SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
การรีไซเคิลแบตเตอรี่รถยนต์พลังงานไฟฟ้ า
(Recycle of electric vehicle battery)
EVB
เค้าโครง (Outline)
- 2 -
EVB
การรีไซเคิลแบตเตอรี่ในประเทศไทย5
ทบทวนวรรณกรรม4
การรีไซเคิลแบตเตอรี่3
แบตเตอรี่ในรถยนต์พลังงานไฟฟ้ า2
รถยนต์พลังงานไฟฟ้ า1
บทนา (Introduction)
การผลิตรถ EV
จาหน่าย
- 3 -
CO2
CO2
CO2
CO2
แร่ธาตุ
- Li, Ni, Co, Mn, Cu
การผลิตแบตเตอรี่
-การผลิตเซลล์
-การประกอบแพ็ก
ใช้ (7-10ปี)
-แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ
EVB
รีไซเคิล
-อุปกรณ์สารองพลังงาน
-การกู้คืนของธาตุ
ประเภทของรถยนต์พลังงานไฟฟ้ า
- 4 -
HEVHybrid Electric Vehicle
รถยนต์ไฟฟ้ าไฮบริด
BEVBattery ElectricVehicle
รถยนต์ไฟฟ้ าแบบแบตเตอรี่
PHEVPlug-in Hybrid Electric Vehicle
รถยนต์ไฟฟ้ าปลั๊กอินไฮบริด
Ref: https://evcharging.enelx.com/news/blog/566-different-types-of-electric-vehicles
ทาความรู้จักกับ
รถยนต์พลังงานไฟฟ้ าแบตเตอรี่ 100%
Lithium-Ion Battery
แบตเตอรี่ลิเธียม ไอออน
ทาหน้าที่เก็บพลังงานไฟฟ้ า
ที่รับจากการชาร์จ
Inverter
อุปกรณ์แปลงกระแสไฟฟ้ า
ทาหน้าที่ควบคุมและแปลงพลังงานไฟฟ้ า
เพื่อส่งต่อไปยังมอเตอร์ไฟฟ้ า
Ref: https://x-engineer.org/automotive-engineering/vehicle/electric-vehicles/anatomy-of-a-battery-electric-vehicle-bev/
Motor
มอเตอร์ไฟฟ้ า
ทาหน้าที่ส่งพลังงานที่ได้รับ
จากอุปกรณ์แปลงไฟฟ้ า
ไปยังเพลาเพื่อให้เกิดการ
ขับเคลื่อน
1 2 3
- 5 -
ความเงียบ
ประหยัดค่าใช้จ่าย
และค่าซ่อมบารุง
ช่วยลดมลภาวะ
ไม่ต้องเสียเวลา
เพราะสามารถชาร์จ
แบตได้ที่บ้านคุณ
ข้อดี
ยอดขายรถยนต์พลังงานไฟฟ้ าทั่วโลกและส่วนแบ่งทางการตลาด (2013-2018)
- 6 -Ref: https://www.iea.org/publications/reports/globalevoutlook2019/
แบตเตอรี่ในยานยนต์ไฟฟ้ า (Battery in Electric Vehicles)
แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด (Lead-Acid)
• ราคาถูก
• มีความทนทานสูง
• น้าหนักเยอะ
• จ่ายพลังงานได้ช้า
• อายุการใช้งานสั้น
- 7 -
แบตเตอรี่นิกเกิล (Nickel)
• กาลังไฟฟ้าสูง
• Memory Effect แบตเตอรี่จะเก็บ
พลังงานได้น้อยลงหลังจากทาการ
ชาร์จบ่อยๆ
แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน (Lithium-Ion)
• น้าหนักเบา
• ให้พลังงานสูง, คงที่
• ราคาแพง จากระบบป้องกัน
แบตเตอรี่ Battery Management
System (BMS)
องค์ประกอบทั่วไปของแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน
- 8 -
Ref: Jan Diekmann et al. (2016)
โมดูลแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน
แพ็กแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนเซลล์แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน
Cathode
- Li
- Ni
- Co
- Mn
Anode
- Cu
เราจะจัดการกับ “แบตเตอรี่รถยนต์พลังงานไฟฟ้ า” ที่เสื่อมสภาพแล้วอย่างไร?
Repack (การประกอบแพ็กใหม่ ) Reuse (การนากลับมาใช้ใหม่ ) Recycle (การรีไซเคิล )
แบตเตอรี่ที่เสื่อมสภาพแต่ยังคงมีความจุ
แบตเตอรี่สูงกว่า 80% แบตเตอรี่นั้นจะ
ถูกนามารีแพ็ก (Repack)
เพื่อใช้ในรถยนต์พลังงานไฟฟ้ า
ไม่สามารถซ่อมแซมจนมีความจุสูง
กว่าร้อยละ 80 ได้จะถูกนาไปใช้เป็น
อุปกรณ์สารองพลังงานโดยสามารถใช้
งานต่อได้อีก 4-5 ปี กรณีเช่นนี้จะถูก
นามารียูส (Reuse) เพื่อใช้ในระบบกัก
เก็บพลังงาน
ในกรณีที่แบตเตอรี่เสียหายไม่สามารถ
ใช้งานได้อีก จะถูกนาไปแยกส่วนเพื่อรี
ไซเคิล (Recycle) โดยวัตถุดิบที่ได้จาก
การ Recycle จะถูกนาไปผลิตเป็น
แบตเตอรี่ใหม่
- 9 -
> 80%
< 80%
ขั้นตอนการรีไซเคิลแบตเตอรี่
การเตรียมพร้อมก่อนรีไซเคิล (Pre-Processing)
ลดความสามารถในการเกิดปฏิกิริยา (ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว, คายประจุ)
การทาให้ชิ้นส่วนแบตเตอรี่แตกตัว (Cell disruption)
แยกชิ้นส่วนแบตเตอรี่แตกตัวออกเป็นชิ้นเล็กๆ (วิธีทางกล, บด, อัด, ฉีก)
การแยกวัสดุอื่น ๆ ออกจากแบตเตอรี่ (Thermal Treatment)
อาศัยความร้อนในการแยกวัสดุ
การแยกวัตถุดิบออกจากขั้วแอโนด-แคโทด (Dissolution)
แช่ขั่วอิเล็กโทรดลงในสารละลาย
การแยกคุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุ (Physical separation)
แยกชิ้นส่วนตามขนาด, อานาจแม่เหล็ก, สมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ
โลหะวิทยาแยกสกัด (Extractive metallurgy)
อาศัยสารละลาย (Hydrometallurgy), อาศัยความร้อน (Pyrometallurgy)
- 10 -
ทบทวนวรรณกรรม
(Literature review)
- 11 -
Meaghan Foster et al. (2014) ได้ทาการประเมินความเป็นไปได้ของการรีไซเคิลแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนที่หมดอายุการ
