SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  48
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 4
การวางแผนโครงการซอฟต์แวร์
อ.ศันสนีย์ เลี้ยงพานิชย์
โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ
ขั้นตอนการวางแผนโครงการซอฟต์แวร์
0-1: การเลือกโครงการและการกาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์โครงการ
➢ การเลือกโครงการ (Select project) จัดเป็นขั้นตอนที่ 0 เนื่องจากเป็นขั้นตอนที่อยู่นอกกระบวนการวางแผนหลักของ
โครงการ โครงการที่เสนอไปอาจยังไม่ได้รับการอนุมัติให้จัดทา จะต้องมีกระบวนการในประเมินผลและการคัดเลือกโครงการก่อน
➢การคัดเลือกโครงการในบางครั้งอาจต้องอาศัยตัวแบบ (Model) การคัดเลือกโครงการ หรืออาศัยหลักการและทฤษฎีต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องมาช่วยในการตัดสินใจเลือกโครงการ
➢การกาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์โครงการ (Identify project scope and objectives) เป็นขั้นตอนที่ 1 ของ
ขั้นตอนการวางแผนโครงการซอฟต์แวร์
➢วัตถุประสงค์ของโครงการที่กาหนดนี้ต้องได้รับความเห็นชอบเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ทั้งทีมงานและผู้ว่าจ้าง
1:การกาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์โครงการ
1.1 การกาหนดวัตถุประสงค์และเกณฑ์วัดความสาเร็จของโครงการ
1.2 การระบุผู้ที่มีอานาจในโครงการ
1.3 การกาหนดผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
1.4 การปรับปรุงวัตถุประสงค์จากการวิเคราะห์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
1.5 การระบุวิธีการสื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
1.1: การกาหนดวัตถุประสงค์และเกณฑ์วัดความสาเร็จของโครงการ
➢ควรมีการกาหนดร่วมกันระหว่างผู้รับจ้างและผู้ว่าจ้าง หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ
➢หลักการ SMART ในการกาหนดวัตถุประสงค์ คือ
▪ ต้องชัดเจน (Specific)
▪ วัดผลได้ (Measurable)
▪ สามารถทาได้ (Achievable)
▪ สอดคล้องกับเป้าหมาย (Relevant)
▪ และมีการกาหนดระยะเวลา (Time constrained)
1.2การระบุผู้ที่มีอานาจในโครงการ
➢เพื่อให้มีความเป็นเอกภาพในการดาเนินงานของบุคคลากรทีมงานและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
➢ควรมีการแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ (Project board) เพื่อให้มองเห็นโครงสร้างในการบังคับ
บัญชา รวมทั้งบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการแต่ละส่วนงานในโครงการ
1.3การกาหนดผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
➢ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียแบ่งเป็น 3 ประเภท
 ทีมงานโครงการที่อยู่ในองค์กรเดียวกัน (Internal to the project team) เป็นผู้ที่ทางานโครงการและอยู่ภายในองค์กร
เดียวกัน อยู่ภายใต้การควบคุมการบริหารงานโดยตรงของหัวหน้าโครงการ
นอกทีมงานโครงการแต่อยู่ในองค์กรเดียวกัน (External to the project team but within the same
organization) เป็นผู้ที่ไม่ได้ทางานโครงการแต่เป็นบุคลากรที่ทางานอยู่ภายในองค์กรนี้และมีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ
เช่น หัวหน้าโครงการต้องการขอความอนุเคราะห์ผู้ใช้งานในองค์กรเพื่อทาการทดสอบระบบ อาจมีการเจรจาติดต่อเพื่อขอให้
