนี้มีรายการลงทุนขนาด 1.5 หมื่น ล้านบาท 1 รายการซึ่งเป็นการลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยของบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ที่ประกอบธุรกิจปิโตรเลียมในประเทศแคนาดา กลุ่มที่มีมูลค่าเงินลงทุนสูงเป็นลาดับที่ 2 ได้แก่ กลุ่ม เกษตรและอุตสาหกรรมอาหารที่มีมูลค่าเงินลงทุนสุทธิ 2.5 หมื่นล้านบาท ในจานวนนี้มีรายการลงทุนขนาดเกิน 1.5 หมื่นล้านบาท 1 รายการซึ่งเป็นการลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยของบริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) ที่ประกอบธุรกิจไก่แปรรูปในประเทศรัสเซีย อย่างไรก็ตาม กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมมีมูลค่าเงินลงทุนสุทธิใน ต่างประเทศเป็นลบ ซึ่งหมายถึงการถอนเงินลงทุนในต่างประเทศ โดยรายการขนาดใหญ่ที่ส่งผลต่อภาพรวมของ กลุ่มได้แก่ การถอนเงินลงทุนของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จากัด (มหาชน) ที่ถอนเงินลงทุนจากธุรกิจเหล็กใน อังกฤษด้วยมูลค่าประมาณ 2.8 หมื่นล้านบาท (ภาพที่ 7) 2 เงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศสุทธิคานวณจากมูลค่าเงินลงทุนที่ส่งไปลงทุนในต่างประเทศลบด้วยมูลค่าการถอนเงินลงทุนจาก ต่างประเทศ
  • 17. 13 โครงสร้างเงินลงทุนสะสมโดยภาพรวมทั่วโลกกับเงินลงทุนในอาเซียนไม่แตกต่างกันมากนัก หากพิจารณา มูลค่าเงินลงทุนสุทธิสะสมในช่วงปี 2549-2558 พบว่า บริษัทจดทะเบียนในกลุ่มทรัพยากรมีมูลค่าเงินลงทุนสะสมสูง ที่สุดโดยมากกว่า 50% ของมูลค่าเงินลงทุนสะสมทั้งหมด ทั้งโดยภาพรวมของการลงทุนทั่วโลก และการลงทุนใน ภูมิภาคอาเซียน อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเงินลงทุนสะสมมากเป็นลาดับที่ 2 และ 3 ในภาพรวมของการลงทุนทั่วโลก ได้แก่ กลุ่มสินค้าอุตสาหกรรม และกลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร ในขณะที่อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเงินลงทุน สะสมในอาเซียนมากเป็นลาดับที่ 2 และ 3 ได้แก่ กลุ่มอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง และกลุ่มบริการ ตามลาดับ (ภาพที่ 8) ภาพที่ 7 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศรายปี จาแนกตามอุตสาหกรรม (พันล้านบาท) 30 5 4 39 258 6 3 70 61 6 7 -16 6 18 24 30 160 31 114 44 35 35 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 Technology Services Resources Property& Construction Industrials Financials Consumer Products Agro & Food Industry 16 34 40 45 205 143 198 69 115 52 ภาพที่ 8 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศสะสมในช่วงปี 2549-2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม 13% 1% 1% 16% 8%55% 5% 1% World 5% 0% 2% 5% 24% 52% 11% 1% ASEAN Agro & Food Industry Consumer Products Financials Industrials Property& Construction Resources Services Technology มูลค่า 9 แสนล้านบาท มูลค่า 2.6 แสนล้านบาท
  • 18. 14 3.2 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตามภูมิภา ภูมิภาคหลักที่บริษัทจดทะเบียนส่งเงินลงทุนไปยังคงเป็นอาเซียน และทวีปอเมริกาเช่นเดียวกับปีก่อน ใน ปี 2558 เงินลงทุนในอาเซียนมีมูลค่ารวม 2.4 หมื่นล้านบาท โดยรายการลงทุนแต่ละรายการมีขนาดไม่เกิน 5,000 ล้านบาท ในขณะที่เงินลงทุนในทวีปอเมริกามีมูลค่ารวม 2.5 หมื่นล้านบาท โดยเป็นรายการลงทุนขนาดใหญ่ 1.5 หมื่นล้านบาท 1 รายการซึ่งเป็นการลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยของบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ที่ประกอบธุรกิจในประเทศแคนาดา (ภาพที่ 9) หากเปรียบเทียบ 3 ภูมิภาคหลักที่บริษัทจดทะเบียนส่งเงินไปลงทุน ได้แก่ อาเซียน อเมริกา และยุโรป พบว่า มูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุนในอาเซียนน้อยกว่ามูลค่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุน ในอเมริกาและยุโรป (ภาพที่ 10) สาหรับภูมิภาคอาเซียน หากแบ่งออกเป็นภูมิภาคย่อยได้แก่ ASEAN 5 และ CLMV พบว่า มูลค่าเงิน ลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุนใน CLMV น้อยกว่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทที่ส่งไปลงทุนใน ASEAN 5 (ภาพที่ 11) ภาพที่ 9 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศรายปี จาแนกตามภูมิภา (พันล้านบาท) 9 14 20 21 32 60 30 45 24 70 28 42 29 38 2519 71 27 30 38 30 11 16 59 5 18 14 10 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 Middle East South Asia East asia Africa Europe Australia America ASEAN 16 34 40 45 205 143 198 69 115 52
  • 19. 15 ภาพที่ 11 มูล ่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภา ย่อยในอาเ ียน (ล้านบาท) 283 294 1,507 1,744 1,164 1,749 3,629 668 932 393 757 304 265 412 632 389 320 337 389 388 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 ASEAN 5 CLMV จานวนบริษัทที่มีมี ุรกรรมการลงทุนในต่างประเทศ ASEAN 5 12 10 7 8 12 16 15 30 30 24 CLMV 8 11 14 14 11 10 17 31 43 37 ภาพที่ 10 มูล ่าเงินลงทุนเฉลี่ยต่อบริษัทจาแนกรายภูมิภา หลัก (ล้านบาท) 527 299 750 939 1,046 1,386 2,065 553 641 439 253 5,180 84 204 17,421 4,649 5,191 3,272 5,373 4,190 205 644 1,631 594 7,434 5,426 7,603 400 726 -330 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 ASEAN America Europe จานวนบริษัทที่มี ุรกรรมการลงทุนในต่างประเทศ ASEAN 18 21 19 21 20 23 29 55 70 54 America 2 1 2 4 4 6 8 9 7 6 Europe 3 5 4 4 4 7 4 11 15 12
  • 20. 16 3.3 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตามวิ ีการลงทุน บริษัทจดทะเบียนมีวิธีการในการลงทุนทางตรงในต่างประเทศที่หลากหลาย และมีผลกระทบต่ออานาจใน การควบคุมกิจการที่แตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 7 วิธีโดยแต่ละวิธีมีนิยาม และผลกระทบต่ออานาจใน การควบคุมกิจการตามรายละเอียดในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 วิ ีการลงทุนในต่างประเทศ วิธีการลงทุน นิยาม ผลกระทบต่ออานาจในการควบคุม กิจการ 1. ซื้อกิจการอื่น ทั้งหมด บริษัทจดทะเบียนซื้อกิจการทั้งหมด หรือ ซื้อหุ้นในกิจการอื่นจนมีสัดส่วนการถือ ครองหุ้น 100% เพิ่มขึ้น 2. ซื้อหุ้นกิจการอื่น บางส่วน บริษัทจดทะเบียนซื้อหุ้นในกิจการอื่นโดย มีสัดส่วนการถือครองหุ้นน้อยกว่า 100% เพิ่มขึ้น 3. ลงทุนในกิจการ ร่วมค้า บริษัทจดทะเบียนร่วมลงทุนกับบริษัทอื่น โดยจัดตั้งกิจการใหม่ในรูปกิจการร่วมค้า หรือบริษัทร่วมลงทุน 1) เพิ่มขึ้นถ้าเป็นการลงทุนจัดตั้ง ครั้งแรก หรือลงทุนต่อเนื่องเพื่อ เพิ่มสัดส่วนการถือครอง 2) ไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเป็นการ ลงทุนต่อเนื่องโดยไม่เพิ่มสัดส่วน การถือครอง 4. ลงทุนในบริษัทย่อย จัดตั้งบริษัทย่อยใหม่เอง หรือลงทุนเพิ่ม ในบริษัทย่อยเดิม โดยบริษัทย่อยหมายถึง กิจการที่บริษัทจดทะเบียนมีสัดส่วนการ ถือหุ้นมากกว่า 50% หรือมีอานาจในการ ควบคุมส่วนใหญ่ของกิจการนั้น 1) เพิ่มขึ้นถ้าเป็นการลงทุนจัดตั้ง ครั้งแรก หรือลงทุนต่อเนื่องเพื่อ เพิ่มสัดส่วนการถือครอง 2) ไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเป็นการ ลงทุนต่อเนื่องโดยไม่เพิ่มสัดส่วน การถือครอง