ใช้งานในรถยนต์ไฟฟ้า Chevy Volt ว่าจะทานามาผลิตใหม่,เปลี่ยนวัตถุประสงค์การใช้งาน หรือรีไซเคิล พบว่าส่วนใหญ่แบตเตอรี่
จะไม่สามารถนามาใช้ใหม่ได้ดังนั้นจึงต้องทาการรีไซเคิล
การรีไซเคิลสามารถทาการกู้คืนแบตเตอรี่ได้สูงถึง 20% สามารถประเมินต้นทุนการรีไซเคิลอยู่ที่ $ 2.25 ต่อปอนด์
สาหรับแบตเตอรี่ Chevy Volt มีต้นทุนการรีไซเคิลอยู่ที่ $ 979 งานวิจัยได้ชี้ให้เห็นว่าการแยกชิ้นส่วนของแต่ละเซลล์เพื่อ
นาไปรีไซเคิลนั้นไม่ได้คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ เว้นแต่ราคาตลาดของลิเธียมจะเพิ่มขึ้นประมาณยี่สิบเท่า 98.60 เหรียญสหรัฐต่อ
กิโลกรัม
แบตเตอรี่ Chevy Volt
- 12 -
นามาผลิตใหม่
เปลี่ยนวัตถุประสงค์
การใช้งาน
รีไซเคิล ผ่านกระบวนการ
รีไซเคิล
คุ้มทุน
ไม่คุ้มทุน
• แบตเตอรี่ลิเธียมเหล็กฟอสเฟต (LiFePO4)
• การรีไซเคิลแล้วสารพิษตกค้าง
• มีขนาดความจุกระแสและกาลังไฟฟ้าสูงสุด
• ไม่นิยมมารีไซเคิลแล้ว
• แบตเตอรี่ลิเธียมโคบอลต์(LiCoO2)
• การรีไซเคิลแล้วไม่สารพิษตกค้าง
• มีขนาดความจุกระแสและกาลังไฟฟ้าต่ากว่า LiFePO4)
• นิยมมารีไซเคิลได้แล้วนากลับไปใช้ใหม่
Ref: https://katanyoobattery.com/batterrylitium/ Ref: https://www.torqeedo.com/en/technology-
and-environment/battery-technology.html
CharlesR. and Lindsay (2014) ได้ใช้กรดเพื่อละลายวัสดุอิเล็กโทรดที่เป็นของแข็งหลังจากนั้นจะใช้วิธีการ
สกัดตัวทาละลาย (Hydrometallurgy) วิธีการตกตะกอนผลที่ได้คือ โลหะทองแดง,อลูมิเนียมฟอยล์ โคบอลต์,นิกเกิล
- 13 -
เปรียบเทียบ
Linda Gaines (2014) ได้ศึกษากระบวนการรีไซเคิลของแบตเตอรี่ Li-Ion ที่หมดอายุการใช้งาน พบว่าการรี
ไซเคิลแบตเตอรี่ Li-Ion มีกระบวนการรีไซเคิลที่ซับซ้อนกว่าแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด
Li-ion pack (Tesla electricvehicle)
งานวิจัยนี้ยังชี้ให้เห็นอีกว่า ผู้ผลิตแบตเตอรี่สามารถส่งเสริมการรีไซเคิลได้ด้วยการ การออกแบบที่ช่วยให้แยก
ชิ้นส่วนได้ง่าย รวมถึงการติดฉลากบอกถึงคุณสมบัติอื่นๆ ใช้วัสดุที่เป็นมาตรฐาน หลีกเลี่ยงสารพิษ ดังนั้นผู้ผลิตแบตเตอรี่
และผู้รีไซเคิลจะต้องทางานร่วมกันในการแก้ไขปัญหานี้ เพื่อให้เกิดการรีไซเคิลแบตเตอรี่ Li-Ion อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ความร้อน
แยก Cell ออกจาก Module
แยกชิ้นส่วน
โลหะผสม
-สแลก Li, Al, Si, Cd, Fe, Mn
-ก๊าซ ทาให้สะอาดก่อนปล่อย
-โลหะผสมของ Cu, Co, Ni
และ Fe
- 14 -
แบตเตอรี่ กระบวนการที่ใช้ ผลที่ได้
(Pyro-metallurgy)
L. Yun et al. (2018) ได้ศึกษาคัดแยกแบตเตอรี่แบบกึ่งอัตโนมัติ และวิธีการสาหรับการรีไซเคิลของชุด
แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนสาหรับรถที่ใช้ไฟฟ้า
1.การคายประจุของแบตเตอรี่
2.รื้อโมดูลการใช้งานของแบตเตอรี่
3.ถอดแยกชิ้นส่วน
4.เข้าสู่กระบวนการทางเคมี
- 16 -
โลหะผสมของ Co, Li และ Ni
กระบวนการรีไซเคิลของแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน
งานวิจัยนี้ได้นาเสนอกระบวนการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพด้วยระบบกึ่งอัตโนมัติของแบตเตอรี่ลิเทียม
- 17 -
การถอดชิ้นส่วนตามลาดับ
1. การทางานของพนักงาน
2. กล้อง
3. การประมวลผลภาพ
1. เกณฑ์
2. ฐานข้อมูล
3. การแลกเปลี่ยนข้อมูล
การตรวจจับ
ระบบอัตโนมัติ ( AI )
1. หุ่นยนต์ช่วยในการทางาน
2. การตัดด้วยเลเซอร์
3. หุ่นยนต์อัตโนมัติ
เครื่องจักรกลอัตโนมัติ
แนวความคิด
ข้อสรูปอ้างอิง
เซลล์ การรีไซเคิลการนากลับมาใช้ใหม่
โมดูล
ชุดแบตเตอรี่
ความเหมาะสม
นโยบายรัฐบาลการรีไซเคิลที่มี
ประสิทธิภาพและการรีไซเคิลสิ่งจูงใจ
ด้านวิทยาศาตร์เทคโนโลยี
โมดูล
กระบวนการไฮบริด (Hybrid processes) มีการใช้ทั้งสองกระบวนการคือ (Hydro + Bio-metallurgy)
ใช้สารละลาย,กระบวนการสกัดโลหะด้วยการใช้ความร้อน (Pyro metallurgy) ในการรีไซเคิล
- 18 -
Milan Bukvic (2016) ได้ศึกษากระบวนการรีไซเคิลของแบตเตอรี่ Li-Ion พบว่าการรีไซเคิลแบตเตอรี่ Li-Ion
กระบวนการแบบ Vacuum pyrolysis รวมกับเทคนิค Hydrometallurgical เพื่อแยกโคบอลต์และลิเธียมจากแบตเตอรี่มาก
ที่สุด หลังจากนั้นปรับสภาพของธาตุตามลาดับ
การแยกวัสดุแบตเตอรี่ ปรับสภาพของธาตุขั้นที่ 1
ผลจากปรับสภาพ 1 ความบริสุทธิ์ของโคบอลต์ประมาณ 98%
ในขณะที่ความบริสุทธิ์ของลิเธียมประมาณ 72%
-19-
ปรับสภาพของธาตุขั้นที่ 2
การสกัดด้วยตัวทาละลาย การตกตะกอนกระแสไฟฟ้าการตกผลึก
และKalcinizacije เพื่อให้ได้วัสดุที่มีความบริสุทธิ์สูงสุด
ผลจากปรับสภาพของธาตุขั้นที่ 2
ความบริสุทธิ์ที่ได้รับในกระบวนมีดังนี้:
• ลิเธียม (Li) 96.97%
• แมงกานีส (Mn) 98.23%
• โคบอลต์ (Co) 96.94%
