Udom_Pdf.pdf

Pattie Pattie
ผลลัพธ์โรงเรียนพัฒนาตนเอง: จากจุดเริ่มต้นสู่ความสาเร็จ
อุดม วงษ์สิงห์
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา
1
การดาเนินงานสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
ตามพระราชบัญญัติกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มาตรา 5 (3) (5) และ (6)
2
การพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Approach)
• การพัฒนาคุณภาพด้านการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง
และชุมชน เพื่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนทุกคน ด้วยมาตรการและเครื่องมือที่สาคัญมุ่งยกระดับคุณภาพการ
เรียนรู้ของนักเรียนด้วยความเสมอภาคอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมเพื่อให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียน
(Core Learning Outcomes)
• การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อให้เห็นผลที่เป็นรูปธรรม เกิดโรงเรียนต้นแบบที่สามารถขยายผลในเชิงกลยุทธ์ จาก
ร้อยละ 10 ของโรงเรียนขนาดกลางจะสามารถนาไปขยายผลต่อไปได้อย่างยั่งยืนโดยการดาเนินงานของ
หน่วยงานต้นสังกัด
แนวคิดสาคัญของโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง
2562 2563 2564 2565 2566
636 รร.
11 เครือข่าย
จ
านวนโรงเรี
ย
นและ
เครื
อ
ข่
า
ย
ปี
ด
าเนิ
น
งาน
5 เครือข่าย
TSQP Timeline
ขบวนการขับเคลื่อนเชิงระบบเพื่อขยายผลและสร้างการ
เปลี่ยนแปลงร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัด
กระบวนการเปลี่ยนแปลง
• ผู้บริหารปรับระบบบริหารจัดการภายในโรงเรียน
• ครูเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้แนวใหม่
• วัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการใช้
สารสนเทศคุณภาพ
• ทางานที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเป็น
สาคัญ
• ปรับเปลี่ยนวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน
• การทางานร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัดและภาคี
เครือข่ายการที่กว้างขวาง
มาตรการสนับสนุนการ/เครื่องมือพัฒนา
1. School Goal
2. PLC
3. Information / Data
4. Classroom Innovation/Active Learning
5. School Networking
6. Students Support System
7. Developmental Evaluation
8. Grow Mindset
School Transformation Systems Change
2567
สนับสนุนติดตามและประเมินผล
• ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ทั้งด้านคุณค่า ทัศนคติ ทักษะ
และความรู้ (V-A-S-K)
• เครื่องมือการพัฒนาตาม
แนวทาง Empowerment:
Online PLC & DE
• รูปแบบ/ระบบ/กลไกการ
ทางานในระดับพื้นที่
บทเรียนสาคัญที่ควรนาไปเรียนรู้เพื่อการพัฒนา
1. การให้ความสาคัญกับนักเรียนทุกคน ยอมรับในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ตามแนวคิดความเสมอภาคโดยคานึงถึง
ศักยภาพของผู้เรียนตั้งแต่การออกแบบการเรียนรู้ไปถึงการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
2. กระบวนการ PLC และ DE เป็นเครื่องมือที่สาคัญ ก่อให้เกิดการเปิดใจของทีมงานแต่ละระดับ และเกิดการขยาย
ผลนวัตกรรม ไปสู่โรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล และโรงเรียนสังกัดอื่น ๆ ที่มีความพร้อม
3. นาผลการเรียนรู้ไปพัฒนานักเรียน โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู กก.สถานศึกษา ผู้ปกครองและชุมชน ทาให้
พบว่าจุดเปลี่ยนของการปฏิรูปการศึกษาจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับระบบนิเวศการเรียนรู้
4. นวัตกรรมการบริหารและการจัดการเรียนรู้ เป็นต้นแบบเพื่อการบูรณาการและก่อให้เกิดการต่อยอดและประยุกต์อย่าง
