SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
การรู้สารสนเทศของนิสิตระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
1
โดย ปภาดา เจียวก๊ก
คณะกรรมการควบคุม :
รศ. สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์
อ.ดร. อารีย์ ชื่นวัฒนา
ภูมิหลัง
อดีต สารสนเทศส่วนใหญ่ผลิตในรูปของสิ่งพิมพ์ มีปริมาณไม่
มากนัก
ปัจจุบัน สารสนเทศผลิตออกมาในปริมาณเพิ่มมากขึ้น
มีอยู่ในหลายรูปแบบและหลายแหล่ง ทั้งในรูปของหนังสือ
วารสาร ฐานข้อมูล และอินเทอร์เน็ต
(สารสนเทศทะลักทะลาย) ผู้ใช้เกิดความสับสนคับข้องใจ
ทําอย่างไร จึงจะนําสารสนเทศเหล่านี้มาใช้ได้ ?
2
3
Cleveland Institute of Music. 2007 : Online
4
University of South Dakota. 2007 : Online
5
การรู้สารสนเทศ คืออะไร ?
การรู้สารสนเทศ คือ ความสามารถในการเข้าถึง
สารสนเทศ การประเมินสารสนเทศ และการใช้
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(ALA. 1989 : Online)
6
เริ่มต้น
สิ้นสุด
กําหนดประเด็นปัญหา
หรือตั้งคําถามเรื่องที่ศึกษา
กําหนดแหล่ง
สารสนเทศ
วางแผนการค้นหา
และกําหนดคําค้น
ประเมินสารสนเทศ
สังเคราะห์สารสนเทศ
นําสารสนเทศ
ไปใช้
Whiston & Amstuts. 1997
ขั้นตอนการรู้สารสนเทศ
7
นโยบายการปฏิรูปการศึกษาไทย
(พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 ม.22 และ
ม.24) มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง
เรียนรู้ตลอดชีวิต
จะทําอย่างไรให้เขาเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ?
8
องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ
EURlib. 2007 : Online
9
จุดมุ่งหมายการวิจัย
1. ศึกษาการรู้สารสนเทศของนิสิตระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2. เปรียบเทียบการรู้สารสนเทศของนิสิตระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
จําแนกตามตัวแปร เพศ ชั้นปี กลุ่มสาขา และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
10
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร นิสิตปริญญาตรี จํานวน 5,094 คน
กลุ่มตัวอย่าง นิสิตปริญญาตรี จํานวน 465 คน
(ขั้นตํ่า 357 คน)
11
ตัวแปรที่ศึกษา
 เพศ
 ชั้นปี
 กลุ่มสาขา
 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
12
มาตรฐานการรู้สารสนเทศ ระดับอุดมศึกษา
ของ สมาคมห้องสมุดวิทยาลัยและวิจัย
แห่งสหรัฐอเมริกา (ACRL)
ประกอบด้วย
มาตรฐาน 5 ข้อ
ดัชนีชี้วัด 22 ข้อ
ผลลัพธ์ 84 ข้อ
13
มาตรฐานการรู้สารสนเทศของ ACRL
1. กําหนดขอบเขตสารสนเทศที่ต้องการใช้ได้ (ด้านการเข้าถึง
สารสนเทศ)
2. เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล (ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ)
3. ประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศได้อย่างมี
วิจารณญาณ (ด้านการประเมินสารสนเทศ)
14
4. ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงค์ที่ได้ กําหนดไว้ (ด้านการใช้สารสนเทศ)
5. เข้าใจบริบททางสังคม กฎหมายและเศรษฐกิจที่มีผลต่อ
การใช้และเข้าถึงสารสนเทศ รวมทั้งใช้สารสนเทศอย่าง
มีจริยธรรมและชอบด้วยกฎหมาย (ด้านการใช้สารสนเทศ)
มาตรฐานการรู้สารสนเทศของ ACRL (ต่อ)
15
ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ
 มาตรฐานที่ 1 นิสิตสามารถกําหนดขอบเขตสารสนเทศ
ที่ต้องการใช้ได้
ดัชนีชี้วัด 1.1 ระบุและแสดงความต้องการสารสนเทศ
ของตนได้ชัดเจน
1.2 ระบุประเภทและรูปแบบของแหล่ง
สารสนเทศที่น่าจะมีสารสนเทศที่ต้องการใช้ได้
16
 มาตรฐานที่ 2 นิสิตสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ
ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ดัชนีชี้วัด 2.1 เลือกวิธีการศึกษาหรือระบบการค้นคืน
สารสนเทศที่เหมาะสมและดีที่สุดเพื่อเข้าถึงสารสนเทศ
ที่ต้องการใช้ได้
2.2 กําหนดกลยุทธ์การค้นหาสารสนเทศและ
ดําเนินการตามกลยุทธ์ที่ออกแบบไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.3 ค้นหาสารสนเทศทางออนไลน์หรือสารสนเทศ
ที่เป็นผลงานของบุคคลนั้นๆ ทางออนไลน์โดยใช้วิธีการต่างๆ ได้
17
ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
มาตรฐานที่ 3 นิสิตสามารถประเมินสารสนเทศและแหล่ง
สารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณและบูรณาการ
สารสนเทศที่เลือกสรรแล้วให้เข้ากับฐานความรู้เดิมและ