• นิกเกิล (Ni) 97.43%
- 20 -
เปเปอร์ ประเภทแบตเตอรี่ กระบวนการรีไซเคิล ความสามารถของการรีไซเคิล อื่นๆ
Meaghan Foster
(2014)
แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน การเปรียบเทียบความคุ้มทุนของการ
รีไซเคิล
การแยกชิ้นส่วนของแต่ละเซลล์เพื่อนาไป
รีไซเคิลจะคุ้มทุนหรือไม่
รีไซเคิลนั้นไม่ได้คุ้มค่าทางเศรษฐกิจเว้นแต่ราคาตลาด
ของลิเธียมจะเพิ่มขึ้น
Charles
(2014)
แบตเตอรี่ Li-Ione (LiFePO4)
แบตเตอรี่Li-Ione (LiCoO2)
กรดสารละลายในการแยก
(Hydrometallurgy)
โลหะทองแดง,อลูมิเนียมฟอยล์, โคบอลต์
,นิกเกิล
แบตเตอรี่ LiFePO4 จะมีกฏระเบียบห้ามนามารี่ไซเคิลอีก
เพราะจะส่งผลต่อสภาพแวดล้อม
Linda Gaines
(2014)
แบตเตอรี่ Li-Ione (LiCoO2) ใช้ความร้อน (Pyrometallurgical) ได้โลหะผสมของ Cu, Co, Ni และ Fe กระบวนการรีไซเคิลนั้นก็จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานของ
แบตเตอรี่การออกแบบ
Bin Huang
(2018)
แบตเตอรี่ Li-Ione (LiCoO2) ความร้อน (Pyrometallurgical)
สารละลาย (Hydrometallurgical)
ใช้ความร้อน โลหะผสม
สารละลาย ธาตุที่บริสุทธิ์
โลหะผสมที่ได้จะถูกนาไปใช้เป็นส่วนผสมของคอนกรีด
ธาตุที่บริสุทธิ์ จะถุกนาไปผลิตแบตเตอรี่
L. Yun et al.
(2018)
แบตเตอรี่ Li-Ione (LiCoO2) ใช้ไฮบริด (Hybrid processes) Li, Co, Ni, Mn และ Fe เสนอกระบวนการคัดแยกแบบอัตโนมัติเพื่อความ
ปลอดภัยและได้ประสิทธิภาพสูง
Milan Bukvic
(2016)
แบตเตอรี่ Li-Ion กระบวนการVacuum pyrolysis รวม
กับ Hydrometallurgical
ความบริสุทธิ์ของธาตุ Li = 96.97%
Mn=98.23%, Co= 96.94%, Ni=97.43%
1. การรีไซเคิลแบตเตอรี่ลิเทียมต้องใช้พลังงานและสารเคมีปริมาณมากดังนั้นจึงจาเป็นต้องพิจารณาความคุ้มทุน
2. การผลิตแบตเตอรี่ต้องเป็นไปในมาตราฐานเดียวกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการรีไซเคิล
3. วิธีใช้สารละลายมีประสิทธิภาพสูงกว่าวิธีใช้ความร้อน เพราะสามารถที่จะเลือกแยกสกัดชนิดของโลหะได้ดีกว่า
- 21 -
สรุปการทบวรรณกรรม
ทิศทางการใช้รถยนต์ไฟฟ้ าและการรีไซเคิลแบตเตอรี่ในประเทศไทย
Ref:สถาบันยานยนต์ (2561)
ในประเทศไทย การรีไซเคิลแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนของรถยนต์
ไฟฟ้ าที่เสื่อมสภาพแล้ว จะถูกส่งไปรีไซเคิลยังต่างประเทศ เนื่องจาก
ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิตเซลล์แบตเตอรี่ชนิดนี้ และผลกาไรจากธุรกิจรี
ไซเคิลแบตเตอรี่นั้นค่อนข้างต่า
- 22 -
EVB
อ้างอิง (References)
Meaghan Foster, Paul Isely, Charles Robert Standridge, Md Mehedi Hasan. (2014). Feasibility assessment of
remanufacturing,repurposing, and recycling of end of vehicle application lithium-ion batteries. Journal of Industrial
Engineering and Management : 698-715 – Online ISSN: 2014-0953 – Print ISSN: 2014-8423
Charles R. Standridge, Ph.D. Lindsay Corneal, Ph.D. (2014). Remanufacturing, Repurposing, and Recycling of Post-Vehicle
Application Lithium-Ion Batteries. Mineta National Transit Research Consortium
Diekmann, J., Hanisch, C., Froböse, L., Schälicke, G., Loellhoeffel, T., Fölster, A. S., & Kwade, A. (2017). Ecological recycling of
lithium-ion batteries from electric vehicles with focus on mechanical processes. Journal of the Electrochemical Society,
164(1), A6184-A6191.
Gaines, L. (2014). The future of automotive lithium-ion battery recycling: Charting a sustainable course. Sustainable Materials and
Technologies, 1, 2-7.
Huang, B., Pan, Z., Su, X., & An, L. (2018). Recycling of lithium-ion batteries: Recent advances and perspectives. Journal of Power
Sources, 399, 274-286.
Yun, L., Linh, D., Shui, L., Peng, X., Garg, A., LE, M. L. P., ... & Sandoval, J. (2018). Metallurgical and mechanical methods for
recycling of lithium-ion battery pack for electric vehicles. Resources, Conservation and Recycling, 136, 198-208.
- 23 -
อ้างอิง (References)
Milan Bukvic, Ph.D. (2016). Recycling lithium – Ion battery. International scientific conference on defensive technologies
สถาบันยานยนต์ (2561). [ออนไลน์].รายงานการศึกษาธุรกิจการจัดการแบตเตอรี่ที่ใช้งานแล้ว. [สืบค้นวันที่ 15 กรกฎาคม 2562].จาก
http://www.thaiauto.or.th/2012/th/services/ev/pdf/research/2018/รายงานการศึกษาธุรกิจการจัดการแบตเตอรี่ที่ใช้แล้ว.pdf
- 24 -
WE CAN'T STOP BREATHING.
BUT WE CAN DO SOMETHING ABOUT THE QUALITY OF OUR AIR

