SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1
สรุปผลการจัดอบรมการสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา (Dialogic Teaching)”
อาจารย์มหาวิทยาลัยและนักศึกษาโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น
โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน
1. สรุปเป้าหมายเเละกิจกรรมการอบรม
เพื่อสร้างความเข้าใจและทักษะในการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสอนเสวนา
ให้กับคณาจารย์จำนวน 38 ท่านและนักศึกษาครูรักษ์ถิ่นรุ่นที่ 1 จำนวน 328 คน อบรมทั้งหมด 4 รุ่น
• รุ่นที่ 1 คณาจารย์ 29 พ.ย. – 3 ธ.ค. 2565
• รุ่นที่ 2 นักศึกษากลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5- 8 ธ.ค. 2565
• รุ่นที่ 3 นักศึกษากลุ่มภาคเหนือ 10 - 13 ธ.ค. 2565
• รุ่นที่ 4 นักศึกษากลุ่มภาคเหนือ 15 - 18 ธ.ค. 2565
2. จุดมุ่งหมายของการจัดอบรม
1) เปิดโอกาสให้อาจารย์มหาวิทยาลัยและนักศึกษาโครงการครูรักษ์ถิ่นได้รับทราบ เข้าใจ และให้คุณค่ากับ
เทคนิคการสอนเสวนาเพื่อพัฒนาคุณภาพของการสนทนาในห้องเรียน ให้มีการคิดอย่างลึกซึ้งและพัฒนา
ผลลัพธ์การเรียนรู้
2) เน้นถึงหลักการของการสอนเสวนา
3) ค้นหาวิธีสร้างวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอื้อต่อการพูดคุยแบบมีคุณภาพในห้องเรียน
4) ค้นหาว่าเหตุใดการเสวนาถึงมีความสำคัญและมีความแตกต่างจากการพูดคุยแบบธรรมดาทั่วไปใน
ห้องเรียน กล่าวคือ การเสวนาไม่ใช่การเห็นด้วยกับความคิดเห็นของผู้อื่นเสมอ (ซึ่งมักเกิดขึ้นในการสอน
โดยทั่วไป) แต่เป็นการร่วมมือกันเพื่อให้เข้าใจในประเด็นและความคิดของแต่ละฝ่าย
5) ส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมได้รับประสบการณ์จริงในการค้นหาเทคนิคการสอนเสวนาที่หลากหลาย และ
สามารถนำไปใช้ในห้องเรียนของตนเองได้
6) เปิดโอกาสในการคิดว่าการสอนเสวนาสามารถใช้เป็นเทคนิคในการสอนข้ามสาขาวิชาได้อย่างไร รวมถึง
วิธีการส่งเสริมให้เด็กพูดเป็นเชิงเสวนามากขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพการคิดและความเข้าใจในประเด็น
ต่าง ๆ
7) ส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมนำการเรียนรู้ไปปฏิบัติผ่านการออกแบบและการนำเสนอบทเรียนที่เน้น
องค์ประกอบเฉพาะของการสอนเสวนา
8) เน้นถึงงานวิจัยระดับนานาชาติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการคิดเพิ่มเติมและการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง
9) ควรเน้นย้ำว่าการประชุมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้มีความเข้มข้นมากกว่าการประชุมเชิงปฏิบัติการในเดือน
พฤษภาคมและต้องการให้ผู้เข้าอบรมตั้งใจและใช้สมาธิเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ควรแจ้งให้ผู้เข้าอบรม
เข้าใจจุดมุ่งหมายดังกล่าวตั้งแต่ตอนเริ่มกิจกรรม
2
10) คาดหวังให้ผู้เข้าอบรมรู้จักการจัดการตนเองและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้
เป็นไปตามความคาดหวัง ผู้เข้าอบรมจำเป็นต้องมีความตั้งใจ จดจ่อกับกิจกรรมและมีระเบียบวินัยใน
ตัวเอง
11) ระหว่างการจัดเวิร์กช็อปวิทยากรควรให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ราบรื่น สร้างพื้นที่ผู้เข้า