ผู้ใช้งานภายในองค์กรมาเป็นผู้ทดสอบระบบให้ ผู้ใช้งานภายในองค์กรจัดว่าเป็นผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในประเภทนี้เป็นต้น
นอกทีมงานโครงการและอยู่ภายนอกองค์กร (External to both the project team and the
organization) เช่น ลูกค้า หรือผู้ใช้งานที่ได้รับประโยชน์จากการใช้งานระบบ หรืออาจเป็นผู้รับเหมาหรือผู้ที่ทาสัญญา
เพื่อดาเนินงานโครงการ
1.4การปรับปรุงวัตถุประสงค์จากการวิเคราะห์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
➢เพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อเสนอแนะ
➢เช่น การเพิ่มฟีเจอร์ (Features) ใหม่ที่จาเป็นสาหรับระบบ โดยฟีเจอร์ใหม่นี้จะทาให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วน
เสียนั้นได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้น ซึ่งจะทาให้มั่นใจได้ว่าโครงการจะได้รับการยอมรับ
➢ระบบงานอาจมีขนาดใหญ่ขึ้นและวัตถุประสงค์เดิมอาจถูกบดบังไป
➢ดังนั้นในกระบวนการนี้จะต้องมีการควบคุม มีการพิจารณาความจาเป็นและความเหมาะสมในการ
ปรับปรุงวัตถุประสงค์และดาเนินการอย่างรอบคอบ
1.5การระบุวิธีการสื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
➢ การประสานงานภายในทีมงาน ควรมีการสื่อสารอย่างตรงไปตรงมาและควรกาหนดวิธีการในการ
สื่อสารภายในทีมงานที่ชัดเจน
➢แต่สาหรับการสื่อสารกับภายนอก ผู้บริหารโครงการอาจต้องมีวิธีการในการติดต่อประสานงานที่สะดวก
รวดเร็ว ควรมีการกาหนดแผนในการติดต่อสื่อสาร (Communication plan) กับผู้ที่เกี่ยวข้อง
ทั้งหมด
➢เช่น มีการนัดประชุมและส่งรายงานความก้าวหน้าของการดาเนินงานทุกวันศุกร์ของสัปดาห์
➢นอกจากนี้ในกรณีที่มีความจาเป็นเร่งด่วน อาจต้องมีการติดต่อโดยการใช้โทรศัพท์หรือใช้ช่องทางสื่อสาร
อื่นที่สะดวกรวดเร็วตามที่ได้ตกลงกันไว้ และมีบุคลากรหรือทีมงานที่รับผิดชอบเข้ามาแก้ปัญหาได้
ทันท่วงที ก็จะไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย
2: การกาหนดโครงสร้างพื้นฐานของโครงการ
➢การกาหนดโครงสร้างพื้นฐานของโครงการ (Identify project infrastructure) เป็นขั้นตอนที่ 2 ของ
กระบวนการวางแผนโครงการซอฟต์แวร์
➢เป็นขั้นตอนที่สามารถดาเนินการไปพร้อม ๆ กับขั้นตอนของการกาหนดขอบเขตและวัตถุประสงค์โครงการ
➢การกาหนดโครงสร้างพื้นฐานของโครงการใหม่ ควรมีการพิจารณาโครงสร้างเดิมที่มีอยู่ด้วย การกาหนดโครงสร้างพื้นฐาน
ของโครงการที่มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมขององค์กร มีกิจกรรมสาคัญที่ต้องดาเนินการดังนี้
2.1 การระบุความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและแผนกลยุทธ์
2.2 การระบุมาตรฐานและกระบวนการที่ใช้ในการติดตั้ง
2.3 การกาหนดโครงสร้างของทีมงานโครงการ
2.1:การระบุความสัมพันธ์ระหว่างโครงการและแผนกลยุทธ์
➢โครงการซอฟต์แวร์ที่ผ่านการคัดเลือกเข้ามามีความสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ขององค์กร
➢การกาหนดกรอบทางเทคนิคที่มีความเหมาะสมกับระบบใหม่ ทั้งในเรื่องมาตรฐานฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
➢การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ทางด้านเทคนิคนี้ควรได้รับการบันทึกไว้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสถาปัตยกรรมขององค์กร
(Enterprise architecture) และการปฏิบัติตามสถาปัตยกรรมขององค์กรนี้จะทาให้มั่นใจได้ว่า โครงการซอฟต์แวร์ที่จะ