More Related Content

What's hot

Battery recycling slide presentation
Battery recycling slide presentationBattery recycling slide presentation
Battery recycling slide presentation
Shan Lin
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
Som Kechacupt
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
BELL N JOYE
 
LIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTION
LIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTIONLIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTION
LIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTION
iQHub
 
NASA Presentation
NASA PresentationNASA Presentation
NASA Presentation
Gerry Flood
 

What's hot (20)

การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
Battery recycling slide presentation
Battery recycling slide presentationBattery recycling slide presentation
Battery recycling slide presentation
 
Recycling Technologies for li-ion batteries
Recycling Technologies for li-ion batteriesRecycling Technologies for li-ion batteries
Recycling Technologies for li-ion batteries
 
Nano-materials for Anodes in Lithium ion Battery - An introduction part 1
Nano-materials for Anodes in  Lithium ion Battery   - An introduction part 1Nano-materials for Anodes in  Lithium ion Battery   - An introduction part 1
Nano-materials for Anodes in Lithium ion Battery - An introduction part 1
 
4
44
4
 
New battery Regulation Opportunities and Criticalities by COBAT
New battery Regulation Opportunities and Criticalities by COBATNew battery Regulation Opportunities and Criticalities by COBAT
New battery Regulation Opportunities and Criticalities by COBAT
 