ต่อเนื่อง เกิดแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ Learning organization และมี KM เป็น leaning platform
5. การมีส่วนร่วมจัดการศึกษา โรงเรียน กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน เกิดการบูรณาการการทางาน
ในระดับพื้นที่ (Area Based) ออกแบบการทางานร่วมทั้งภายในและภายนอก กสศ.
(เรียบเรียงจากการวิจัยและประเมินผลการดาเนินงานโรงเรียนพัฒนาตนเอง ปี 2565)
ผลลัพธ์ (Outcome)
1. ระบบการจัดการเรียนรู้และบริหารจัดการ
ภายในที่มีประสิทธิภาพ เกิดวงจรการเรียนรู้
ภายใน และได้รับการสนับสนุนจากชุมชน
และองค์การภายนอก
2. ตั้งเป้าหมาย และวางแผนการดาเนินงาน
เพื่อการพัฒนาตนเองได้ และประเมินผลการ
พัฒนาตนเองได้
โรงเรียน
3. วางแผนอย่างมีส่วนร่วมและ
ดาเนินงานได้ครบวงจร ทั้งระบบบริหาร
จัดการและจัดเรียนการสอน
ผู้บริหาร
ครู
4. ออกแบบการเรียนรู้ พัฒนานักเรียน
ให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 (เกิดเป็น
หลักสูตรสถานศึกษา)
นักเรียน
5. อัตราการหลุดออกจากระบบการศึกษาลดลง
เรียนต่อในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น
6. นักเรียนเรียนรู้จนจบการศึกษาภาคบังคับด้วย
รูปแบบที่หลากหลาย และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ที่
สูงขึ้นทุกระดับขั้น (CLOs: V-A-S-K)
7. นักเรียนใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการ
เรียนรู้และประเมินตนเองได้
ระบบนิเวศทางการเรียนรู้
ผลักดันนโยบาย
9. นวัตกรรมที่เป็นองค์ความรู้ และกลไกความ
ร่วมมือ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา
10. การเรียนรู้ร่วมกันของภาคีเครือข่ายและผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องในระบบการศึกษา (บุคลากร กสศ.)
8. เกิดพื้นที่การเรียนรู้แนวใหม่ เป็นทางเลือกใน
การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ตามเป้าหมาย
5
6
มีการนาแนวคิด มาตรการ และเครื่องมือจาก TSQP ไปใช้ออกแบบและ
ประยุกต์ในการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล
7
มาตรการและกลไกหนุนเสริมการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ
จากแนวคิดการหนุนให้โรงเรียนมีอิสระในการบริหารจัดการตนเอง
และสามารถประยุกต์นวัตกรรมหรือเครื่องมือ (Program) ได้เหมาะสมกับผู้เรียน
Systems Change
(การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบและเกิดวงจรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาร่วมกัน)
School Transformation
1. การนาต้นทุนจาก TSQP บูรณาการร่วมกับงานในพื้น (Area
Based) และแผนงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ครู
และโรงเรียน
2. การทางานร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัดทั้งในระดับจังหวัด/พื้นที่ และ
ส่วนกลาง โดย กสศ. หนุนเสริมกลไกที่จาเป็น
3. การ Mapping พื้นที่การทางาน ทั้งภายในและภายนอก กสศ.
4. การใช้กฎหมาย ระเบียบ หรือนโยบายที่เอื้อต่อการทางานและสร้าง
การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบมาใช้ประโยชน์
5. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพการเรียนการ
สอน ทั้งในระดับชั้นเรียน โรงเรียน และระบบสนับสนุนการจัด
การศึกษา
6. การสื่อสารผลงานที่เป็นรูปธรรม และมีพื้นที่การนาเสนอเชิงกลยุทธ์
เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย
การหนุนเสริมขบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนพัฒนาตนเองผ่านไกเชิงกลยุทธ์
โดยเสริมพลัง (Empower) หน่วยงานในระดับพื้นที่ให้เกิดการขับเคลื่อน (Movement)
8
8
1 sur 8