สร้างขึ้นมาจะสามารถใช้งานและเข้ากันได้กับระบบเดิม รวมทั้งในส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่มีความแตกต่างกัน
2.2การระบุมาตรฐานและกระบวนการที่ใช้ในการติดตั้ง
➢ควรกาหนดวิธีการการดาเนินงานตามวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์
➢กาหนดมาตรฐานขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์จะทาให้สามารถติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
ของผลผลิตในแต่ละขั้นตอนได้ง่าย
➢PRINCE2 (Projects in controlled environments) เป็นเทคนิคที่ใช้ในการบริหาร
โครงการที่ได้รับการยอมรับ มีการเผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1989 เครื่องมือนี้จะรวบรวมสภาวะแวดล้อมที่
เกี่ยวกับการจัดทาโครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถแตกงานในโครงการออกเป็นกิจกรรมต่าง ๆ
มีรายละเอียดกิจกรรม มีขั้นตอนที่เป็นพื้นฐาน และสามารถปรับแต่งให้เหมาะสมกับกับเงื่อนไขต่าง ๆ ตาม
หลักการบริหารโครงการได้
เทคนิคการวางแผนPRINCE2
➢เครื่องมือนี้ได้รับการยอมรับและเป็นที่
นิยมใช้
➢แต่ก็ไม่ได้ประกาศให้เป็นมาตรฐานที่
ทุกองค์กรควรต้องนาไปใช้ เนื่องจาก
ข้อจากัดในการประยุกต์ให้เหมาะสมกับ
ขนาดขององค์กร ซึ่งองค์กรขนาดใหญ่จะ
มีการใช้งานที่คุ้มค่ากว่าการนาไปใช้ใน
องค์กรขนาดเล็ก
2.3การกาหนดโครงสร้างของทีมงานโครงการ
➢เป็นการกาหนดแผนผังแสดงตาแหน่งงานและผู้รับผิดชอบงานโครงการ มีเส้นโยงความสัมพันธ์ของงาน
ต่าง ๆ เหล่านั้นตามลาดับชั้นตามสายการบังคับบัญชา
➢การกาหนดโครงสร้างของทีมงานโครงการที่ชัดเจนจะทาให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ทีมงานจะทราบขอบเขตงานของตนเองรวมทั้งการเชื่อมโยงงาน การติดต่อประสานงานกับสายงานที่
เกี่ยวข้อง ส่งผลให้การควบคุมและติดตามงานทาได้ง่าย
3: การวิเคราะห์คุณลักษณะของโครงการ
➢การพัฒนาโครงการซอฟต์แวร์ต้องทบทวนระเบียบวิธี (Methodology) รวมถึงการเลือกเทคโนโลยีที่จะนามาใช้ในโครงการ
ในขั้นตอนนี้เรียกว่า “Technical Study” หรือเพราะการวิเคราะห์คุณลักษณะของโครงการจะมีผลต่อการกาหนดรูปแบบ
ของการวางแผนโครงการ การวิเคราะห์คุณลักษณะของโครงการ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้แน่ใจว่าได้มีการเลือกวิธีการในการ
ดาเนินงานโครงการได้ถูกต้องเหมาะสม
➢การพิจารณาตัดสินใจสร้างหรือซื้อ (Build or buy ?)
➢การพัฒนาโปรแกรมขึ้นมาใช้งานเอง (In-house)
➢การว่าจ้างบริษัทภายนอกเข้ามาพัฒนาระบบงาน (Out-source)
➢ในการพัฒนาโปรแกรม ไม่ว่าจะพัฒนาขึ้นมาใช้งานเอง หรือว่าจ้างบริษัทภายนอกเข้ามาพัฒนา เป้าหมายคือต้องได้โปรแกรมที่
ตรงกับความต้องการของหน่วยงานในองค์กร แต่ในขณะเดียวกันองค์กรหรือหน่วยงานนั้นจะต้องมีการศึกษาความเป็นไปได้ใน
ด้านต่าง ๆ ด้วย
ตัวอย่างระเบียบวิธีและเทคโนโลยีที่สามารถเลือกใช้งานได้
ตัวอย่างระเบียบวิธีและเทคโนโลยีที่สามารถเลือกใช้งานได้
3: การวิเคราะห์คุณลักษณะของโครงการ
3.1 การจาแนกความแตกต่างระหว่างวัตถุประสงค์และผลิตภัณฑ์ของโครงการ
3.2 การวิเคราะห์คุณลักษณะอื่น ๆ ของโครงการ
3.3 การกาหนดระดับความเสี่ยงโครงการ
3.4 การคานึงถึงความต้องการของผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน
3.5 การเลือกรูปแบบวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์
3.6 การทบทวนการประมาณการทรัพยากรโดยรวม
3.1การจาแนกความแตกต่างระหว่างวัตถุประสงค์และผลิตภัณฑ์ของ