  • 21. 17 วิธีการลงทุน นิยาม ผลกระทบต่ออานาจในการควบคุม กิจการ 5. ลงทุนในบริษัทร่วม จัดตั้งบริษัทร่วมใหม่เอง หรือลงทุนเพิ่มใน บริษัทร่วมเดิม โดยบริษัทร่วมหมายถึง กิจการที่บริษัทจดทะเบียนมีสัดส่วนการ ถือหุ้นมากกว่า 10% หรือมีอานาจในการ ควบคุมกิจการนั้นบางส่วน 1) เพิ่มขึ้นถ้าเป็นการลงทุนจัดตั้ง ครั้งแรก หรือลงทุนต่อเนื่องเพื่อ เพิ่มสัดส่วนการถือครอง 2) ไม่เปลี่ยนแปลง ถ้าเป็นการ ลงทุนต่อเนื่องโดยไม่เพิ่มสัดส่วน การถือครอง 6. สร้างโรงงานหรือ ฐานการผลิตเอง การลงทุนเพื่อการได้มาซึ่งโรงงานหรือ ฐานการผลิตโดยลงทุนด้วยบริษัทจด ทะเบียนเอง เพิ่มขึ้น 7. ถอนเงินลงทุน บริษัทจดทะเบียนถอนเงินลงทุนจาก กิจการนั้นโดยไม่คานึงถึงกระบวนการ หรือสาเหตุการถอนเงินลงทุน ลดลง การพิจารณาผลกระทบต่ออานาจในการควบคุมกิจการเป็นส่วนหนึ่งที่มีความสาคัญต่อการศึกษาแนวโน้ม การเติบโตของบริษัทจดทะเบียนโดยหากพบว่าบริษัทจดทะเบียนมีการขยายการลงทุนในกิจการใหม่เป็นครั้งแรก หรือเพิ่มเงินลงทุนเพื่อเพิ่มสัดส่วนการถือครองในกิจการ แสดงให้เห็นว่าบริษัทจดทะเบียนมองเห็นโอกาสใหม่ใน การเติบโต หากเป็นการลงทุนเพิ่มในกิจการเดิมโดยที่ไม่เพิ่มสัดส่วนการถือครองซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากกิจการผู้รับ การลงทุนขอเพิ่มทุน แสดงให้เห็นว่ากิจการเดิมนั้นมีโอกาสเติบโต แต่ในทางกลับกันหากมีการถอนเงินลงทุนซึ่ง อาจจะเกิดจากการขายเงินลงทุน การเลิกกิจการ หรือด้วยเหตุใดก็ตามแสดงให้เห็นว่า กิจการนั้นไม่มีโอกาสเติบโต ในช่วงปี 2549-2557 มูลค่าเงินลงทุนทางตรงในต่างประเทศส่วนใหญ่ทาให้อานาจในการควบคุมกิจการใน ต่างประเทศเพิ่มขึ้น ยกเว้นในปี 2558 มูลค่าเงินลงทุนส่วนใหญ่เป็นการลงทุนต่อเนื่องในกิจการเดิมโดยที่ไม่ทาให้ อานาจในการควบคุมกิจการเปลี่ยนแปลง ในจานวนนี้มีรายการลงทุนขนาดใหญ่มากกว่า 15,000 ล้านบาท 2 รายการที่ลงทุนต่อเนื่องในบริษัทย่อยเดิมของบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) และบริษัท
  • 22. 18 เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จากัด (มหาชน) ในช่วงปี 2549-2554 ไม่พบว่าบริษัทจดทะเบียนถอนเงินลงทุนใน ต่างประเทศ แต่เริ่มพบรายการถอนเงินลงทุนตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมาโดยมีมูลค่ามากที่สุดเกิดขึ้นในปี 2558 รวม ทั้งสิ้น 3.3 หมื่นล้านบาทโดยส่วนใหญ่เป็นการถอนเงินลงทุนของบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จากัด (มหาชน) ที่ ถอนเงินลงทุนจากธุรกิจเหล็กในอังกฤษด้วยมูลค่าประมาณ 2.8 หมื่นล้านบาท (ภาพที่ 12) ด้วยสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่มีความซับซ้อนแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ บริษัทจดทะเบียนจึงเลือก ลงทุนร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจในต่างประเทศมากกว่าการลงทุนเองโดยลาพัง หากประเมินเฉพาะรายการลงทุนที่ ทาให้อานาจในการควบคุมกิจการเพิ่มขึ้นพบว่า บริษัทจดทะเบียนร่วมลงทุนกับพันธมิตรในต่างประเทศด้วยการซื้อ กิจการอื่นทั้งหมด หรือซื้อหุ้นกิจการอื่นบางส่วนโดยกิจการดังกล่าวประกอบกิจการอยู่แล้วในประเทศนั้นมากกว่า การจัดตั้งบริษัทย่อย บริษัทร่วมใหม่ กิจการร่วมค้า หรือสร้างฐานการผลิตด้วยตนเอง (ภาพที่ 13) ภาพที่ 12 มูล ่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปีจาแนกตามผลกระทบต่ออานาจในการ วบ ุมกิจการ (พันล้านบาท) -4 -1 -33 4 4 7 8 22 28 44 41 26 62 11 30 33 36 183 106 152 33 90 24 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 อานาจควบคุมเพิ่มขึ้น อานาจควบคุมไม่ เปลี่ยนแปลง อานาจควบคุมลดลง