Shipping Lithium Battery in Safe way - Radharamanan Panicker (DGM India)
Shipping Lithium Battery in Safe way - Radharamanan Panicker (DGM India)Shipping Lithium Battery in Safe way - Radharamanan Panicker (DGM India)
Shipping Lithium Battery in Safe way - Radharamanan Panicker (DGM India)
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
The Materials Science of Lithium-Ion Batteries (Sept 2014)
The Materials Science of Lithium-Ion Batteries (Sept 2014)The Materials Science of Lithium-Ion Batteries (Sept 2014)
The Materials Science of Lithium-Ion Batteries (Sept 2014)
 
Types of lithium ion
Types of lithium ionTypes of lithium ion
Types of lithium ion
 
Recycling and Reusing of used lithium ion batteries
Recycling and Reusing of used lithium ion batteriesRecycling and Reusing of used lithium ion batteries
Recycling and Reusing of used lithium ion batteries
 
Electrochemistry of Lithium ion Battery
Electrochemistry of Lithium ion BatteryElectrochemistry of Lithium ion Battery
Electrochemistry of Lithium ion Battery
 
E-mobility | Part 3 - Battery recycling & power electronics (English)
E-mobility | Part 3 - Battery recycling & power electronics (English)E-mobility | Part 3 - Battery recycling & power electronics (English)
E-mobility | Part 3 - Battery recycling & power electronics (English)
 
Battery recycling
Battery recyclingBattery recycling
Battery recycling
 
IMPROVING COST AND SAFETY IN EV BATTERY MANUFACTURING VALUE CHAIN
IMPROVING COST AND SAFETY IN EV BATTERY MANUFACTURING VALUE CHAINIMPROVING COST AND SAFETY IN EV BATTERY MANUFACTURING VALUE CHAIN
IMPROVING COST AND SAFETY IN EV BATTERY MANUFACTURING VALUE CHAIN
 
LIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTION
LIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTIONLIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTION
LIB MATERIAL RECOVERY TECHNOLOGY AS A SUSTAINABLE AND SCALABLE SOLUTION
 