โครงการ
➢เพื่อให้ทราบว่าโครงการควรจะเน้นผลลัพธ์ไปที่วัตถุประสงค์ (Objective) หรือตัวผลิตภัณฑ์ (Product)
➢การดาเนินงานโครงการซอฟต์แวร์ในปัจจุบัน ต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ
➢ต้องมีการกาหนดผลลัพธ์หรือผลิตภัณฑ์ที่จะได้รับจากการดาเนินงานโครงการด้วย
➢ลูกค้าต้องการผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้และตรงตามความต้องการ
➢ผู้รับผิดชอบโครงการก็ต้องการให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ตั้งไว้
➢ดังนั้นในการดาเนินงานโครงการซอฟต์แวร์ควรเน้นทั้ง 2 ส่วน ทั้งในส่วนของวัตถุประสงค์และตัวผลิตภัณฑ์ที่
จะได้รับ
3.2การวิเคราะห์คุณลักษณะอื่นๆของโครงการ
➢โครงการประเภท “data-oriented system” หมายถึง ระบบสารสนเทศ (Information system) ที่มีการทางาน
โดยใช้ฐานข้อมูลเป็นหลัก
➢โครงการประเภท “process- oriented system” หมายถึง ระบบแบบฝังตัว (Embedded system)
➢ตัวอย่างโครงการประเภทระบบสารสนเทศ เช่น การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เป็นระบบสารสนเทศใช้ภายในองค์กร ส่วนโครงการประเภท
ระบบแบบฝังตัว มักเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ โดยมีระบบควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์นั้น เช่น โปรแกรมควบคุมการเปิดปิดไฟหรือ
เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น
➢ดังนั้นการที่ทราบว่าระบบมีคุณลักษณะอย่างไรทาให้สามารถเลือกได้ว่าจะใช้แนวทางการพัฒนาแบบใด เช่น ใช้แนวทางเชิง
โครงสร้าง (Structured Approach) หรือว่าจะใช้แนวทางเชิงวัตถุ (Object-Oriented Approach) เป็นต้น
3.2การวิเคราะห์คุณลักษณะอื่นๆของโครงการ
➢การพิจารณาว่าซอฟต์แวร์ที่จะสร้างนี้เป็นประเภท เครื่องมือที่ใช้งานได้ทั่วไป (General tools) เช่น โปรแกรม
ประมวลผลคา (Word processing package) โปรแกรมที่เป็นลักษณะตารางการคานวณที่เรียกว่า สเปรดชีต
(Spreadsheet package) หรือว่าเป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาใช้งานเฉพาะ (Application Specific) เช่น
โปรแกรมจองตั๋วเครื่องบิน
➢นอกจากนี้ยังสามารถพิจารณาคุณลักษณะของโครงการว่า เป็นโครงการที่ต้องเน้นในเรื่องของระบบความปลอดภัย ซึ่งจะ
ส่งผลต่อชีวิตมนุษย์หรือไม่ หากใช้ จะได้เน้นในเรื่องของกระบวนการสร้างและการทดสอบระบบ หรือมาตรฐานที่จาเป็นต้อง
ใช้ เป็นต้น
➢การพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปในการทางานของระบบ รวมทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ก็เป็นอีกปัจจัยที่จะส่งผล
ต่อการพิจารณาเลือกวิธีการหรือแนวทางในการพัฒนาโครงการที่เหมาะสม
➢นอกจากการวิเคราะห์คุณลักษณะของโครงการดังที่กล่าวมาแล้ว ในส่วนนี้ยังรวมไปถึงเรื่องคุณภาพของระบบด้วย เช่น
การคานวณหาระยะเวลาที่ใช้ในการทางาน (Response time) ต่อการดาเนินงาน 1 รายการ
3.3การกาหนดระดับความเสี่ยงโครงการ
➢ต้องมีการระบุปัจจัยเสี่ยงของโครงการ พร้อมทั้งวิธีการแก้ไข หากมีสิ่งที่ไม่คาดคิดนั้นเกิดขึ้น
➢ตัวอย่างเช่นบริษัทแห่งหนึ่งพบปัจจัยเสี่ยง คือ ระบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นมาใช้ อาจจะเกิดปัญหาถ้ามีการควบคุมดูแลโดย
พนักงานที่มีอยู่ วิธีการแก้ปัญหาคือ จ้างที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญมาเพื่อให้คาแนะนา เพื่อให้สามารถใช้งานระบบใหม่ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
