SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
(ราง version 1 630707)
แนวทางใช reflective coaching หนุนเสริมการเรียนรูและวางแผนอนาคต
ผูเขารวมโครงการจางงานเนื่องจากสถานการณโควิด ๑๙
วิจารณ พานิช
................
หลักการ
รัฐบาล โดยกระทรวง อว. มีโครงการจางงานประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการระบาด
ของโรคโควิด ๑๙ และมอบหมายใหมหาวิทยาลัยเปนหนวยงานรับดําเนินการโครงการดวย โดยโครงการ
ระยะที่ ๒ เปนเวลา ๓ เดือน ระหวางเดือน กรกฎาคม - กันยายน ๒๕๖๓
แมจะเปนมาตรการชั่วคราว ในระยะสั้นมาก แตก็ควรบริหารงานใหเกิดผลกระทบสูงสุด ไมใชแค
เพื่อบรรเทาภาวะตกงานเทานั้น นาจะใชวางฐานเพื่ออาชีพที่ดีในอนาคตไดดวย โดยเฉพาะตอผูมีแรง
บันดาลใจและมีศักยภาพ เอกสารนี้มุงเอื้อโอกาสแกผูมีแรงบันดาลใจ และมีความมานะพยายามเหลานั้น
ซึ่งนาจะมีจํานวนไมเกินรอยละ ๕ - ๑๐ ของผูเขารวมโครงการทั้งหมด
การเตรียมขอมูล และใชขอมูล
ตอนปฐมนิเทศผูเขารวมโครงการ ควรมีแบบสอบถามสั้นๆ ถามเปาหมายในชีวิต แผนการประกอบ
อาชีพหลังสิ้นสุดการจางงานในโครงการ และจุดแข็ง (strength) ของตนเอง รวมทั้งมีใบสมัครเขารวม
กิจกรรม group reflective coaching ซึ่งผูสมัครตองจัดเวลาเขารวมนอกเวลางาน และตองมีการคนควา
ทําการบาน สําหรับนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนๆ
ขอมูลเปาหมายชีวิต แผนอาชีพ และจุดแข็ง นี้ จะนํามาใชคัดเลือกคนเขากิจกรรม และจัดกลุม
ทํา group reflective coaching ซึ่งหมายความวา group reflective coaching (GRC) นี้ เขาไดผานการ
สมัครและไดรับการคัดเลือก คนที่ไดเขาโครงการ GRC เปนกลุมคนจํานวนนอยที่ตองการใชเวลา ๓ เดือน
เพื่อการเรียนรูเขมขน และทํางานหนัก สําหรับเตรียมเขาสูการเปนผูประกอบการใหม
ระบบขอมูล
มีระบบขอมูลของผูเขาโครงการทุกคน ใหโคชเขาไปดูไดทุกเมื่อ สวนที่สําคัญคือเปาหมายชีวิต แผน
อาชีพ และจุดแข็ง เมื่อโคชพบผูมีแรงบันดาลใจและความสามารถพิเศษก็เขาไปเพิ่มขอมูลในหัวขอ
“ขอสังเกตของโคช” ได
ขอมูลนี้มีประโยชนตอการทํา individual coaching
ระบบสื่อสาร
ควรมีระบบสื่อสาร online ใหผูเขาโครงการสื่อสารกับโคชไดสะดวก
วิธีการ ๒ แนวทาง
Group coaching ทําในกลุมเล็ก (เชน ๘ - ๑๐ คน) ที่มีเปาหมายคลายคลึงกัน จึงนาจะมีได
หลายกลุมตามเปาหมายการพัฒนาตนเองเปนผูประกอบการรายยอย โดยโคชตั้งคําถามจากประสบการณ
การทํางาน ใหฉุกคิดเขาหาเปาหมายชีวิต และเปาหมายอาชีพในอนาคต ใหเห็นโอกาส หลายคําถามที่ลง