Recommandé

4 ตอน4 sar55 par
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55Miss.Yupawan Triratwitcha
994 vues9 diapositives
จุดเน้นที่ 7 par
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7Suwakhon Phus
564 vues14 diapositives
วิชาการ par
วิชาการวิชาการ
วิชาการWinyou Sriboonruang
329 vues6 diapositives
การบริหารแบบมีส่วนร่วม par
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
2.2K vues43 diapositives
จุดเน้น 7 par
จุดเน้น  7จุดเน้น  7
จุดเน้น 7kruchaily
297 vues5 diapositives
3 ตอน3 sar55 par
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55Miss.Yupawan Triratwitcha
1.2K vues56 diapositives

Contenu connexe

Similaire à Udom_Pdf.pdf

จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ... par
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
371 vues2 diapositives
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน par
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานAon Narinchoti
869 vues2 diapositives
บทคัดย่อทานิน par
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
1.7K vues2 diapositives
Develop school par
Develop schoolDevelop school
Develop schoolPattie Pattie
161 vues49 diapositives
โครงการปี 56 par
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
789 vues8 diapositives
ประสงค์ กับการสอน Is par
ประสงค์ กับการสอน Isประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน IsPrasong Somarat
1.4K vues33 diapositives

Similaire à Udom_Pdf.pdf(20)

สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน par Aon Narinchoti
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Aon Narinchoti869 vues
บทคัดย่อทานิน par suwat Unthanon
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
suwat Unthanon1.7K vues
โครงการปี 56 par krupornpana55
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
krupornpana55789 vues
ประสงค์ กับการสอน Is par Prasong Somarat
ประสงค์ กับการสอน Isประสงค์ กับการสอน Is
ประสงค์ กับการสอน Is
Prasong Somarat1.4K vues
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3 par Yodhathai Reesrikom
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา par Mana Suksa
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
Mana Suksa19.4K vues
หลักสูตรส่วนที่ ๑ par rampasri
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri3.8K vues
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน par dmathdanai
แนวทางประเมินภายในพื้นฐานแนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
แนวทางประเมินภายในพื้นฐาน
dmathdanai894 vues
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต par tassanee chaicharoen
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต

Plus de Pattie Pattie

Kregrit_Pdf.pdf par
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfPattie Pattie
14 vues34 diapositives
Phuket_sandbox.pdf par
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPattie Pattie
8 vues15 diapositives
Surin_ppt.pptx par
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxPattie Pattie
9 vues30 diapositives
Nakornsawan.pdf par
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfPattie Pattie
7 vues15 diapositives
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf par
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdfPattie Pattie
7 vues13 diapositives
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf par
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdfPattie Pattie
44 vues5 diapositives

Plus de Pattie Pattie(20)

20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf par Pattie Pattie
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
20230119-ar-พุทธวิธีตอนที่11.pdf
Pattie Pattie7 vues
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf par Pattie Pattie
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
๓๖ ปี แพทย์ศิรราช ๗๑.pdf
Pattie Pattie44 vues
660316_ปัญญาจักรวาล_HA 23 (1).pptx par Pattie Pattie
660316_ปัญญาจักรวาล_HA 23 (1).pptx660316_ปัญญาจักรวาล_HA 23 (1).pptx
660316_ปัญญาจักรวาล_HA 23 (1).pptx
Pattie Pattie17 vues
สรุปผลการจัดอบรม.pdf par Pattie Pattie
สรุปผลการจัดอบรม.pdfสรุปผลการจัดอบรม.pdf
สรุปผลการจัดอบรม.pdf
Pattie Pattie6 vues
The 12th PMAYP Networking & Reunion Meeting_Schedule Final.pdf par Pattie Pattie
The 12th PMAYP Networking & Reunion Meeting_Schedule Final.pdfThe 12th PMAYP Networking & Reunion Meeting_Schedule Final.pdf
The 12th PMAYP Networking & Reunion Meeting_Schedule Final.pdf
Pattie Pattie20 vues