➢นอกจากนี้ในบางครั้ง ความเสี่ยงอาจจะเกิดจากการวางแผนไม่ครอบคลุมปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทาให้เกิดวามไม่แน่นอน
(Uncertainty) เช่น ความต้องการของลูกค้าไม่ชัดเจนหรือไม่สมบูรณ์ ทาให้ไม่สามารถประมาณการแรงงานได้
➢ความไม่แน่นอน ที่อาจสร้างความเสียหายกับโครงการ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ความไม่แน่นอนของผลิตภัณฑ์
(Product uncertainty) ความไม่แน่นอนของกระบวนการ (Process uncertainty) และความไม่แน่นอนของ
ทรัพยากร (Resource uncertainty)
➢ความเสี่ยงของโครงการจะมีผลต่อการกาหนดงาน (Task) ในโครงการ หากทราบปัจจัยเสี่ยงและวิธีการแก้ไขจะสามารถ
กาหนดงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะต้องดาเนินการในโครงการได้อย่างเหมาะสม
3.4การคานึงถึงความต้องการของผู้ใช้ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน
➢การคานึงถึงความต้องการของผู้ใช้งานที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงาน รวมถึงการพิจารณาข้อจากัดต่าง ๆ
หรือสิ่งที่มีอยู่ก่อนแล้ว จะทาให้ได้ข้อมูลบางส่วนเพื่อให้สามารถนามาปรับใช้และสร้างแผนงานโครงการที่
มีความเหมาะสมและตรงตามความต้องการได้
➢เช่น อาจต้องพิจารณาว่าลูกค้าต้องการให้ใช้มาตรฐานอะไรในการดาเนินงานโครงการ เช่น มาตรฐาน
PRINCE2 มาตรฐาน SSADM เป็นต้น
3.5การเลือกรูปแบบวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์
➢พิจารณาตามความเหมาะสมกับโครงการ
➢รูปแบบวงจรชีวิตการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบดั้งเดิมที่นิยมใช้และได้รับการยอมรับ เช่น รูปแบบน้าตก (Waterfall life cycle
model)
➢รูปแบบวงจรชีวิตแบบต้นแบบ (Prototyping life cycle model)
➢รูปแบบวงจรชีวิตแบบเพิ่ม (Incremental life cycle model)
➢รูปแบบวงจรชีวิตแบบก้นหอย (Spiral life cycle model)
➢เทคนิคการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบใหม่ที่เรียกว่าอาไจล์ (Agile)
3.6การทบทวนการประมาณการทรัพยากรโดยรวม
➢ เป็นการทบทวนดูว่าทรัพยากรโครงการที่ได้มีการประมาณการไว้แล้วนั้นเพียงพอหรือไม่ในแต่ละ
กิจกรรมและทั้งโครงการ ทั้งในส่วนของค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และแรงงานที่ใช้ในการดาเนินงานโครงการ
พิจารณาดูว่ามีความเหมาะสมหรือไม่
➢ โดยส่วนใหญ่ขั้นตอนนี้จะมีการประมาณการจากบนลงล่าง (Top-down estimates)
4: การกาหนดผลิตภัณฑ์และกิจกรรมของโครงการ
➢การกาหนดผลิตภัณฑ์และกิจกรรม (Identify project products and activities) เป็นขั้นตอนที่ 4 ของ
ขั้นตอนการวางแผนโครงการซอฟต์แวร์ การกาหนดผลิตภัณฑ์และกิจกรรมของโครงการ ในขั้นตอนนี้มีรายละเอียดกิจกรรม
ที่ต้องดาเนินการดังนี้
4.1 การกาหนดผลิตภัณฑ์และคาอธิบายผลิตภัณฑ์โครงการ
4.2 เอกสารการไหลของผลิตภัณฑ์
4.3 การจาแนกผลิตภัณฑ์ย่อยของโครงการ
4.4 การสร้างข่ายงานกิจกรรม
4.5 การปรับเปลี่ยนที่เหมาะสาหรับระยะเวลาแต่ละกิจกรรม
4.1:การกาหนดผลิตภัณฑ์และคาอธิบายผลิตภัณฑ์โครงการ
➢เพื่อให้ทราบว่าโครงการต้องดาเนินการผลิตหรือสร้างอะไรบ้าง และจะได้ผลลัพธ์อะไร ในขั้นตอนนี้อาจใช้เทคนิคของการแตก
โครงสร้างงาน (Work breakdown structure : WBS) เข้ามาช่วย
➢ผลิตภัณฑ์ที่กล่าวถึงนี้อาจรวมถึงสิ่งต่าง ๆ ที่จับต้องได้ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการติดตั้งซอฟต์แวร์เรียบร้อยแล้ว เอกสารที่มี