NASA Presentation
NASA PresentationNASA Presentation
NASA Presentation
 

Recycle of electric vehicle battery

  • 2. เค้าโครง (Outline) - 2 - EVB การรีไซเคิลแบตเตอรี่ในประเทศไทย5 ทบทวนวรรณกรรม4 การรีไซเคิลแบตเตอรี่3 แบตเตอรี่ในรถยนต์พลังงานไฟฟ้ า2 รถยนต์พลังงานไฟฟ้ า1
  • 3. บทนา (Introduction) การผลิตรถ EV จาหน่าย - 3 - CO2 CO2 CO2 CO2 แร่ธาตุ - Li, Ni, Co, Mn, Cu การผลิตแบตเตอรี่ -การผลิตเซลล์ -การประกอบแพ็ก ใช้ (7-10ปี) -แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ EVB รีไซเคิล -อุปกรณ์สารองพลังงาน -การกู้คืนของธาตุ
  • 4. ประเภทของรถยนต์พลังงานไฟฟ้ า - 4 - HEVHybrid Electric Vehicle รถยนต์ไฟฟ้ าไฮบริด BEVBattery ElectricVehicle รถยนต์ไฟฟ้ าแบบแบตเตอรี่ PHEVPlug-in Hybrid Electric Vehicle รถยนต์ไฟฟ้ าปลั๊กอินไฮบริด Ref: https://evcharging.enelx.com/news/blog/566-different-types-of-electric-vehicles
  • 5. ทาความรู้จักกับ รถยนต์พลังงานไฟฟ้ าแบตเตอรี่ 100% Lithium-Ion Battery แบตเตอรี่ลิเธียม ไอออน ทาหน้าที่เก็บพลังงานไฟฟ้ า ที่รับจากการชาร์จ Inverter อุปกรณ์แปลงกระแสไฟฟ้ า ทาหน้าที่ควบคุมและแปลงพลังงานไฟฟ้ า เพื่อส่งต่อไปยังมอเตอร์ไฟฟ้ า Ref: https://x-engineer.org/automotive-engineering/vehicle/electric-vehicles/anatomy-of-a-battery-electric-vehicle-bev/ Motor มอเตอร์ไฟฟ้ า ทาหน้าที่ส่งพลังงานที่ได้รับ จากอุปกรณ์แปลงไฟฟ้ า ไปยังเพลาเพื่อให้เกิดการ ขับเคลื่อน 1 2 3 - 5 - ความเงียบ ประหยัดค่าใช้จ่าย และค่าซ่อมบารุง ช่วยลดมลภาวะ ไม่ต้องเสียเวลา เพราะสามารถชาร์จ แบตได้ที่บ้านคุณ ข้อดี
  • 7. แบตเตอรี่ในยานยนต์ไฟฟ้ า (Battery in Electric Vehicles) แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด (Lead-Acid) • ราคาถูก • มีความทนทานสูง • น้าหนักเยอะ • จ่ายพลังงานได้ช้า • อายุการใช้งานสั้น - 7 - แบตเตอรี่นิกเกิล (Nickel) • กาลังไฟฟ้าสูง • Memory Effect แบตเตอรี่จะเก็บ พลังงานได้น้อยลงหลังจากทาการ ชาร์จบ่อยๆ แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน (Lithium-Ion) • น้าหนักเบา • ให้พลังงานสูง, คงที่ • ราคาแพง จากระบบป้องกัน แบตเตอรี่ Battery Management System (BMS)
  • 8. องค์ประกอบทั่วไปของแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน - 8 - Ref: Jan Diekmann et al. (2016) โมดูลแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน แพ็กแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนเซลล์แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน Cathode - Li - Ni - Co - Mn Anode - Cu
  • 9. เราจะจัดการกับ “แบตเตอรี่รถยนต์พลังงานไฟฟ้ า” ที่เสื่อมสภาพแล้วอย่างไร? Repack (การประกอบแพ็กใหม่ ) Reuse (การนากลับมาใช้ใหม่ ) Recycle (การรีไซเคิล ) แบตเตอรี่ที่เสื่อมสภาพแต่ยังคงมีความจุ แบตเตอรี่สูงกว่า 80% แบตเตอรี่นั้นจะ ถูกนามารีแพ็ก (Repack) เพื่อใช้ในรถยนต์พลังงานไฟฟ้ า ไม่สามารถซ่อมแซมจนมีความจุสูง กว่าร้อยละ 80 ได้จะถูกนาไปใช้เป็น อุปกรณ์สารองพลังงานโดยสามารถใช้ งานต่อได้อีก 4-5 ปี กรณีเช่นนี้จะถูก นามารียูส (Reuse) เพื่อใช้ในระบบกัก เก็บพลังงาน ในกรณีที่แบตเตอรี่เสียหายไม่สามารถ ใช้งานได้อีก จะถูกนาไปแยกส่วนเพื่อรี ไซเคิล (Recycle) โดยวัตถุดิบที่ได้จาก การ Recycle จะถูกนาไปผลิตเป็น แบตเตอรี่ใหม่ - 9 - > 80% < 80%
  • 10. ขั้นตอนการรีไซเคิลแบตเตอรี่ การเตรียมพร้อมก่อนรีไซเคิล (Pre-Processing) ลดความสามารถในการเกิดปฏิกิริยา (ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว, คายประจุ) การทาให้ชิ้นส่วนแบตเตอรี่แตกตัว (Cell disruption) แยกชิ้นส่วนแบตเตอรี่แตกตัวออกเป็นชิ้นเล็กๆ (วิธีทางกล, บด, อัด, ฉีก) การแยกวัสดุอื่น ๆ ออกจากแบตเตอรี่ (Thermal Treatment) อาศัยความร้อนในการแยกวัสดุ การแยกวัตถุดิบออกจากขั้วแอโนด-แคโทด (Dissolution) แช่ขั่วอิเล็กโทรดลงในสารละลาย การแยกคุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุ (Physical separation) แยกชิ้นส่วนตามขนาด, อานาจแม่เหล็ก, สมบัติทางไฟฟ้าของวัสดุ โลหะวิทยาแยกสกัด (Extractive metallurgy) อาศัยสารละลาย (Hydrometallurgy), อาศัยความร้อน (Pyrometallurgy) - 10 -