ลึกนาจะยังตอบไมได ตองกลับไปชวยกันคนควา แลวนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูในคราวตอไป นาจะประชุม
สัปดาหละครั้ง ครั้งละ ๑ - ๒ ชั่วโมง นัดกันอยางสม่ําเสมอ อาจเปน online meeting ก็ได
โคชตองไมสอน เนนตั้งคําถาม อาจแนะวาจะคนไดที่ไหน
Individual coaching แบบที่ ๑ เปนการพูดคุยเฉพาะตัว ใหโอกาสแกทุกคนในโครงการ เมื่อ
ผูเขาโครงการมาถาม ซึ่งอาจถามเมื่อพบตัวหรือถาม online โคชนําคําถามมาผสมกับเปาหมายชีวิตและ
เปาหมายอาชีพของผูนั้น แลวถามกลับ ใหเขาหาคําตอบเอง เนนตั้งคําถามที่กระตุกใจใหเกิดแรงบันดาลใจ
เห็นโอกาส ในบางคน (นาจะจํานวนนอยมาก) อาจพบแรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานในชวง ๓
เดือนนี้ ที่จะนําไปสูการเปนผูประกอบการใหม/ นักวิจัยใหม/นักพัฒนาใหม
Individual coaching แบบที่ ๒ ใหโอกาสแกทุกคนในโครงการเขียน reflective journal ลง
เว็บไซต หรือ social media ของโครงการ โดยมีระบบ AI และ/หรือเจาหนาที่ คอยตรวจสอบหาคนที่มีความ
ฝน และความเอาจริงเอาจัง ในการตั้งตัวเปนผูประกอบการรายยอยหลังจบสิ้นโครงการ และแจงใหโคชเขา
ไปโคชรายตัว หรือรวมกลุมคนที่ฝนคลายกัน จัด Group coaching
มี Guideline วิธีเขียน Reflective journal เปนแนวทาง ใหไวบนเว็บไซตของโครงการ และแนะนํา
ตอนปฐมนิเทศ
Reflective journal ทําหนาที่สองอยาง (๑) กระตุนแรงบันดาลใจแกผูเขียน (๒) ชวยใหทีมจัดการ
โครงการคนพบผูมีแรงบันดาลใจสูง มีความมุงมั่น พรอมที่จะทํางานหนัก เพื่อตั้งตัวเปนผูประกอบการรายยอย
เพื่อรวมมือกันทํางานสรางความเขมแข็งใหแก Local economy
วิธีการทํา Reflective coaching
Website Library of Professional Coaching เสนอกระบวนการ reflective coaching ไว ๗
ขั้นตอนคือ
Level 1 นําเสนอขอมูล ผูรับการโคชเก็บขอมูลสําคัญ นํามาเสนอ โคชตั้งคําถามใหขอมูลครบถวน
คมชัด และเชื่อมโยงสูเปาหมาย
Level 2 หาความหมายของขอมูล โคชตั้งคําถามวา ขอมูลนั้นนาสนใจ หรือมีความหมายอยางไร
ใหผูรับการโคชตอบ
Level 3 ขุดหาความหมายที่ลึกและจําเพาะ โดยโคชตั้งคําถามใหผูรับการโคชตอบ
Level 4 ขุดหาสมมติฐาน หรือชุดความคิด ที่อยูเบื้องหลังความหมายนั้น โคชตั้งคําถามวาทําไม
ผูรับการโคชจึงมีความเห็นหรือวิธีมองคุณคาเชนนั้น
Level 5 หาขอสรุป เพื่อนําไปดําเนินการ โดยโคชตั้งคําถามใหผูรับการโคชสรุป หาขอยุติ วาจะ
กลับไปทําอะไร
Level 6 เจาะลึกทําความเขาใจความเชื่อ โดยโคชตั้งคําถามวา ทําไมผูรับการโคชจึงสรุปเชนนั้น