Udom_Pdf.pdf

  • 2. 2 การพัฒนาคุณภาพโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Approach) • การพัฒนาคุณภาพด้านการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนทุกคน ด้วยมาตรการและเครื่องมือที่สาคัญมุ่งยกระดับคุณภาพการ เรียนรู้ของนักเรียนด้วยความเสมอภาคอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมเพื่อให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักเรียน (Core Learning Outcomes) • การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อให้เห็นผลที่เป็นรูปธรรม เกิดโรงเรียนต้นแบบที่สามารถขยายผลในเชิงกลยุทธ์ จาก ร้อยละ 10 ของโรงเรียนขนาดกลางจะสามารถนาไปขยายผลต่อไปได้อย่างยั่งยืนโดยการดาเนินงานของ หน่วยงานต้นสังกัด แนวคิดสาคัญของโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง
  • 3. 2562 2563 2564 2565 2566 636 รร. 11 เครือข่าย จ านวนโรงเรี ย นและ เครื อ ข่ า ย ปี ด าเนิ น งาน 5 เครือข่าย TSQP Timeline ขบวนการขับเคลื่อนเชิงระบบเพื่อขยายผลและสร้างการ เปลี่ยนแปลงร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัด กระบวนการเปลี่ยนแปลง • ผู้บริหารปรับระบบบริหารจัดการภายในโรงเรียน • ครูเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ • วัฒนธรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการใช้ สารสนเทศคุณภาพ • ทางานที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนเป็น สาคัญ • ปรับเปลี่ยนวิธีวัดและประเมินผลผู้เรียน • การทางานร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัดและภาคี เครือข่ายการที่กว้างขวาง มาตรการสนับสนุนการ/เครื่องมือพัฒนา 1. School Goal 2. PLC 3. Information / Data 4. Classroom Innovation/Active Learning 5. School Networking 6. Students Support System 7. Developmental Evaluation 8. Grow Mindset School Transformation Systems Change 2567 สนับสนุนติดตามและประเมินผล • ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งด้านคุณค่า ทัศนคติ ทักษะ และความรู้ (V-A-S-K) • เครื่องมือการพัฒนาตาม แนวทาง Empowerment: Online PLC & DE • รูปแบบ/ระบบ/กลไกการ ทางานในระดับพื้นที่
  • 4. บทเรียนสาคัญที่ควรนาไปเรียนรู้เพื่อการพัฒนา 1. การให้ความสาคัญกับนักเรียนทุกคน ยอมรับในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ตามแนวคิดความเสมอภาคโดยคานึงถึง ศักยภาพของผู้เรียนตั้งแต่การออกแบบการเรียนรู้ไปถึงการประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ 2. กระบวนการ PLC และ DE เป็นเครื่องมือที่สาคัญ ก่อให้เกิดการเปิดใจของทีมงานแต่ละระดับ และเกิดการขยาย ผลนวัตกรรม ไปสู่โรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล และโรงเรียนสังกัดอื่น ๆ ที่มีความพร้อม 3. นาผลการเรียนรู้ไปพัฒนานักเรียน โดยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู กก.สถานศึกษา ผู้ปกครองและชุมชน ทาให้ พบว่าจุดเปลี่ยนของการปฏิรูปการศึกษาจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับระบบนิเวศการเรียนรู้ 4. นวัตกรรมการบริหารและการจัดการเรียนรู้ เป็นต้นแบบเพื่อการบูรณาการและก่อให้เกิดการต่อยอดและประยุกต์อย่าง ต่อเนื่อง เกิดแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ Learning organization และมี KM เป็น leaning platform 5. การมีส่วนร่วมจัดการศึกษา โรงเรียน กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน เกิดการบูรณาการการทางาน ในระดับพื้นที่ (Area Based) ออกแบบการทางานร่วมทั้งภายในและภายนอก กสศ. (เรียบเรียงจากการวิจัยและประเมินผลการดาเนินงานโรงเรียนพัฒนาตนเอง ปี 2565)