  • 23. 19 สาหรับการลงทุนในอาเซียน บริษัทจดทะเบียนเลือกลงทุนด้วยการหาพันธมิตรในต่างประเทศมากกว่าการ ตั้งกิจการเองโดยลาพังเช่นกัน แต่มีสัดส่วนที่น้อยกว่าภาพรวมการลงทุนทั่วโลก โดยการซื้อกิจการอื่นทั้งหมดมี สัดส่วนน้อยกว่าภาพรวมการลงทุนทั่วโลกอย่างเห็นได้ชัด ในขณะที่การลงทุนในอาเซียนมีสัดส่วนมูลค่าเงินลงทุน ในกิจการร่วมค้ามากกว่าภาพรวมการลงทุนทั่วโลก (ภาพที่ 14) 30% 13% 21% 73% 57% 34% 50% 24% 42% 49% 2% 58% 12% 10% 40% 28% 30% 26% 23% 10% 12% 63% 9% 11% 17% 6% 9% 4% 1% 6% 2% 35% 19% 26% 4% 12% 1% 1% 2% 23% 46% 23% 12% 13% 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 สร้างโรงงาน ฐานการผลิต ใหม่เอง ลงทุนในบริษัทร่วม ลงทุนในบริษัทย่อย ลงทุนในกิจการร่วมค้า ซื้อหุ้นกิจการอื่นบางส่วน ซื้อกิจการอื่นทั้งหมด ภาพที่ 13 สัดส่วนมูล ่าเงินลงทุนในต่างประเทศรายปี จาแนกตามวิ ีการลงทุน (คานวณเฉพาะรายการลงทุนที่ส่งผลให้อานาจในการควบคุมกิจการเพิ่มขึ้นเท่านั้น) 1% 7% 8% 47% 30% 14% 10% 27% 1% 51% 1% 14% 25% 14% 34% 57% 81% 32% 21% 22% 18% 8% 57% 25% 22% 14% 41% 6% 8% 26% 1% 13% 14% 28% 4% 12% 6% 13% 1% 1% 2% 0% 2% 9% 71% 43% 10% 14% 29% 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 สร้างโรงงาน ฐานการผลิต ใหม่เอง ลงทุนในบริษัทร่วม ลงทุนในบริษัทย่อย ลงทุนในกิจการร่วมค้า ซื้อหุ้นกิจการอื่นบางส่วน ซื้อกิจการอื่นทั้งหมด ภาพที่ 14 สัดส่วนมูล ่าเงินลงทุนในอาเ ียนรายปีจาแนกตามวิ ีการลงทุน (คานวณเฉพาะรายการลงทุนที่ส่งผลให้อานาจในการควบคุมกิจการเพิ่มขึ้นเท่านั้น)
  • 24. 20 3.4 มูล ่าเงินลงทุนจาแนกตาม นาดบริษัท หากพิจาณามูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศตามขนาดหลักทรัพย์พบว่า บริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม SET50 มี มูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศรวมสูงสุดทุกปี โดยในปี 2558 บริษัทจดทะเบียนในกลุ่ม SET50 มีมูลค่าเงินลงทุน รวม 6 หมื่นล้านบาทซึ่งคิดเป็น 75% ของมูลค่าเงินลงทุนในต่างประเทศ (ไม่รวมมูลค่าการถอนเงินลงทุน) (ภาพที่ 15) ภาพที่ 15 มูล ่าเงินลงทุนสุท ิในต่างประเทศรายปี จาแนกตาม นาดหลักทรัพย์ (พันล้านบาท) 13 28 34 36 160 101 170 51 66 60 35 14 41 13 12 -28 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 SET301+ SET201-300 SET101-200 SET51-100 SET50 16 34 40 45 205 143 198 69 115 52
  • 25. 21 บทที่ 4 รายได้จากต่างประเทศ การลงทุนทางตรงในต่างประเทศ ตลอดจนการส่งออกของบริษัทจดทะเบียนส่งผลให้รายได้จาก ต่างประเทศของบริษัทเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยนิยามของ “รายได้จากต่างประเทศ” หมายถึงรายได้ที่เกิดขึ้นจาก ส่วนของธุรกิจที่ประกอบกิจการในต่างประเทศหรือรายได้จากการส่งออกจากฐานการผลิตในประเทศไทย อย่างไรก็ ตามบริษัทจดทะเบียนบางแห่งอาจแสดงรายได้จาแนกตามภูมิศาสตร์ตามที่ตั้งของลูกค้าโดยบริษัทมีทั้งส่วนงานที่ ประกอบกิจการในต่างประเทศ และการส่งออกจึงไม่สามารถจาแนกประเภทได้ รวมเรียกว่า บริษัทมีรายได้จาก ต่างประเทศ 4.1 รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม รายได้จากต่างประเทศโดยรวมเติบโตอย่างต่อเนื่องมาจนกระทั่งปี 2558 ที่รายได้จากต่างประเทศของ บริษัทจดทะเบียนลดลงจากปีก่อนมาอยู่ที่ 2.39 ล้านล้านบาท ซึ่งลดลง 11.7% จากปีก่อน