Level 7 ปฏิบัติการ ตามดวย AAR (After Action Review) ซึ่งผมขอเสนอใหโคชตั้งคําถาม ๕
ขอคือ
(๑) เปาหมายของปฏิบัติการนั้นคืออะไรบาง
(๒) เปาหมายขอใดบรรลุผลดีเกินคาด เพราะอะไร
(๓) เปาหมายขอใดบรรลุผลนอยหรือไมบรรลุ เพราะอะไร
(๔) หากจะทํางานนั้นซ้ํา จะทําตางจากเดิมอยางไรบาง
(๕) ไดความรูอะไรบาง สําหรับนําไปใชประโยชนอะไร
การทํา Reflective coaching พึงปรับตามเปาหมายที่ตองการ หากตองการจับประเด็นเรียนรูสูการ
วางแผนธุรกิจเล็กๆ ในอนาคต ตองมีการปรับขั้นตอนขางบน รวมทั้งปรับคําถาม ไมจําเปนตองดําเนินการ
ตาม ๗ ขั้นตอนขางบน แตประยุกตใชแนวคิดและวิธีการเพื่อกระตุนใหผูรับการโคชคิดอยางเปนระบบ อยาง
มีขอมูลหลักฐานสนับสนุน และคิดอยางลึก
ตัวอยางคําถาม ในกรณีโคชชิ่งเพื่อมองหาธุรกิจเล็กๆ ในอนาคต
• งานที่ทําในโครงการคืออะไร ผลงานเปนอะไร ไดเรียนรูอะไรบางจากการทํางาน
ตลาดของผลผลิตเปนอยางไร ผูบริโภคคือใคร
• มองเห็นลูทางที่จะผลิตผลงานนั้นใหมีคุณภาพสูงกวาในปจจุบันหรือไม ทําไดยากไหม
ขอใหเสนอขอมูลหลักฐานสนับสนุน
• มองเห็นตลาดพิเศษ หรือกลุมผูบริโภคพิเศษ สําหรับสินคา หรือบริการนั้นหรือไม
ขอใหเสนอขอมูลหลักฐานสนับสนุน
• หากเห็น กลุมผูบริโภคพิเศษกลุมนั้นตองการบริโภคสินคาที่มีลักษณะพิเศษอยางไร
ขอใหเสนอขอมูลหลักฐานสนับสนุน
• มีแนวทางพัฒนาการผลิตสินคา หรือพัฒนาบริการ นั้นๆ อยางไรบาง
• อื่นๆ
ผมไมมีความสันทัดเรื่องธุรกิจ และเรื่องราวในพื้นที่ ทานที่นําแนวคิดนี้ไปใชพึงปรับใชตาม
ความเหมาะสม
กรณีโคชชิ่งเพื่อสรางแรงบันดาลใจนักวิจัยเพื่อทองถิ่นรุนใหม = ผูรับจางงาน ฝกเก็บขอมูล
รวมกับ CBR Node และ CBR Project
กรณีโคชชิ่งเพื่อสรางแรงบันดาลใจนักพัฒนารุนใหม = ผูรับจางงานเก็บขอมูล โครงการแกปญหา
ฝุนควันจากฐานชุมชน-ทองถิ่น / โครงการกําหนดเขตปาชุมชนแบบมีสวนรวม
แนวทางวิธีเขียน reflective journal
เว็บไซต Journey.cloud แนะนําหลักการและวิธีการเขียน reflective journal อยางดีมาก อานไดที่
(๑) จะเห็นวา reflective journal มีมากมายหลายชนิด เพื่อเปาหมายที่แตกตางกัน แตในกรณี reflective
journal ของโครงการฯ เนนการเรียนรูจากการทํางานในโครงการฯ เชื่อมโยงสูจินตนาการในการริเริ่มกิจการ
ธุรกิจใหม ที่เปน start-up /
แนวทางเขียน reflective journal และการทํา reflective coaching ในโครงการจึงตองออกแบบ
และจัดการเพื่อเปาหมายดังกลาว จึงควรออกแบบโดยทีมโคชหรือทีมพี่เลี้ยงของโครงการ
...................................