ข้อมูลเชิงเทคนิค ผู้ใช้งานที่ผ่านการอบรมการใช้ซอฟต์แวร์ และซอฟต์แวร์เวอร์ชันใหม่ที่ผ่านการปรับปรุงแล้ว เป็นต้น
➢ นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์อาจอยู่ในรูปแบบของกิจกรรม เช่น กิจกรรมการอบรม อยู่ในรูปแบบของเหตุการณ์ เช่น การสัมภาษณ์ที่
ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว หรืออยู่ในรูปแบบของทรัพยากรหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
➢ผลิตภัณฑ์อาจเป็นสิ่งที่สามารถส่งมอบได้เลย เช่น ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเสร็จเรียบร้อยแล้ว หรืออาจเป็นชิ้นส่วนหรือส่วนประกอบที่
อยู่ในระหว่างกระบวนการผลิตก็ได้
➢ผลิตภัณฑ์โครงการนี้สามารถแสดงให้อยู่ในรูปแผนผังโครงสร้างผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า (Product breakdown
structure : PBS) ซึ่งแสดงผลิตภัณฑ์หลักและผลิตภัณฑ์ย่อยของโครงการ
คาอธิบายผลิตภัณฑ์
▪รหัสผลิตภัณฑ์ (Product identity)
▪คาอธิบายผลิตภัณฑ์ (Description)
▪ที่มาของผลิตภัณฑ์ (Derivation)
▪องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ (Composition)
▪รูปแบบของผลิตภัณฑ์ (Format)
▪มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง (Relevant standards)
▪เงื่อนไขคุณภาพ (Quality criteria)
4.2เอกสารการไหลของผลิตภัณฑ์
➢ใช้แผนผังแสดงลาดับการไหลของผลิตภัณฑ์
(Product flow diagram : PFD)
➢เป็นแผนผังที่ช่วยในการอธิบายความสัมพันธ์
และการไหลของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งโดยปกติทั่วไปแล้ว แผนผังแสดงลาดับการ
ไหลของผลิตภัณฑ์นี้จะวาดจากบนลงล่างและ
จากซ้ายไปขวา
4.3การจาแนกผลิตภัณฑ์ย่อยของโครงการ
➢แผนผังโครงสร้างผลิตภัณฑ์ (PBS) และแผนผังแสดงลาดับการไหลของผลิตภัณฑ์ (PFD) ซึ่งได้
แสดงในส่วนของผลิตภัณฑ์โครงการโดยทั่วไป
➢ เช่น ผลิตภัณฑ์โมดูล แต่ในส่วนนี้ผลิตภัณฑ์โมดูล หรือ ซอฟต์แวร์โมดูลอาจแยกออกมาเป็น โมดูล A
และ โมดูล B โดยมีการวางแผนและกาหนดรายละเอียดการดาเนินงานในแต่ละโมดูลย่อยนั้นอย่างชัดเจน
แต่ในหลาย ๆ โครงการจะมีการกาหนดรายละเอียดและการวางแผนในภายหลัง
4.4การสร้างข่ายงานกิจกรรม
การสร้างข่ายงานกิจกรรม (Activity network) เพื่อที่จะแสดงให้เห็นถึงกิจกรรมทั้งหมดที่จะ
ดาเนินการ การสร้างข่ายงานอาจสร้างมาจากแผนผังแสดงการไหลของกิจกรรม โดยในหนึ่งผลิตภัณฑ์อาจ
มีการแบ่งเป็นหลายกิจกรรม
4.5การปรับเปลี่ยนที่เหมาะสาหรับระยะเวลาแต่ละกิจกรรม
➢ การกาหนดระยะเวลาของกิจกรรมที่มีความเหมาะสมจะทาให้สามารถดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ได้ตามระยะเวลาที่ตั้งไว้
อย่างไรก็ตาม ยังมีความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงระยะเวลาของกิจกรรม รวมทั้งกิจกรรมย่อย ๆ ให้มีความเหมาะสม
เพื่อให้สามารถติดตามและตรวจสอบได้
➢ในขณะเดียวกันทีมงานหรือบุคลากรที่รับผิดชอบจะต้องกาหนดวิธีการในการตรวจสอบกิจกรรมว่ามีการดาเนินงาน
เรียบร้อยหรือไม่ เพื่อรายงานให้ผู้จัดการโครงการทราบ
➢“Milestone” ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ไม่ต้องการเวลา ไม่ต้องกาหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของกิจกรรมเหมือนกับ
กิจกรรมอื่น แต่จะเป็นจุดที่ใช้บอกความก้าวหน้าของการดาเนินงานโครงการ หรือเป็นจุดที่ใช้บอกขั้นตอนสาคัญที่ได้