อบรมได้ปฏิบัติกิจกรรมโดยมีการหยุดชะงักน้อยที่สุด ฉะนั้นวิทยากรจําเป็นต้องแก้ไขปัญหาเมื่อผู้เข้า
อบรมตีความคำสั่งในการทำกิจกรรมผิด โดยไม่ทำให้การทำกิจกรรมเกิดการชะงักหรือชะงักน้อยที่สุด
3. สรุปผลการจัดอบรม เเละเเนวทางการพัฒนานักศึกษาเเกนนำ
พัฒนานักศึกษาแกนนำ 2 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มที่ 1 : แกนนำกระบวนกรสำหรับการทำ PLC ออนไลน์ จำนวน 26 คน
กลุ่มที่ 2 แกนนำ กระบวนกรสำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 22 คน
4. หลักการของการสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา (Dialogic Teaching)ซึ่งสอดคล้องกับโมเดล
High Functioning Classroom อย่างมีประสิทธิภาพ) มีดังนี้
1) ความร่วมมือ (Collective) (ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ร่วมกัน)
2) การแลกเปลี่ยนมุมมอง (Reciprocal) (ผู้เข้าอบรมรับฟังซึ่งกันและกัน แบ่งปันความคิด และพิจารณา
แง่มุมอื่นที่เป็นไปได้)
3) การสนับสนุน (Supportive) (ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องรู้สึกกังวลกับ
คำตอบที่ 'ผิด' และช่วยกันทำความเข้าใจแต่ละประเด็นโดยเห็นภาพเดียวกัน)
4) การต่อยอดหรือสั่งสม (Cumulative) (ผู้เข้าอบรมรับฟังความคิดของผู้อื่นและช่วยกันคิดต่อยอด
เพื่อรวบรวมทุกความคิดเป็นแนวทางเดียวกัน)
5) การมีจุดมุ่งหมาย (Purposeful) (การพูดคุยในชั้นเรียนแม้จะเปิดกว้างและคล้ายการเสวนา แต่มีการวาง
รูปแบบของการพูดคุยไว้อย่างมีเป้าหมายในการเรียนรู้ของแต่ละคาบ)
กฎการเรียนรู้ที่ดีร่วมกัน และกฎของการพูดคุยที่ดีในห้องเรียน (Rules of Good Classroom Talk)
1) ให้ความสนใจและพัฒนาความคิด
2) แบ่งปันความคิดและความรู้สึก
3) เมื่อไม่เห็นด้วย ถามคำถามเพื่อที่จะพยายามทำความเข้าใจมุมมองของคนอื่น
4) ถามคำถามถ้าคุณไม่เข้าใจหรือคิดไม่ออก
5) ถามความคิดคิดเห็นคนที่เงียบ ๆ
6) ให้เหตุผลกับสิ่งที่เราคิด
7) หากเริ่มมีอารมณ์โกรธหรือหงุดหงิด ทำใจให้เย็นให้อารมณ์เหล่านั้นหายไปก่อนที่จะพูด
8) ฟังอย่างตั้งใจ เมื่อผู้อื่นพูดและสะท้อนคิดจากสิ่งที่เพื่อนพูด และพยายามเชื่อมโยงความคิดและ
ประสบการณ์ของผู้อื่นในวงสนทนา
9) แสดงหลักฐานยืนยันสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง
10) เต็มใจที่จะเปลี่ยนแปลงความคิด ยอมรับความผิดพลาดและพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงมุมมอง
3
11) เปิดเผยความรู้สึก
12) สังเกตการณ์พูดของตัวเอง ไม่ให้มากเกินไปและเปิดพื้นที่ให้ผู้อื่นแสดงความคิดเห็นอยู่ตลอด
5. ข้อค้นพบหรือข้อสะท้อนคิดการวิทยากร cce เเละวิทยากรไทย
ภาพรวมพบว่า นักศึกษามีความมั่นใจในตัวเองเพิ่มมากขึ้น การแสดงความคิดเห็นมีคุณภาพมาก
การทำงานร่วมกันเป็นทีมทำได้ดี ในกิจกรรมการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางการสอนเสวนานั้น
พบว่านักศึกษาออกแบบได้ระดับหนึ่ง แต่พบว่า บางกิจกรรมนั้น ยังคงใช้วิธีการที่ง่าย และขาดความลึกซึ้งของ
กระบวนการ แต่อย่างไรก็ตามวิทยากรได้เสนอแนะและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับนักศึกษา
นอกจากนั้นเราพบว่า นักศึกษาทุกคน มีความสามารถในการนำกระบวนการการจัดการเรียนรู้ได้ แต่สิ่งที่
ยังคงต้องพัฒนาต่อไปคือ ทักษะการเป็นกระบวนกร หรือการ โค้ชระหว่างการทำกิจกรรม เราพบว่า นักศึกษา