Contenu connexe

Similaire à Eflective coachingver1 630707

แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกSomchart Phaeumnart
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshopinanza
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบsomporn Isvilanonda
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มพัน พัน
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์krutukSlide
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ณิชกานต์ แจ้งสว่าง
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ณิชกานต์ แจ้งสว่าง
 

Similaire à Eflective coachingver1 630707 (20)

แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshop
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 

Plus de Pattie Pattie

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
 

Plus de Pattie Pattie (20)

สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
 

Eflective coachingver1 630707

  • 1. (ราง version 1 630707) แนวทางใช reflective coaching หนุนเสริมการเรียนรูและวางแผนอนาคต ผูเขารวมโครงการจางงานเนื่องจากสถานการณโควิด ๑๙ วิจารณ พานิช ................ หลักการ รัฐบาล โดยกระทรวง อว. มีโครงการจางงานประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากสถานการณการระบาด ของโรคโควิด ๑๙ และมอบหมายใหมหาวิทยาลัยเปนหนวยงานรับดําเนินการโครงการดวย โดยโครงการ ระยะที่ ๒ เปนเวลา ๓ เดือน ระหวางเดือน กรกฎาคม - กันยายน ๒๕๖๓ แมจะเปนมาตรการชั่วคราว ในระยะสั้นมาก แตก็ควรบริหารงานใหเกิดผลกระทบสูงสุด ไมใชแค เพื่อบรรเทาภาวะตกงานเทานั้น นาจะใชวางฐานเพื่ออาชีพที่ดีในอนาคตไดดวย โดยเฉพาะตอผูมีแรง บันดาลใจและมีศักยภาพ เอกสารนี้มุงเอื้อโอกาสแกผูมีแรงบันดาลใจ และมีความมานะพยายามเหลานั้น ซึ่งนาจะมีจํานวนไมเกินรอยละ ๕ - ๑๐ ของผูเขารวมโครงการทั้งหมด การเตรียมขอมูล และใชขอมูล ตอนปฐมนิเทศผูเขารวมโครงการ ควรมีแบบสอบถามสั้นๆ ถามเปาหมายในชีวิต แผนการประกอบ อาชีพหลังสิ้นสุดการจางงานในโครงการ และจุดแข็ง (strength) ของตนเอง รวมทั้งมีใบสมัครเขารวม กิจกรรม group reflective coaching ซึ่งผูสมัครตองจัดเวลาเขารวมนอกเวลางาน และตองมีการคนควา ทําการบาน สําหรับนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนๆ ขอมูลเปาหมายชีวิต แผนอาชีพ และจุดแข็ง นี้ จะนํามาใชคัดเลือกคนเขากิจกรรม และจัดกลุม ทํา group reflective coaching ซึ่งหมายความวา group reflective coaching (GRC) นี้ เขาไดผานการ สมัครและไดรับการคัดเลือก คนที่ไดเขาโครงการ GRC เปนกลุมคนจํานวนนอยที่ตองการใชเวลา ๓ เดือน เพื่อการเรียนรูเขมขน และทํางานหนัก สําหรับเตรียมเขาสูการเปนผูประกอบการใหม ระบบขอมูล มีระบบขอมูลของผูเขาโครงการทุกคน ใหโคชเขาไปดูไดทุกเมื่อ สวนที่สําคัญคือเปาหมายชีวิต แผน อาชีพ และจุดแข็ง เมื่อโคชพบผูมีแรงบันดาลใจและความสามารถพิเศษก็เขาไปเพิ่มขอมูลในหัวขอ “ขอสังเกตของโคช” ได ขอมูลนี้มีประโยชนตอการทํา individual coaching