ดาเนินการแล้ว เช่น จุดที่ใช้กาหนดว่าต้องมีการส่งรายงานความก้าวหน้าของโครงการ ในส่วนนี้อาจมีการเพิ่มกิจกรรม
ดังกล่าวเข้าไป
5:การประมาณการแรงงานสาหรับแต่ละกิจกรรม
➢การประมาณการแรงงานสาหรับแต่ละกิจกรรม (Estimate effort for each activity) เป็นขั้นตอนที่ 5 ของ
ขั้นตอนการวางแผนโครงการซอฟต์แวร์
➢การประมาณการแรงงานสาหรับแต่ละกิจกรรมเมื่อนามารวมกันแล้วจะทาให้ทราบแรงงานทั้งหมด สามารถนามาคานวณ
เพื่อหาค่าใช้จ่ายรวมของโครงการได้
➢ในขั้นตอนนี้มีรายละเอียดกิจกรรมที่ต้องดาเนินการดังนี้
5.1 การประมาณการจากล่างขึ้นบน
5.2 การทบทวนแผนการสร้างกิจกรรมที่สามารถควบคุมได้
5.1การประมาณการจากล่างขึ้นบน
➢ การประมาณการจากล่างขึ้นบน (Bottom-up estimates) เป็นรูปแบบที่ใช้ในการประมาณโครงการเป็น
ส่วนมาก โดยทาการแบ่งโครงการออกเป็นโมดูลย่อย ๆ แล้วประมาณการจากโมดูลเหล่านี้โดยนาค่าประมาณการในแต่ละ
โมดูลมารวมกัน ในส่วนนี้จะเกี่ยวกับเวลา แรงงาน-ชั่วโมง สัปดาห์ หรือเดือนที่ต้องใช้ในแต่ละโมดูล
➢ความแตกต่างที่ต้องพิจารณาคือเรื่องของแรงงานและระยะเวลางาน โดยแรงงาน (Effort) หมายถึง กาลังคนหรือ
แรงงานที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ อาจมีหน่วยเป็น man-month หรือ man-day หรือ person-hours
➢เช่น ในการพัฒนางานโมดูลหนึ่งต้องใช้คนทางาน 3 คน ทาเสร็จในเวลา 2 วัน ดังนั้นคิดเป็น 6 man-day ส่วน
ระยะเวลางาน (Elapsed time) หมายถึง ระเวลาตั้งแต่เริ่มต้นทางานจนกระทั่งเสร็จงานนั้น ซึ่งอาจจะมากกว่าแรงงาน
เช่น กิจกรรมการเก็บข้อมูล อาจใช้เวลาจริง ๆ แค่ 1 วัน แต่ระยะเวลาทั้งหมดของกิจกรรมนี้คือ 2-3 วันเพราะต้องรวมกับ
ระยะเวลาในการส่งเอกสารไปและส่งกลับคืนมา เป็นต้น
5.2การทบทวนแผนการสร้างกิจกรรมที่สามารถควบคุมได้
➢ การปรับแผนเพื่อสร้างกิจกรรมที่สามารถควบคุมให้เป็นไปตามที่กาหนดได้ เช่น กาหนดให้มีการ
รายงานผลการดาเนินงานทุกสัปดาห์ มีการสร้างตารางงานเพื่อตรวจสอบว่าได้มีการมอบหมายงานให้ใคร
รับผิดชอบ และมีกาหนดส่งงานเมื่อไร เพื่อให้สามารถติดตามผลการดาเนินงานได้
➢ระยะเวลาที่กาหนดในการรายงานผลควรมีความเหมาะสมกับกิจกรรม เช่น ทางานไป 2 สัปดาห์แล้ว
กาหนดให้มีการรายงานผล บางกิจกรรมที่มีระยะเวลาในการดาเนินงานยาวนาน เช่น ใช้เวลา 12 สัปดาห์
อาจต้องมีการแบ่งช่วงเพื่อให้มีการรายงานผล แต่บางกิจกรรมที่มีระยะเวลาในการดาเนินงานสั้นและมี
ความสัมพันธ์กัน สามารถรวมกลุ่มเข้าด้วยกันได้ แล้วควบคุมโดยการตรวจเช็คแต่ละงานนั้น
6: การกาหนดกิจกรรมความเสี่ยง
การกาหนดกิจกรรมความเสี่ยง (Identify activity risks) เป็นขั้นตอนที่ 6 ของกระบวนการวางแผน
โครงการซอฟต์แวร์ ในขั้นตอนนี้มีกิจกรรมหลักที่ต้องดาเนินการดังนี้
6.1 การกาหนดกิจกรรมความเสี่ยงพื้นฐาน
6.2 วางแผนลดความเสี่ยงและมาตรการฉุกเฉินที่เหมาะสม
6.3 ปรับปรุงแผนและประเมินความเสี่ยง
6.1การกาหนดกิจกรรมความเสี่ยงพื้นฐาน
➢ ความเสี่ยง คือ โอกาสหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายของโครงการ
➢ในขั้นตอนที่ 3 ของการวางแผนโครงการซอฟต์แวร์ที่ผ่านมาแล้ว คือ ขั้นตอนของการวิเคราะห์คุณลักษณะของโครงการ
ได้มีการประเมินความเสี่ยงของโครงการในภาพรวมไปแล้ว แต่ในส่วนนี้จะเป็นการพิจารณาความเสี่ยงของแต่ละกิจกรรม
โดยการพิจารณาทุกกิจกรรมในโครงการ แล้วระบุความเสี่ยง อาจระบุเป็นความเสี่ยงด้านต้นทุน ระยะเวลา บุคลากร