ทั้งที่มีจานวนบริษัท รายงานข้อมูลรายได้จากต่างประเทศมากกว่าปีก่อนจาก 223 บริษัท เป็น 237 บริษัท หากพิจารณาราย อุตสาหกรรมพบว่า รายได้จากต่างประเทศลดลงในทุกอุตสาหกรรม ยกเว้นกลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร และกลุ่มธุรกิจการเงินที่รายได้จากต่างประเทศเพิ่มขึ้นเล็กน้อย (ภาพที่ 16) ภาพที่ 16รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม (พันล้านบาท) 129 141 211 190 232 285 463 496 522 52868 111 147 138 134 287 502 538 579 461 120 136 144 129 163 188 208 232 283 275 119 139 251 359 454 641 748 891 808 640 156 168 158 128 144 151 162 193 229 222 172 170 189 158 178 186 170 167 218 197 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 Technology Services Resources Property& Construction Industrials Financials Consumer Products Agro & Food Industry 132 143 149 153 153 161 190 220 223 237 จานวนบริษัทที่แสดงรายได้ -11.7% 830 933 1,160 1,148 1,352 1,798 2,310 2,579 2,709 2,393
  • 26. 22 อย่างไรก็ตามหากตัดปัจจัยด้านจานวนบริษัทที่แตกต่างกันในแต่ละปีจึงพิจารณาเฉพาะบริษัทเดิมที่แสดง รายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัทพบว่า รายได้จากต่างประเทศของบริษัทจด ทะเบียนลดลงจากปีก่อนมาอยู่ที่ 1.67 ล้านล้านบาท ซึ่งลดลง 7% จากปีก่อน หากพิจารณารายอุตสาหกรรมพบว่า มี 3 กลุ่มอุตสาหกรรมที่รายได้จากต่างประเทศเติบโตจากปีก่อนเล็กน้อยได้แก่ กลุ่มเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค และกลุ่มธุรกิจการเงิน (ภาพที่ 17) 4.2 อัตราการเติบ ต องรายได้จากต่างประเทศ ในปี 2558 รายได้จากต่างประเทศปรับลดลงจากปีก่อน ในขณะที่รายได้ในประเทศปรับลดลงเช่นกันโดย รายได้ในประเทศลดลง 9% จากปีก่อน หากเปรียบเทียบความสามารถในการเติบโตของรายได้จากต่างประเทศกับ รายได้ในประเทศในปี 2558 พบว่ารายได้จากต่างประเทศมีศักยภาพในการเติบโตสูงกว่าโดยในจานวน 8 กลุ่ม อุตสาหกรรม มี 6 อุตสาหกรรมที่รายได้จากต่างประเทศเติบโตในอัตราที่สูงกว่า หรือลดลงในอัตราที่ต่ากว่ารายได้ ในประเทศ (ภาพที่ 18) กลุ่มอุตสาหกรรมที่รายได้ในปี 2558 ปรับลดลงจากปีก่อนมากที่สุดได้แก่ กลุ่มทรัพยากรที่รายได้จาก ต่างประเทศลดลง 19% และรายได้ในประเทศลดลง 26% (ภาพที่ 18) ซึ่งมีสาเหตุจากราคาน้ามันปรับตัวลดลงมาก ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อรายได้ของบริษัท หากตัดผลกระทบจากบริษัทที่มีรายได้จากน้ามันออก 3 บริษัทพบว่า โดยภาพรวมของบริษัทจานวน 107 บริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 มีรายได้ใน ประเทศลดลง 1% ขณะที่รายได้จากต่างประเทศลดลง 5% และส่งผลให้มี 5 อุตสาหกรรมที่รายได้จากต่างประเทศ เติบโตในอัตราที่สูงกว่า หรือลดลงในอัตราที่ต่ากว่ารายได้ในประเทศ (ภาพที่ 19) ภาพที่ 17รายได้จากต่างประเทศจาแนกตามอุตสาหกรรม (พันล้านบาท) 128 140 162 160 183 228 391 419 445 44733 31 36 35 36 86 117 125 120 243 261 276 295 287 119 135 143 128 160 179 188 199 242 228 103 103 194 182 226 320 354 366 363 296 156 168 156 126 141 147 152 151 180 171 172 169 189 158 178 186 170 166 213 191 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 Technology Services Resources Property& Construction Industrials Financials Consumer Products Agro & Food Industry -7% 788 854 1,006 913 1,046 1,350 1,557 1,625 1,790 1,672 (เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัท)