  • 2. ระบบสื่อสาร ควรมีระบบสื่อสาร online ใหผูเขาโครงการสื่อสารกับโคชไดสะดวก วิธีการ ๒ แนวทาง Group coaching ทําในกลุมเล็ก (เชน ๘ - ๑๐ คน) ที่มีเปาหมายคลายคลึงกัน จึงนาจะมีได หลายกลุมตามเปาหมายการพัฒนาตนเองเปนผูประกอบการรายยอย โดยโคชตั้งคําถามจากประสบการณ การทํางาน ใหฉุกคิดเขาหาเปาหมายชีวิต และเปาหมายอาชีพในอนาคต ใหเห็นโอกาส หลายคําถามที่ลง ลึกนาจะยังตอบไมได ตองกลับไปชวยกันคนควา แลวนํามาแลกเปลี่ยนเรียนรูในคราวตอไป นาจะประชุม สัปดาหละครั้ง ครั้งละ ๑ - ๒ ชั่วโมง นัดกันอยางสม่ําเสมอ อาจเปน online meeting ก็ได โคชตองไมสอน เนนตั้งคําถาม อาจแนะวาจะคนไดที่ไหน Individual coaching แบบที่ ๑ เปนการพูดคุยเฉพาะตัว ใหโอกาสแกทุกคนในโครงการ เมื่อ ผูเขาโครงการมาถาม ซึ่งอาจถามเมื่อพบตัวหรือถาม online โคชนําคําถามมาผสมกับเปาหมายชีวิตและ เปาหมายอาชีพของผูนั้น แลวถามกลับ ใหเขาหาคําตอบเอง เนนตั้งคําถามที่กระตุกใจใหเกิดแรงบันดาลใจ เห็นโอกาส ในบางคน (นาจะจํานวนนอยมาก) อาจพบแรงบันดาลใจที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานในชวง ๓ เดือนนี้ ที่จะนําไปสูการเปนผูประกอบการใหม/ นักวิจัยใหม/นักพัฒนาใหม Individual coaching แบบที่ ๒ ใหโอกาสแกทุกคนในโครงการเขียน reflective journal ลง เว็บไซต หรือ social media ของโครงการ โดยมีระบบ AI และ/หรือเจาหนาที่ คอยตรวจสอบหาคนที่มีความ ฝน และความเอาจริงเอาจัง ในการตั้งตัวเปนผูประกอบการรายยอยหลังจบสิ้นโครงการ และแจงใหโคชเขา ไปโคชรายตัว หรือรวมกลุมคนที่ฝนคลายกัน จัด Group coaching มี Guideline วิธีเขียน Reflective journal เปนแนวทาง ใหไวบนเว็บไซตของโครงการ และแนะนํา ตอนปฐมนิเทศ Reflective journal ทําหนาที่สองอยาง (๑) กระตุนแรงบันดาลใจแกผูเขียน (๒) ชวยใหทีมจัดการ โครงการคนพบผูมีแรงบันดาลใจสูง มีความมุงมั่น พรอมที่จะทํางานหนัก เพื่อตั้งตัวเปนผูประกอบการรายยอย เพื่อรวมมือกันทํางานสรางความเขมแข็งใหแก Local economy วิธีการทํา Reflective coaching Website Library of Professional Coaching เสนอกระบวนการ reflective coaching ไว ๗ ขั้นตอนคือ Level 1 นําเสนอขอมูล ผูรับการโคชเก็บขอมูลสําคัญ นํามาเสนอ โคชตั้งคําถามใหขอมูลครบถวน คมชัด และเชื่อมโยงสูเปาหมาย