ระบบคุณค่าของตนได้
ดัชนีชี้วัด 3.2 อธิบายและประยุกต์เกณฑ์ขั้นต้น
ในการประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศได้
18
ดัชนีชี้วัด 3.4 เปรียบเทียบความรู้ใหม่กับความรู้ที่มีอยู่
เดิมเพื่อให้ทราบถึงคุณค่าที่เพิ่มขึ้น สิ่งที่ขัดแย้งกัน และ
ลักษณะเฉพาะอื่น ๆ ของสารสนเทศได้ (คัดเลือก
สารสนเทศที่รวบรวมมาได้)
ดัชนีชี้วัด 3.7 สามารถพิจารณาว่าคําถามที่ตั้งไว้
ช่วงแรกควรได้รับการปรับปรุงหรือไม่อย่างไร
(ทบทวนแหล่งสารสนเทศที่ใช้ค้นและขยายไปยังแหล่ง
สารสนเทศอื่นได้ ถ้าจําเป็น)
19
ความสามารถในการใช้สารสนเทศ
 มาตรฐานที่ 5 นิสิตสามารถเข้าใจประเด็นทางเศรษฐกิจ
กฎหมาย และสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับการใช้และการเข้าถึง
สารสนเทศ รวมทั้งใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและชอบ
ด้วยกฎหมาย
ดัชนีชี้วัด 5.1 นิสิตเข้าใจประเด็นทางจริยธรรม กฎหมาย
และสังคมที่แวดล้อมสารสนเทศ และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
20
ดัชนีชี้วัด 5.2 นิสิตปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ นโยบาย
และมารยาทที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึง และการใช้ทรัพยากร
สารสนเทศได้
ดัชนีชี้วัด 5.3 นิสิตอ้างถึงแหล่งสารสนเทศที่นํามา
ใช้ในการผลิตหรือปฏิบัติงาน
21
จํานวนคําถาม ทั้งหมด 55 ข้อ
 ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ 38 ข้อ
 ด้านการประเมินสารสนเทศ 12 ข้อ
 ด้านการใช้สารสนเทศ 5 ข้อ
22
เกณฑ์การแบ่งระดับการรู้สารสนเทศ
แบ่งการรู้สารสนเทศ เป็น 5 ระดับ
0-6.875 หมายถึง มีระดับการรู้สารสนเทศตํ่ามาก
6.876-20.625 หมายถึง มีระดับการรู้สารสนเทศตํ่า
20.626-34.375 หมายถึง มีระดับการรู้สารสนเทศปานกลาง
34.376-48.125 หมายถึง มีระดับการรู้สารสนเทศสูง
48.126-55.00 หมายถึง มีระดับการรู้สารสนเทศสูงมาก
23
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
 ค่าร้อยละ
 ค่าเฉลี่ย
 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
 t-test
 F-test
24
สรุปผล อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
 สถานภาพ นิสิตส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง เป็นนิสิตชั้นปีที่
2 กลุ่มสาขามนุษยศาสตร์ และมีผลการเรียนดี
 นิสิตมีการรู้สารสนเทศในระดับปานกลาง (ร้อยละ
56.10)
- มีความสามารถในการใช้สารสนเทศสูงกว่าด้านอื่น
โดยอยู่ในระดับสูง
- มีความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ และ
ประเมินสารสนเทศในระดับปานกลาง
25
 เพศ ไม่พบความแตกต่าง
 ชั้นปี โดยรวมไม่แตกต่าง แต่แตกต่างกันในด้าน
การประเมินสารสนเทศ และด้านการใช้สารสนเทศ
โดยนิสิตชั้นปีที่ 4 มีความสามารถในการใช้สารสนเทศ
สูงกว่านิสิตชั้นปีที่ 2 ส่วนด้านการประเมิน
เปรียบเทียบเป็นรายคู่ ไม่พบความแตกต่าง
26
 กลุ่มสาขา มีการรู้สารสนเทศโดยรวมแตกต่างกัน
โดยนิสิตกลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์มีการรู้
สารสนเทศ สูงกว่านิสิตกลุ่มอื่น ๆ ทุกกลุ่ม
 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นิสิตที่มีผลการเรียนดีมาก
มีการรู้สารสนเทศโดยรวมสูงกว่านิสิตที่มี
ผลการเรียนพอใช้
27
อภิปรายผล
 ระดับการรู้สารสนเทศ อยู่ในระดับปานกลาง
สาเหตุ 1.1 ความแตกต่างของเนื้อหาการสอนการรู้
สารสนเทศในต่างประเทศกับการสอน วิชา
บส 101
1.2 แบบทดสอบยึดมาตรฐานการรู้สารสนเทศ
ของ ACRL
1.3 ประสบการณ์ของนิสิต (เช่น การใช้
อินเทอร์เน็ต การค้นฐานข้อมูล การใช้ไอแพก)
28
เปรียบเทียบการรู้สารสนเทศตามตัวแปร
เพศ มีการรู้สารสนเทศไม่แตกต่างกัน
ชั้นปี โดยรวมมีการรู้สารสนเทศไม่แตกต่าง
นิสิตขาดการปลูกฝังในเรื่องการศึกษาค้นคว้า
ค่านิยมเน้นเชิงวัตถุเรียนเพื่อให้ได้ปริญญาบัตร เมื่อเรียนไป
แล้วไม่ได้นําสิ่งที่เรียนไปใช้ประโยชน์
แต่การศึกษาของต่างประเทศ พบว่า นิสิตที่เรียน
ในชั้นปีที่สูงขึ้นมีการรู้สารสนเทศเพิ่มขึ้นตามระดับชั้นปีที่
เรียน
29
กลุ่มสาขา มีการรู้สารสนเทศแตกต่างกัน โดยนิสิต กลุ่ม
วิทยาศาสตร์การแพทย์ มีการรู้สารสนเทศ สูงกว่านิสิต
กลุ่มอื่นทุกกลุ่ม เพราะ
1.1 การค้นคว้าหาข้อมูล นิสิตแพทย์ค้นคว้า
ข้อมูล บ่อย ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวใน
วงการ แพทย์ อยู่เสมอ