ยังต้องการพัฒนาทักษะในกระบวนการโค้ชหรือการถามเพื่อการกระตุ้นคิดมากขึ้น เราพบว่า นักศึกษาหลาย
คนเข้าใจวิธีการสอนแบบเสวนาและใช้เทคนิคการสร้างบทสนทนาที่ดีมากขึ้น นอกจากนี้แล้ว กระบวนกร
นักศึกษายังทำยังได้เป็นอย่างดี เป็นตัวอย่างที่ดีและแรงบันดาลใจที่ดี รวมถึงสามารถกระตุ้นเพื่อนนักศึกษาได้
ดีในการร่วมกิจกรรม
6. กิจกรรมในระยะต่อไป
1) กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning Community) มีการ
ออกแบบให้นักศึกษาได้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางการสอนเสวนา และบันทึกเป็นวิดีโอ
ไว้คนละ 10 นาที เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นกลุ่มย่อย เพื่อพัฒนาการสอนตามแนวทางการ
สอนเสวนา โดยจะจัดช่วงเดือนมกราคม 2566
2) กิจกรรมการศึกษาแบบพหุภาษา โดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน (Mother Tongue Based Multilingual
Education: MTBMLE คณะทำงานจาก CCE ประชุมร่วมกับ องค์กรที่ประสบการณ์สอนภาษาแม่เป็น
ฐานในประเทศไทยและอยู่ระหว่างการออกแบบกิจกรรม

More Related Content

Similar to สรุปผลการจัดอบรม.pdf

รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siripornsiriporn9915
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..Kroo Per Ka Santos
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา Sireetorn Buanak
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้sitharukkhiansiri
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 

Similar to สรุปผลการจัดอบรม.pdf (20)

55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siriporn
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
14 may20121336982838215552ตัวอย่างโ..
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
เป้าหมายการปฏิรูปการศึกษา มุ่งยกระดับมาตรฐานการศึกษา
 
Flipped Learning-Research
Flipped Learning-ResearchFlipped Learning-Research
Flipped Learning-Research
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

สรุปผลการจัดอบรม.pdf

  • 1. 1 สรุปผลการจัดอบรมการสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา (Dialogic Teaching)” อาจารย์มหาวิทยาลัยและนักศึกษาโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น โครงการสนับสนุนกลไกการพัฒนาครูเพื่อเสริมสร้างคุณภาพของทักษะการสอน 1. สรุปเป้าหมายเเละกิจกรรมการอบรม เพื่อสร้างความเข้าใจและทักษะในการออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการสอนเสวนา ให้กับคณาจารย์จำนวน 38 ท่านและนักศึกษาครูรักษ์ถิ่นรุ่นที่ 1 จำนวน 328 คน อบรมทั้งหมด 4 รุ่น • รุ่นที่ 1 คณาจารย์ 29 พ.ย. – 3 ธ.ค. 2565 • รุ่นที่ 2 นักศึกษากลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5- 8 ธ.ค. 2565 • รุ่นที่ 3 นักศึกษากลุ่มภาคเหนือ 10 - 13 ธ.ค. 2565 • รุ่นที่ 4 นักศึกษากลุ่มภาคเหนือ 15 - 18 ธ.