  • 3. Level 2 หาความหมายของขอมูล โคชตั้งคําถามวา ขอมูลนั้นนาสนใจ หรือมีความหมายอยางไร ใหผูรับการโคชตอบ Level 3 ขุดหาความหมายที่ลึกและจําเพาะ โดยโคชตั้งคําถามใหผูรับการโคชตอบ Level 4 ขุดหาสมมติฐาน หรือชุดความคิด ที่อยูเบื้องหลังความหมายนั้น โคชตั้งคําถามวาทําไม ผูรับการโคชจึงมีความเห็นหรือวิธีมองคุณคาเชนนั้น Level 5 หาขอสรุป เพื่อนําไปดําเนินการ โดยโคชตั้งคําถามใหผูรับการโคชสรุป หาขอยุติ วาจะ กลับไปทําอะไร Level 6 เจาะลึกทําความเขาใจความเชื่อ โดยโคชตั้งคําถามวา ทําไมผูรับการโคชจึงสรุปเชนนั้น Level 7 ปฏิบัติการ ตามดวย AAR (After Action Review) ซึ่งผมขอเสนอใหโคชตั้งคําถาม ๕ ขอคือ (๑) เปาหมายของปฏิบัติการนั้นคืออะไรบาง (๒) เปาหมายขอใดบรรลุผลดีเกินคาด เพราะอะไร (๓) เปาหมายขอใดบรรลุผลนอยหรือไมบรรลุ เพราะอะไร (๔) หากจะทํางานนั้นซ้ํา จะทําตางจากเดิมอยางไรบาง (๕) ไดความรูอะไรบาง สําหรับนําไปใชประโยชนอะไร การทํา Reflective coaching พึงปรับตามเปาหมายที่ตองการ หากตองการจับประเด็นเรียนรูสูการ วางแผนธุรกิจเล็กๆ ในอนาคต ตองมีการปรับขั้นตอนขางบน รวมทั้งปรับคําถาม ไมจําเปนตองดําเนินการ ตาม ๗ ขั้นตอนขางบน แตประยุกตใชแนวคิดและวิธีการเพื่อกระตุนใหผูรับการโคชคิดอยางเปนระบบ อยาง มีขอมูลหลักฐานสนับสนุน และคิดอยางลึก ตัวอยางคําถาม ในกรณีโคชชิ่งเพื่อมองหาธุรกิจเล็กๆ ในอนาคต • งานที่ทําในโครงการคืออะไร ผลงานเปนอะไร ไดเรียนรูอะไรบางจากการทํางาน ตลาดของผลผลิตเปนอยางไร ผูบริโภคคือใคร • มองเห็นลูทางที่จะผลิตผลงานนั้นใหมีคุณภาพสูงกวาในปจจุบันหรือไม ทําไดยากไหม ขอใหเสนอขอมูลหลักฐานสนับสนุน • มองเห็นตลาดพิเศษ หรือกลุมผูบริโภคพิเศษ สําหรับสินคา หรือบริการนั้นหรือไม ขอใหเสนอขอมูลหลักฐานสนับสนุน • หากเห็น กลุมผูบริโภคพิเศษกลุมนั้นตองการบริโภคสินคาที่มีลักษณะพิเศษอยางไร ขอใหเสนอขอมูลหลักฐานสนับสนุน • มีแนวทางพัฒนาการผลิตสินคา หรือพัฒนาบริการ นั้นๆ อยางไรบาง
  • 4. • อื่นๆ ผมไมมีความสันทัดเรื่องธุรกิจ และเรื่องราวในพื้นที่ ทานที่นําแนวคิดนี้ไปใชพึงปรับใชตาม ความเหมาะสม กรณีโคชชิ่งเพื่อสรางแรงบันดาลใจนักวิจัยเพื่อทองถิ่นรุนใหม = ผูรับจางงาน ฝกเก็บขอมูล รวมกับ CBR Node และ CBR Project กรณีโคชชิ่งเพื่อสรางแรงบันดาลใจนักพัฒนารุนใหม = ผูรับจางงานเก็บขอมูล โครงการแกปญหา ฝุนควันจากฐานชุมชน-ทองถิ่น / โครงการกําหนดเขตปาชุมชนแบบมีสวนรวม แนวทางวิธีเขียน reflective journal เว็บไซต Journey.cloud แนะนําหลักการและวิธีการเขียน reflective journal อยางดีมาก อานไดที่ (๑) จะเห็นวา reflective journal มีมากมายหลายชนิด เพื่อเปาหมายที่แตกตางกัน แตในกรณี reflective journal ของโครงการฯ เนนการเรียนรูจากการทํางานในโครงการฯ เชื่อมโยงสูจินตนาการในการริเริ่มกิจการ ธุรกิจใหม ที่เปน start-up / แนวทางเขียน reflective journal และการทํา reflective coaching ในโครงการจึงตองออกแบบ และจัดการเพื่อเปาหมายดังกลาว จึงควรออกแบบโดยทีมโคชหรือทีมพี่เลี้ยงของโครงการ ...................................