  • 12. Meaghan Foster et al. (2014) ได้ทาการประเมินความเป็นไปได้ของการรีไซเคิลแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนที่หมดอายุการ ใช้งานในรถยนต์ไฟฟ้า Chevy Volt ว่าจะทานามาผลิตใหม่,เปลี่ยนวัตถุประสงค์การใช้งาน หรือรีไซเคิล พบว่าส่วนใหญ่แบตเตอรี่ จะไม่สามารถนามาใช้ใหม่ได้ดังนั้นจึงต้องทาการรีไซเคิล การรีไซเคิลสามารถทาการกู้คืนแบตเตอรี่ได้สูงถึง 20% สามารถประเมินต้นทุนการรีไซเคิลอยู่ที่ $ 2.25 ต่อปอนด์ สาหรับแบตเตอรี่ Chevy Volt มีต้นทุนการรีไซเคิลอยู่ที่ $ 979 งานวิจัยได้ชี้ให้เห็นว่าการแยกชิ้นส่วนของแต่ละเซลล์เพื่อ นาไปรีไซเคิลนั้นไม่ได้คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ เว้นแต่ราคาตลาดของลิเธียมจะเพิ่มขึ้นประมาณยี่สิบเท่า 98.60 เหรียญสหรัฐต่อ กิโลกรัม แบตเตอรี่ Chevy Volt - 12 - นามาผลิตใหม่ เปลี่ยนวัตถุประสงค์ การใช้งาน รีไซเคิล ผ่านกระบวนการ รีไซเคิล คุ้มทุน ไม่คุ้มทุน
  • 13. • แบตเตอรี่ลิเธียมเหล็กฟอสเฟต (LiFePO4) • การรีไซเคิลแล้วสารพิษตกค้าง • มีขนาดความจุกระแสและกาลังไฟฟ้าสูงสุด • ไม่นิยมมารีไซเคิลแล้ว • แบตเตอรี่ลิเธียมโคบอลต์(LiCoO2) • การรีไซเคิลแล้วไม่สารพิษตกค้าง • มีขนาดความจุกระแสและกาลังไฟฟ้าต่ากว่า LiFePO4) • นิยมมารีไซเคิลได้แล้วนากลับไปใช้ใหม่ Ref: https://katanyoobattery.com/batterrylitium/ Ref: https://www.torqeedo.com/en/technology- and-environment/battery-technology.html CharlesR. and Lindsay (2014) ได้ใช้กรดเพื่อละลายวัสดุอิเล็กโทรดที่เป็นของแข็งหลังจากนั้นจะใช้วิธีการ สกัดตัวทาละลาย (Hydrometallurgy) วิธีการตกตะกอนผลที่ได้คือ โลหะทองแดง,อลูมิเนียมฟอยล์ โคบอลต์,นิกเกิล - 13 - เปรียบเทียบ
  • 14. Linda Gaines (2014) ได้ศึกษากระบวนการรีไซเคิลของแบตเตอรี่ Li-Ion ที่หมดอายุการใช้งาน พบว่าการรี ไซเคิลแบตเตอรี่ Li-Ion มีกระบวนการรีไซเคิลที่ซับซ้อนกว่าแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด Li-ion pack (Tesla electricvehicle) งานวิจัยนี้ยังชี้ให้เห็นอีกว่า ผู้ผลิตแบตเตอรี่สามารถส่งเสริมการรีไซเคิลได้ด้วยการ การออกแบบที่ช่วยให้แยก ชิ้นส่วนได้ง่าย รวมถึงการติดฉลากบอกถึงคุณสมบัติอื่นๆ ใช้วัสดุที่เป็นมาตรฐาน หลีกเลี่ยงสารพิษ ดังนั้นผู้ผลิตแบตเตอรี่ และผู้รีไซเคิลจะต้องทางานร่วมกันในการแก้ไขปัญหานี้ เพื่อให้เกิดการรีไซเคิลแบตเตอรี่ Li-Ion อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้ความร้อน แยก Cell ออกจาก Module แยกชิ้นส่วน โลหะผสม -สแลก Li, Al, Si, Cd, Fe, Mn -ก๊าซ ทาให้สะอาดก่อนปล่อย -โลหะผสมของ Cu, Co, Ni และ Fe - 14 - แบตเตอรี่ กระบวนการที่ใช้ ผลที่ได้ (Pyro-metallurgy)
  • 15. L. Yun et al. (2018) ได้ศึกษาคัดแยกแบตเตอรี่แบบกึ่งอัตโนมัติ และวิธีการสาหรับการรีไซเคิลของชุด แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนสาหรับรถที่ใช้ไฟฟ้า 1.การคายประจุของแบตเตอรี่ 2.รื้อโมดูลการใช้งานของแบตเตอรี่ 3.ถอดแยกชิ้นส่วน 4.เข้าสู่กระบวนการทางเคมี - 16 - โลหะผสมของ Co, Li และ Ni กระบวนการรีไซเคิลของแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน
  • 16. งานวิจัยนี้ได้นาเสนอกระบวนการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพด้วยระบบกึ่งอัตโนมัติของแบตเตอรี่ลิเทียม - 17 - การถอดชิ้นส่วนตามลาดับ 1. การทางานของพนักงาน 2. กล้อง 3. การประมวลผลภาพ 1. เกณฑ์ 2. ฐานข้อมูล 3. การแลกเปลี่ยนข้อมูล การตรวจจับ ระบบอัตโนมัติ ( AI ) 1. หุ่นยนต์ช่วยในการทางาน 2. การตัดด้วยเลเซอร์ 3. หุ่นยนต์อัตโนมัติ เครื่องจักรกลอัตโนมัติ แนวความคิด ข้อสรูปอ้างอิง เซลล์ การรีไซเคิลการนากลับมาใช้ใหม่ โมดูล ชุดแบตเตอรี่ ความเหมาะสม นโยบายรัฐบาลการรีไซเคิลที่มี ประสิทธิภาพและการรีไซเคิลสิ่งจูงใจ ด้านวิทยาศาตร์เทคโนโลยี โมดูล
  • 17. กระบวนการไฮบริด (Hybrid processes) มีการใช้ทั้งสองกระบวนการคือ (Hydro + Bio-metallurgy) ใช้สารละลาย,กระบวนการสกัดโลหะด้วยการใช้ความร้อน (Pyro metallurgy) ในการรีไซเคิล - 18 -
  • 18. Milan Bukvic (2016) ได้ศึกษากระบวนการรีไซเคิลของแบตเตอรี่ Li-Ion พบว่าการรีไซเคิลแบตเตอรี่ Li-Ion กระบวนการแบบ Vacuum pyrolysis รวมกับเทคนิค Hydrometallurgical เพื่อแยกโคบอลต์และลิเธียมจากแบตเตอรี่มาก ที่สุด หลังจากนั้นปรับสภาพของธาตุตามลาดับ การแยกวัสดุแบตเตอรี่ ปรับสภาพของธาตุขั้นที่ 1 ผลจากปรับสภาพ 1 ความบริสุทธิ์ของโคบอลต์ประมาณ 98% ในขณะที่ความบริสุทธิ์ของลิเธียมประมาณ 72% -19-
  • 19. ปรับสภาพของธาตุขั้นที่ 2 การสกัดด้วยตัวทาละลาย การตกตะกอนกระแสไฟฟ้าการตกผลึก และKalcinizacije เพื่อให้ได้วัสดุที่มีความบริสุทธิ์สูงสุด ผลจากปรับสภาพของธาตุขั้นที่ 2 ความบริสุทธิ์ที่ได้รับในกระบวนมีดังนี้: • ลิเธียม (Li) 96.97% • แมงกานีส (Mn) 98.23% • โคบอลต์ (Co) 96.94% • นิกเกิล (Ni) 97.43% - 20 -