  • 5. ผลลัพธ์ (Outcome) 1. ระบบการจัดการเรียนรู้และบริหารจัดการ ภายในที่มีประสิทธิภาพ เกิดวงจรการเรียนรู้ ภายใน และได้รับการสนับสนุนจากชุมชน และองค์การภายนอก 2. ตั้งเป้าหมาย และวางแผนการดาเนินงาน เพื่อการพัฒนาตนเองได้ และประเมินผลการ พัฒนาตนเองได้ โรงเรียน 3. วางแผนอย่างมีส่วนร่วมและ ดาเนินงานได้ครบวงจร ทั้งระบบบริหาร จัดการและจัดเรียนการสอน ผู้บริหาร ครู 4. ออกแบบการเรียนรู้ พัฒนานักเรียน ให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 (เกิดเป็น หลักสูตรสถานศึกษา) นักเรียน 5. อัตราการหลุดออกจากระบบการศึกษาลดลง เรียนต่อในระดับการศึกษาที่สูงขึ้น 6. นักเรียนเรียนรู้จนจบการศึกษาภาคบังคับด้วย รูปแบบที่หลากหลาย และมีผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ที่ สูงขึ้นทุกระดับขั้น (CLOs: V-A-S-K) 7. นักเรียนใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้และประเมินตนเองได้ ระบบนิเวศทางการเรียนรู้ ผลักดันนโยบาย 9. นวัตกรรมที่เป็นองค์ความรู้ และกลไกความ ร่วมมือ เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา 10. การเรียนรู้ร่วมกันของภาคีเครือข่ายและผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องในระบบการศึกษา (บุคลากร กสศ.) 8. เกิดพื้นที่การเรียนรู้แนวใหม่ เป็นทางเลือกใน การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ตามเป้าหมาย 5
  • 6. 6 มีการนาแนวคิด มาตรการ และเครื่องมือจาก TSQP ไปใช้ออกแบบและ ประยุกต์ในการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนในพื้นที่ห่างไกล
  • 7. 7 มาตรการและกลไกหนุนเสริมการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ จากแนวคิดการหนุนให้โรงเรียนมีอิสระในการบริหารจัดการตนเอง และสามารถประยุกต์นวัตกรรมหรือเครื่องมือ (Program) ได้เหมาะสมกับผู้เรียน Systems Change (การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบและเกิดวงจรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาร่วมกัน) School Transformation 1. การนาต้นทุนจาก TSQP บูรณาการร่วมกับงานในพื้น (Area Based) และแผนงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพนักเรียน ครู และโรงเรียน 2. การทางานร่วมกับหน่วยงานต้นสังกัดทั้งในระดับจังหวัด/พื้นที่ และ ส่วนกลาง โดย กสศ. หนุนเสริมกลไกที่จาเป็น 3. การ Mapping พื้นที่การทางาน ทั้งภายในและภายนอก กสศ. 4. การใช้กฎหมาย ระเบียบ หรือนโยบายที่เอื้อต่อการทางานและสร้าง การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบมาใช้ประโยชน์ 5. การวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพการเรียนการ สอน ทั้งในระดับชั้นเรียน โรงเรียน และระบบสนับสนุนการจัด การศึกษา 6. การสื่อสารผลงานที่เป็นรูปธรรม และมีพื้นที่การนาเสนอเชิงกลยุทธ์ เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย การหนุนเสริมขบวนการขับเคลื่อนโรงเรียนพัฒนาตนเองผ่านไกเชิงกลยุทธ์ โดยเสริมพลัง (Empower) หน่วยงานในระดับพื้นที่ให้เกิดการขับเคลื่อน (Movement)
  • 8. 8 8