ค. 2565 2. จุดมุ่งหมายของการจัดอบรม 1) เปิดโอกาสให้อาจารย์มหาวิทยาลัยและนักศึกษาโครงการครูรักษ์ถิ่นได้รับทราบ เข้าใจ และให้คุณค่ากับ เทคนิคการสอนเสวนาเพื่อพัฒนาคุณภาพของการสนทนาในห้องเรียน ให้มีการคิดอย่างลึกซึ้งและพัฒนา ผลลัพธ์การเรียนรู้ 2) เน้นถึงหลักการของการสอนเสวนา 3) ค้นหาวิธีสร้างวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่เอื้อต่อการพูดคุยแบบมีคุณภาพในห้องเรียน 4) ค้นหาว่าเหตุใดการเสวนาถึงมีความสำคัญและมีความแตกต่างจากการพูดคุยแบบธรรมดาทั่วไปใน ห้องเรียน กล่าวคือ การเสวนาไม่ใช่การเห็นด้วยกับความคิดเห็นของผู้อื่นเสมอ (ซึ่งมักเกิดขึ้นในการสอน โดยทั่วไป) แต่เป็นการร่วมมือกันเพื่อให้เข้าใจในประเด็นและความคิดของแต่ละฝ่าย 5) ส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมได้รับประสบการณ์จริงในการค้นหาเทคนิคการสอนเสวนาที่หลากหลาย และ สามารถนำไปใช้ในห้องเรียนของตนเองได้ 6) เปิดโอกาสในการคิดว่าการสอนเสวนาสามารถใช้เป็นเทคนิคในการสอนข้ามสาขาวิชาได้อย่างไร รวมถึง วิธีการส่งเสริมให้เด็กพูดเป็นเชิงเสวนามากขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพการคิดและความเข้าใจในประเด็น ต่าง ๆ 7) ส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมนำการเรียนรู้ไปปฏิบัติผ่านการออกแบบและการนำเสนอบทเรียนที่เน้น องค์ประกอบเฉพาะของการสอนเสวนา 8) เน้นถึงงานวิจัยระดับนานาชาติที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการคิดเพิ่มเติมและการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง 9) ควรเน้นย้ำว่าการประชุมเชิงปฏิบัติการในครั้งนี้มีความเข้มข้นมากกว่าการประชุมเชิงปฏิบัติการในเดือน พฤษภาคมและต้องการให้ผู้เข้าอบรมตั้งใจและใช้สมาธิเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้ควรแจ้งให้ผู้เข้าอบรม เข้าใจจุดมุ่งหมายดังกล่าวตั้งแต่ตอนเริ่มกิจกรรม
  • 2. 2 10) คาดหวังให้ผู้เข้าอบรมรู้จักการจัดการตนเองและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้ เป็นไปตามความคาดหวัง ผู้เข้าอบรมจำเป็นต้องมีความตั้งใจ จดจ่อกับกิจกรรมและมีระเบียบวินัยใน ตัวเอง 11) ระหว่างการจัดเวิร์กช็อปวิทยากรควรให้ความสำคัญกับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้ราบรื่น สร้างพื้นที่ผู้เข้า อบรมได้ปฏิบัติกิจกรรมโดยมีการหยุดชะงักน้อยที่สุด ฉะนั้นวิทยากรจําเป็นต้องแก้ไขปัญหาเมื่อผู้เข้า อบรมตีความคำสั่งในการทำกิจกรรมผิด โดยไม่ทำให้การทำกิจกรรมเกิดการชะงักหรือชะงักน้อยที่สุด 3. สรุปผลการจัดอบรม เเละเเนวทางการพัฒนานักศึกษาเเกนนำ พัฒนานักศึกษาแกนนำ 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 : แกนนำกระบวนกรสำหรับการทำ PLC ออนไลน์ จำนวน 26 คน กลุ่มที่ 2 แกนนำ กระบวนกรสำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 22 คน 4. หลักการของการสอนแบบสานเสวนาหรือสอนเสวนา (Dialogic Teaching)ซึ่งสอดคล้องกับโมเดล High Functioning Classroom อย่างมีประสิทธิภาพ) มีดังนี้ 1) ความร่วมมือ (Collective) (ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ร่วมกัน) 2) การแลกเปลี่ยนมุมมอง (Reciprocal) (ผู้เข้าอบรมรับฟังซึ่งกันและกัน แบ่งปันความคิด และพิจารณา แง่มุมอื่นที่เป็นไปได้) 3) การสนับสนุน (Supportive) (ผู้เข้าอบรมแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระโดยไม่ต้องรู้สึกกังวลกับ คำตอบที่ 'ผิด' และช่วยกันทำความเข้าใจแต่ละประเด็นโดยเห็นภาพเดียวกัน) 