  • 20. เปเปอร์ ประเภทแบตเตอรี่ กระบวนการรีไซเคิล ความสามารถของการรีไซเคิล อื่นๆ Meaghan Foster (2014) แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน การเปรียบเทียบความคุ้มทุนของการ รีไซเคิล การแยกชิ้นส่วนของแต่ละเซลล์เพื่อนาไป รีไซเคิลจะคุ้มทุนหรือไม่ รีไซเคิลนั้นไม่ได้คุ้มค่าทางเศรษฐกิจเว้นแต่ราคาตลาด ของลิเธียมจะเพิ่มขึ้น Charles (2014) แบตเตอรี่ Li-Ione (LiFePO4) แบตเตอรี่Li-Ione (LiCoO2) กรดสารละลายในการแยก (Hydrometallurgy) โลหะทองแดง,อลูมิเนียมฟอยล์, โคบอลต์ ,นิกเกิล แบตเตอรี่ LiFePO4 จะมีกฏระเบียบห้ามนามารี่ไซเคิลอีก เพราะจะส่งผลต่อสภาพแวดล้อม Linda Gaines (2014) แบตเตอรี่ Li-Ione (LiCoO2) ใช้ความร้อน (Pyrometallurgical) ได้โลหะผสมของ Cu, Co, Ni และ Fe กระบวนการรีไซเคิลนั้นก็จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานของ แบตเตอรี่การออกแบบ Bin Huang (2018) แบตเตอรี่ Li-Ione (LiCoO2) ความร้อน (Pyrometallurgical) สารละลาย (Hydrometallurgical) ใช้ความร้อน โลหะผสม สารละลาย ธาตุที่บริสุทธิ์ โลหะผสมที่ได้จะถูกนาไปใช้เป็นส่วนผสมของคอนกรีด ธาตุที่บริสุทธิ์ จะถุกนาไปผลิตแบตเตอรี่ L. Yun et al. (2018) แบตเตอรี่ Li-Ione (LiCoO2) ใช้ไฮบริด (Hybrid processes) Li, Co, Ni, Mn และ Fe เสนอกระบวนการคัดแยกแบบอัตโนมัติเพื่อความ ปลอดภัยและได้ประสิทธิภาพสูง Milan Bukvic (2016) แบตเตอรี่ Li-Ion กระบวนการVacuum pyrolysis รวม กับ Hydrometallurgical ความบริสุทธิ์ของธาตุ Li = 96.97% Mn=98.23%, Co= 96.94%, Ni=97.43% 1. การรีไซเคิลแบตเตอรี่ลิเทียมต้องใช้พลังงานและสารเคมีปริมาณมากดังนั้นจึงจาเป็นต้องพิจารณาความคุ้มทุน 2. การผลิตแบตเตอรี่ต้องเป็นไปในมาตราฐานเดียวกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการรีไซเคิล 3. วิธีใช้สารละลายมีประสิทธิภาพสูงกว่าวิธีใช้ความร้อน เพราะสามารถที่จะเลือกแยกสกัดชนิดของโลหะได้ดีกว่า - 21 - สรุปการทบวรรณกรรม
  • 21. ทิศทางการใช้รถยนต์ไฟฟ้ าและการรีไซเคิลแบตเตอรี่ในประเทศไทย Ref:สถาบันยานยนต์ (2561) ในประเทศไทย การรีไซเคิลแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนของรถยนต์ ไฟฟ้ าที่เสื่อมสภาพแล้ว จะถูกส่งไปรีไซเคิลยังต่างประเทศ เนื่องจาก ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิตเซลล์แบตเตอรี่ชนิดนี้ และผลกาไรจากธุรกิจรี ไซเคิลแบตเตอรี่นั้นค่อนข้างต่า - 22 - EVB
  • 22. อ้างอิง (References) Meaghan Foster, Paul Isely, Charles Robert Standridge, Md Mehedi Hasan. (2014). Feasibility assessment of remanufacturing,repurposing, and recycling of end of vehicle application lithium-ion batteries. Journal of Industrial Engineering and Management : 698-715 – Online ISSN: 2014-0953 – Print ISSN: 2014-8423 Charles R. Standridge, Ph.D. Lindsay Corneal, Ph.D. (2014). Remanufacturing, Repurposing, and Recycling of Post-Vehicle Application Lithium-Ion Batteries. Mineta National Transit Research Consortium Diekmann, J., Hanisch, C., Froböse, L., Schälicke, G., Loellhoeffel, T., Fölster, A. S., & Kwade, A. (2017). Ecological recycling of lithium-ion batteries from electric vehicles with focus on mechanical processes. Journal of the Electrochemical Society, 164(1), A6184-A6191. Gaines, L. (2014). The future of automotive lithium-ion battery recycling: Charting a sustainable course. Sustainable Materials and Technologies, 1, 2-7. Huang, B., Pan, Z., Su, X., & An, L. (2018). Recycling of lithium-ion batteries: Recent advances and perspectives. Journal of Power Sources, 399, 274-286. Yun, L., Linh, D., Shui, L., Peng, X., Garg, A., LE, M. L. P., ... & Sandoval, J. (2018). Metallurgical and mechanical methods for recycling of lithium-ion battery pack for electric vehicles. Resources, Conservation and Recycling, 136, 198-208. - 23 -
  • 23. อ้างอิง (References) Milan Bukvic, Ph.D. (2016). Recycling lithium – Ion battery. International scientific conference on defensive technologies สถาบันยานยนต์ (2561). [ออนไลน์].รายงานการศึกษาธุรกิจการจัดการแบตเตอรี่ที่ใช้งานแล้ว. [สืบค้นวันที่ 15 กรกฎาคม 2562].จาก http://www.thaiauto.or.th/2012/th/services/ev/pdf/research/2018/รายงานการศึกษาธุรกิจการจัดการแบตเตอรี่ที่ใช้แล้ว.pdf - 24 -
  • 24. WE CAN'T STOP BREATHING. BUT WE CAN DO SOMETHING ABOUT THE QUALITY OF OUR AIR