1.2 มีผลการเรียนดี เอาใจใส่ต่อการเรียน เรียนรู้ ได้เร็ว
30
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นิสิตที่มีผลการเรียนดีมาก มีการรู้สารสนเทศสูง
กว่านิสิตที่มีผลการเรียนพอใช้ เพราะ นิสิตที่มีผล
การเรียนดี มักใช้เวลาส่วนใหญ่ในห้องสมุด หรือ
แหล่งข้อมูลอื่น ๆ ชอบเสาะแสวงหาความรู้
และใฝ่รู้
31
ข้อเสนอแนะ
ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
ควรปรับปรุงเนื้อหาวิชา บส 101 ให้ใกล้เคียงกับการสอนการรู้
สารสนเทศในต่างประเทศ โดยปรับให้เหมาะกับการเรียนการ
สอนในประเทศ โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในเรื่องเหล่านี้
1.1 การเข้าถึงสารสนเทศ - การนิยามภาระงาน
1.2 การประเมินสารสนเทศ - เกณฑ์ในการประเมิน
สารสนเทศ การประเมินเว็บไซต์
1.3 การใช้สารสนเทศ – กฎหมายและจริยธรรมในการใช้
สารสนเทศ และมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ต
32
สํานักหอสมุดกลาง
1. จัดทํา Web tutor สอนเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ แนะนํา
ห้องสมุด บริการต่าง ๆ ของห้องสมุด
ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ -- การนิยามภาระงาน
ประเภทของแหล่งสารสนเทศ ระบบการจัดหมวดหมู่
ของห้องสมุด หัวเรื่องและคําสําคัญเครื่องมือที่ใช้ค้นหา
สารสนเทศ และการใช้เครื่องมือเพื่อค้นหาสารสนเทศ
เทคนิคการค้นต่าง ๆ ฐานข้อมูล และ อินเทอร์เน็ต
ด้านการประเมินสารสนเทศ -- เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน
สารสนเทศ
33
ด้านการใช้สารสนเทศ
– แนะนําความรู้เกี่ยวกับจรรยาบรรณในการใช้
สารสนเทศวิธีการศึกษาค้นคว้า / วิจัย และการเขียนอ้างอิง
2. ร่วมมือกับอาจารย์ผู้สอน สอนการรู้สารสนเทศ
34
Web Tutorial
University of Wisconsin-Parkside. 2007 : Online
35
Web Tutorial
Five Colleges of Ohio. 2007 : Online
36
Web Tutorial
George Mason University Libraries. 2007 : Online
37
Web Tutorial
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. 2007 : Online
38
University of Hawai'i Libraries Information Literacy Committee. 2007 : Online

Contenu connexe

Similaire à Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University

หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsomdetpittayakom school
 
Inno 7 งานกลุ่ม
Inno 7 งานกลุ่มInno 7 งานกลุ่ม
Inno 7 งานกลุ่มRomrawin Nam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพUmmara Kijruangsri
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียนJeeraJaree Srithai
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)sirinyabh
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3Sakonwan Na Roiet
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1chaimate
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาTong Bebow
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาTong Bebow
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้านPochchara Tiamwong
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 

Similaire à Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University (20)

หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
หน่วยที่ 3 ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Inno 7 งานกลุ่ม
Inno 7 งานกลุ่มInno 7 งานกลุ่ม
Inno 7 งานกลุ่ม
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
2บทคัดย่อวิจัยในชั้นเรียน
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
113
113113
113
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)Unit8.ppt (read only)
Unit8.ppt (read only)
 
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
น 13 พฤติกรรมสารสนเทศ.2
 
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
สารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน บทที่ 3
 
รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1รายงาน ครูชัยเมธี-1
รายงาน ครูชัยเมธี-1
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 

Information Literacy of Undergraduate Students at Srinakharinwirot University