4) การต่อยอดหรือสั่งสม (Cumulative) (ผู้เข้าอบรมรับฟังความคิดของผู้อื่นและช่วยกันคิดต่อยอด เพื่อรวบรวมทุกความคิดเป็นแนวทางเดียวกัน) 5) การมีจุดมุ่งหมาย (Purposeful) (การพูดคุยในชั้นเรียนแม้จะเปิดกว้างและคล้ายการเสวนา แต่มีการวาง รูปแบบของการพูดคุยไว้อย่างมีเป้าหมายในการเรียนรู้ของแต่ละคาบ) กฎการเรียนรู้ที่ดีร่วมกัน และกฎของการพูดคุยที่ดีในห้องเรียน (Rules of Good Classroom Talk) 1) ให้ความสนใจและพัฒนาความคิด 2) แบ่งปันความคิดและความรู้สึก 3) เมื่อไม่เห็นด้วย ถามคำถามเพื่อที่จะพยายามทำความเข้าใจมุมมองของคนอื่น 4) ถามคำถามถ้าคุณไม่เข้าใจหรือคิดไม่ออก 5) ถามความคิดคิดเห็นคนที่เงียบ ๆ 6) ให้เหตุผลกับสิ่งที่เราคิด 7) หากเริ่มมีอารมณ์โกรธหรือหงุดหงิด ทำใจให้เย็นให้อารมณ์เหล่านั้นหายไปก่อนที่จะพูด 8) ฟังอย่างตั้งใจ เมื่อผู้อื่นพูดและสะท้อนคิดจากสิ่งที่เพื่อนพูด และพยายามเชื่อมโยงความคิดและ ประสบการณ์ของผู้อื่นในวงสนทนา 9) แสดงหลักฐานยืนยันสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง 10) เต็มใจที่จะเปลี่ยนแปลงความคิด ยอมรับความผิดพลาดและพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลงมุมมอง
  • 3. 3 11) เปิดเผยความรู้สึก 12) สังเกตการณ์พูดของตัวเอง ไม่ให้มากเกินไปและเปิดพื้นที่ให้ผู้อื่นแสดงความคิดเห็นอยู่ตลอด 5. ข้อค้นพบหรือข้อสะท้อนคิดการวิทยากร cce เเละวิทยากรไทย ภาพรวมพบว่า นักศึกษามีความมั่นใจในตัวเองเพิ่มมากขึ้น การแสดงความคิดเห็นมีคุณภาพมาก การทำงานร่วมกันเป็นทีมทำได้ดี ในกิจกรรมการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางการสอนเสวนานั้น พบว่านักศึกษาออกแบบได้ระดับหนึ่ง แต่พบว่า บางกิจกรรมนั้น ยังคงใช้วิธีการที่ง่าย และขาดความลึกซึ้งของ กระบวนการ แต่อย่างไรก็ตามวิทยากรได้เสนอแนะและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องให้กับนักศึกษา นอกจากนั้นเราพบว่า นักศึกษาทุกคน มีความสามารถในการนำกระบวนการการจัดการเรียนรู้ได้ แต่สิ่งที่ ยังคงต้องพัฒนาต่อไปคือ ทักษะการเป็นกระบวนกร หรือการ โค้ชระหว่างการทำกิจกรรม เราพบว่า นักศึกษา ยังต้องการพัฒนาทักษะในกระบวนการโค้ชหรือการถามเพื่อการกระตุ้นคิดมากขึ้น เราพบว่า นักศึกษาหลาย คนเข้าใจวิธีการสอนแบบเสวนาและใช้เทคนิคการสร้างบทสนทนาที่ดีมากขึ้น นอกจากนี้แล้ว กระบวนกร นักศึกษายังทำยังได้เป็นอย่างดี เป็นตัวอย่างที่ดีและแรงบันดาลใจที่ดี รวมถึงสามารถกระตุ้นเพื่อนนักศึกษาได้ ดีในการร่วมกิจกรรม 6. กิจกรรมในระยะต่อไป 1) กิจกรรมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning Community) มีการ ออกแบบให้นักศึกษาได้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางการสอนเสวนา และบันทึกเป็นวิดีโอ ไว้คนละ 10 นาที เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นกลุ่มย่อย เพื่อพัฒนาการสอนตามแนวทางการ สอนเสวนา โดยจะจัดช่วงเดือนมกราคม 2566 2) กิจกรรมการศึกษาแบบพหุภาษา โดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน (Mother Tongue Based Multilingual Education: MTBMLE คณะทำงานจาก CCE ประชุมร่วมกับ องค์กรที่ประสบการณ์สอนภาษาแม่เป็น ฐานในประเทศไทยและอยู่ระหว่างการออกแบบกิจกรรม