  • 27. 23 0% 2% 7% -3% -6% -19% -5% -10% 0% -7% 4% 1% -8% -26% -7% 15% Agro & Food Industry Consumer Products Financials Industrials Property& Construction Resources Services Technology รายได้จากต่างประเทศ รายได้ในประเทศ ภาพที่ 18อัตราการเติบ ต องรายได้ องบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ สาหรับปี 2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม (เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัท) รวมทุกอุตสาหกรรม -9%-7% (%YoY) 0% 2% 7% -3% -6% -17% -5% -10% 0% -7% 4% 1% -8% -2% -7% 15% Agro & Food Industry Consumer Products Financials Industrials Property& Construction Resources Services Technology รายได้จากต่างประเทศ รายได้ในประเทศ ภาพที่ 19อัตราการเติบ ต องรายได้ องบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ ไม่รวมบริษัทที่มีรายได้จากนามัน สาหรับปี 2558 จาแนกตามอุตสาหกรรม (เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 107 บริษัท) รวมทุกอุตสาหกรรม -1%-5% (%YoY)
  • 28. 24 หากพิจารณาในระยะยาวในช่วงปี 2549-2558 บริษัทเดิมที่แสดงรายได้ครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัทมีอัตราการเติบโตของรายได้จากต่างประเทศเฉลี่ย 9% ต่อปีซึ่งยังคงสูงกว่าอัตราการเติบโตของ รายได้ในประเทศเฉลี่ย 4% ต่อปี นอกจากนี้อัตราการเติบโตของรายได้จากต่างประเทศสูงกว่ารายได้ในประเทศทุก ปี ยกเว้นปี 2553 ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า ในระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา รายได้จากต่างประเทศมีศักยภาพในการเติบโต สูงกว่ารายได้ในประเทศ (ภาพที่ 20) 4.3 สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวม รายได้จากต่างประเทศมีความสาคัญต่อรายได้รวมของบริษัทจดทะเบียนมากขึ้น จากข้อมูลบริษัทจด ทะเบียนเดิมที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัทพบว่า สัดส่วนรายได้ จากต่างประเทศในปี 2558 เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็น 46% ของรายได้รวม (ภาพที่ 21) หากพิจารณารายอุตสาหกรรม พบว่า เกือบทุกอุตสาหกรรมมีสัดส่วนรายได้จากต่างประเทศในปี 2558 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนเล็กน้อย ยกเว้นกลุ่ม สินค้าอุตสาหกรรม และกลุ่มเทคโนโลยี ที่สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมลดลงเล็กน้อย (ภาพที่ 22) 8% 18% -9% 15% 29% 15% 4% 10% -7% 0% 12% -19% 28% 16% 12% 1% 0% -9% 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 รายได้จากต่างประเทศ รายได้ในประเทศ ภาพที่ 20อัตราการเติบ ต องรายได้ องบริษัทที่มีรายได้จากต่างประเทศ CAGR (2549-2558) 4%9% (เฉพาะบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัท) (%YoY)
  • 29. 25 ภาพที่ 21สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวม 36% 37% 37% 39% 39% 42% 42% 43% 45% 46% 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 (คานวณจากรายได้ของบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 จานวน 110 บริษัท) ภาพที่ 22สัดส่วนรายได้จากต่างประเทศต่อรายได้รวมสาหรับปี 2557-2558 จาแนกรายอุตสาหกรรม 63% 53% 4% 71% 35% 33% 80% 69%63% 55% 4% 70% 36% 35% 81% 64% Agro & Food Industry Consumer Products Financials Industrials Property & Construction Resources Services Technology 2557 2558 (คานวณจากรายได้ของบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558) จานวนบริษัทที่แสดงรายได้จากต่างประเทศครบถ้วนตั้งแต่ปี 2549-2558 ในแต่ละอุตสาหกรรม 22 21 4 30 11 6 4 12
  • 30. 26 บทที่ 5 รายชื่อบริษัทที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ (Economic Exposure Universe) จากการขยายการลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และฐานรายได้ในต่างประเทศที่เติบโตขึ้นสะท้อนให้เห็นว่า บริษัทจดทะเบียนมีโอกาสที่จะเติบโตในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย ไม่จากัดเฉพาะในประเทศไทย ซึ่งเป็นการยกระดับศักยภาพของบริษัทจดทะเบียนไทยอันอาจจะเชื่อมโยงโอกาสในการเติบโตไปยังธุรกิจอื่นที่อยู่ ในห่วงโซ่อุปทานของบริษัทจดทะเบียน ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัทจดทะเบียน การจัดทารายชื่อบริษัทที่ลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ (Economic Exposure Universe) มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีโอกาสทาความเข้าใจเพิ่มเติมถึง ศักยภาพของบริษัทจดทะเบียนที่เกิดขึ้นจากความเชื่อมโยงของบริษัทจดทะเบียนกับเศรษฐกิจต่างประเทศเป็นราย บริษัท บริษัทจดทะเบียนที่ถูกจัดให้อยู่ใน “Global Economic Exposure Universe” หมายถึง บริษัทที่ลงทุน ทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จากต่างประเทศ นอกจากนี้ได้มีการจัดทา Economic Exposure Universe เป็นรายภูมิภาคโดยแบ่งเป็น 2 ภูมิภาคที่เป็นเป้าหมายหลักในการลงทุน ได้แก่ อาเซียน และ กลุ่ม ประเทศ CLMV ซึ่งจะเรียกว่าบริษัทจดทะเบียนใน ASEAN Economic Exposure Universe และ CLMV Economic Exposure Universe สาหรับปี 2558 บริษัทจดทะเบียน 282 บริษัทลงทุนทางตรงในต่างประเทศ และ/หรือมีรายได้จาก ต่างประเทศซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 262 บริษัทในปีก่อน รายชื่อของบริษัทจดทะเบียนดังกล่าวรวบรวมไว้ใน “Global Economic Exposure Universe” ดังมีรายชื่อในภาคผนวก 1 รายชื่อของบริษัทจดทะเบียนใน ASEAN Economic Exposure Universe และ CLMV Economic Exposure Universe สาหรับปี 2558 มีจานวน 167 และ 125 บริษัท ดังมีรายชื่อในภาคผนวก 2 และ 3 ตามลาดับ
  • 31. 27 ภา ผนวก 1 รายชื่อบริษัทจดทะเบียนใน Global Economic Exposure Universe (282 บริษัท) Agro & Food Industry Consumer Products Financials Property & Construction Resources Services Technology APURE AFC AEONTS AH TMD AMATA AKR AAV CCET ASIAN BTNC BAY AJ TNPC AMATAV BANPU AS DELTA BR CPH BBL ALUCON TOPP BJCHI BCP ASIA DRACO BRR CPL BKI AMC TPA CGD CKP BA EIC CBG DSGT CIMBT APCS TPC CK DEMCO BDMS FORTH CFRESH DTCI CNS BAT-3K TSC CPN EARTH BEAUTY HANA CHOTI FANCY FNS CSC TSTH DCC EGCO BEC IEC CM ICC FSS CTW TWP DRT ESSO BH INTUCH CPF JCT GL CWT TYCN EPG GLOW BIGC KCE CPI KYE KBANK EASON VARO GEL GPSC BJC METCO F&D LTX KKP FMT VNT HEMRAJ GUNKUL BTS PT GFPT NC KTB GSTEL WG ITD IFEC CENTEL SAMART ICHI OGC SAWAD GYT LH IRPC CPALL SIM KBS PG SCB HFT MBK LANNA DTC SMT KSL PRANDA TCAP IHL NWR MDX EPCO SPPT KTIS ROCK TK INOX PACE PDI ERW SVI LST S & J TMB IRC PF PTT HMPRO TEAM M SABINA ZMICO IVL POLAR PTTEP JWD THCOM MALEE SAWANG KKC PPP RATCH KAMART TWZ MINT SIAM MCS PS RPC LOXLEY OISHI STHAI MILL Q-CON SCI LRH PB SUC PAP RCI SCN MACO PM TNL PK RML SGP MAJOR PR TOG PMTA S SOLAR MAKRO PRG TPCORP PTL SCC SPRC MC SAPPE TR PTTGC SCCC SUSCO MEGA SAUCE TTI SAM SEAFCO TCC MIDA SFP UPF SAT SIRI TOP MONO SNP UT SITHAI SPALI MPIC SORKON WACOAL SLP SRICHA NOK SSC SMIT STEC PRAKIT SSF SMPC STPI PSL STA SNC TASCO RCL TC SPG TCMC ROBINS TF SSI TFD SHANG TIPCO SSSC TGCI SPC TKN STANLY TICON SPI TLUXE SUTHA TPIPL SVH TRS TCB TRC THAI TRUBB TCOAT TTCL TKS TU TFI UMI TTA TVO TGPRO VNG VGI TWPC THIP WHA WICE UVAN WIIK Industrials
  • 32. 28 ภา ผนวก 2 รายชื่อบริษัทจดทะเบียนใน ASEAN Economic Exposure Universe (167 บริษัท) Agro & Food Industry Consumer Products Financials Industrials Property & Construction Resources Services Technology BR BTNC AEONTS AH AMATA AKR AAV CCET CBG DSGT BAY AMC AMATAV BANPU AS DELTA CHOTI PRANDA BBL CSC CK BCP BA DRACO CM SUC BKI CTW GEL CKP BDMS FORTH CPF TNL CIMBT EASON HEMRAJ DEMCO BEAUTY HANA CPI TOG CNS FMT ITD EARTH BEC IEC F&D TPCORP FSS IHL NWR EGCO BH INTUCH ICHI TR GL IRC PACE GLOW BIGC KCE KSL WACOAL KBANK IVL PS GPSC BJC PT M KTB KKC RML GUNKUL CENTEL SAMART MALEE SAWAD MILL SCC IFEC DTC SIM MINT SCB PK SCCC LANNA ERW SVI OISHI TK PMTA SEAFCO MDX HMPRO TEAM SAPPE TMB PTTGC SIRI PDI JWD THCOM SNP ZMICO SAM SPALI PTT KAMART STA SITHAI STEC PTTEP LOXLEY TC SLP TASCO RATCH LRH TF SPG TICON SCI MACO TKN SSSC TTCL SGP MAJOR TLUXE STANLY WHA SUSCO MAKRO TRUBB SUTHA TCC MC TU TCB TOP MEGA TWPC TOPP MIDA UVAN TPC MONO TYCN MPIC VNT NOK WG PRAKIT PSL RCL ROBINS SHANG SPC SPI SVH THAI TTA
  • 33. 29 ภา ผนวก 3 รายชื่อบริษัทจดทะเบียนใน CLMV Economic Exposure Universe (125 บริษัท) Agro & Food Industry Consumer Products Financials Industrials Property & Construction Resources Services Technology CBG BTNC AEONTS AMC AMATA AKR AAV DELTA CM PRANDA BAY CTW AMATAV BANPU BA DRACO CPF SUC BBL EASON CK CKP BDMS FORTH KSL TOG BKI IRC GEL DEMCO BEAUTY HANA M TR CIMBT IVL HEMRAJ EGCO BEC INTUCH MINT WACOAL CNS MILL ITD GLOW BH PT OISHI FSS PK NWR GPSC BIGC SAMART SNP GL PMTA PS GUNKUL BJC SIM STA KBANK SAM SCC IFEC CENTEL SVI TF KTB SITHAI SCCC MDX JWD THCOM TLUXE SAWAD SLP SEAFCO PDI KAMART TRUBB SCB SPG STEC PTT LOXLEY TU TK SSSC TASCO PTTEP MAJOR TWPC TMB STANLY TTCL RATCH MAKRO ZMICO SUTHA SCI MC TOPP SGP MEGA TPC SUSCO MIDA TYCN TOP MONO WG MPIC NOK PRAKIT RCL ROBINS SHANG SPC SPI SVH THAI TTA
  • 34. 30 ผู้จัดทาและเผยแพร่: ฝ่ายวิจัย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Researchdepartment@set.or.th www.set.or.th/setresearch ผู้วิจัย: ปฐมาภรณ์ นิธิชัย ผู้ช่วยวิจัย: ชัยทิตย์ สนองชาติ ภัทรนิดา ตั้งจิตเจริญ Disclaimer: ข้อมูลที่ปรากฎในเอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นบนพื้นฐานของข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ความรู้และแนวคิดแก่ผู้อ่าน มิใช่การให้คาแนะนาด้านการลงทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมิได้ให้การรับรองใน ความถูกต้องของข้อมูล และไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้น อันเนื่องจากการนาข้อมูลไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่งหรือ ทั้งหมดไปใช้อ้างอิง หรือเผยแพร่ไม่ว่าในลักษณะใด นอกจากนี้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยขอสงวนสิทธิในการ เปลี่ยนแปลง แก้ไข เพิ่มเติมข้อมูลไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดตามหลักเกณฑ์ที่เห็นสมควร