6.2วางแผนลดความเสี่ยงและมาตรการฉุกเฉินที่เหมาะสม
➢ เป้าหมายของการวางแผนเพื่อจัดการความเสี่ยงนั้นมีกลยุทธ์ 3 ประการ คือ การยอมรับ
(Acceptance) การป้องกัน (Prevention) และการถ่ายโอน (Transfer)
➢การยอมรับจะถูกเลือกใช้เมื่อไม่มีทางเลือกในการจัดการความเสี่ยงนั้น และพร้อมที่จะเผชิญหน้า
➢ส่วนการป้องกัน เป็นการดาเนินการเพื่อไม่ให้เกิดความเสี่ยงหรือเกิดความเสี่ยงในระดับที่สามารถยอมรับได้
➢การถ่ายโอน จะใช้เมื่อความเสี่ยงมีระดับความรุนแรงน้อยและต้องการกาจัดออกไป สามารถทาได้โดยการ
เตรียมการรับมือไว้ล่วงหน้า
➢ผู้บริหารโครงการต้องวางแผนความเสี่ยงโดยระบุกลยุทธ์ แผนงาน หรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่สอดคล้อง เพื่อ
จัดการกับความเสี่ยงนั้น
การกาหนดมาตรการฉุกเฉินหรือแผนฉุกเฉิน
➢การกาหนดมาตรการฉุกเฉินหรือแผนฉุกเฉิน (Contingency plan) ในกรณีที่ความเสี่ยงนั้นได้เกิดขึ้นแล้วและ
จาเป็นต้องแก้ปัญหาอย่างเร่งเด่น จะมีวิธีการในการจัดการแก้ปัญหาอย่างไร
➢ตัวอย่างเช่น ความเสี่ยงในกรณีพนักงานที่รับผิดชอบงานนั้นไม่สามารถมาทางานได้ แต่งานนั้นเป็นงานเร่งด่วน จะมี
แผนในการแก้ปัญหาอย่างไร เช่น หาพนักงานคนอื่นมาทางานแทนได้เลย ซึ่งความเป็นจริงแล้วเป็นเรื่องยากที่พนักงาน
จะสามารถทางานแทนกันได้ทันที อาจต้องเสียเวลาในการศึกษาก่อนจะเริ่มทางาน ซึ่งก็ไม่สามารถคาดได้ว่างานจะ
เสร็จทันเวลาหรือไม่ ดังนั้นจึงต้องมีการกาหนดแผนฉุกเฉินที่สามารถแก้ปัญหาได้ทันที
6.3ปรับปรุงแผนและประเมินความเสี่ยง
➢ในบางครั้งอาจต้องมีการปรับปรุงแผนงานเพื่อให้สอดคล้องกับกิจกรรมที่ต้องดาเนินการ อาจมีการ
ปรับปรุงแผนโดยการเพิ่มกิจกรรมที่จะช่วยลดความเสี่ยง
➢ตัวอย่าง กิจกรรมการฝึกอบรม (Training) ให้พนักงานก่อนในกรณีที่จาเป็นต้องมีการใช้
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใหม่ในการพัฒนาระบบ
➢กิจกรรมการเก็บรวบรวมข้อมูล (Information gathering) กิจกรรมการทดลองในจุดเล็กๆ ก่อน
ถ้าได้ผลดีแล้วจึงทาต่อ (Pilot trials) เป็นต้น
➢กิจกรรมต่าง ๆ ที่เพิ่มเข้าไปอาจจะไม่ใช่กิจกรรมหลักที่จาเป็น แต่จะมีส่วนช่วยในการลดความเสี่ยงของ
โครงการได้
7: การจัดการทรัพยากรโครงการ
การจัดการทรัพยากรโครงการ (Resource allocation) เป็นขั้นตอนที่ 7 ของกระบวนการ
วางแผนโครงการซอฟต์แวร์ ในขั้นตอนนี้มีรายละเอียดกิจกรรมที่ต้องดาเนินการดังนี้
7.1 กาหนดและจัดการทรัพยากร
7.2 การทบทวนแผนและประมาณการทรัพยากรที่มีจากัด
7.1กาหนดและจัดการทรัพยากร
➢ทรัพยากรโครงการประกอบด้วย คน เงิน ระยะเวลา รวมทั้งวัสดุ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งจะต้องมีการกาหนดและจัดสรรทรัพยากร
เหล่านี้ให้มีความเหมาะสมสาหรับแต่ละกิจกรรมในโครงการ
➢สาหรับโครงการซอฟต์แวร์ ควรมีการพิจารณาความเหมาะสม
ของทรัพยากรโดยเฉพาะทีมงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละ
ขั้นตอนตามวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งได้แก่ขั้นตอน
การกาหนดความต้องการ การออกแบบ การสร้าง และการ
ทดสอบระบบ
➢โดยทั่วไปในขั้นตอนของการกาหนดความต้องการและการ
ออกแบบ จะใช้ทีมงานน้อยกว่าขั้นตอนของการสร้างและการ
ทดสอบระบบ
7.2การทบทวนแผนและประมาณการทรัพยากรที่มีจากัด
➢ การทบทวนแผนและการประมาณการทรัพยากรตามเงื่อนไข
เพื่อให้มีความเหมาะสม เช่น ทรัพยากรบุคคล อาจมีคนที่
รับผิดชอบงานโครงการมากกว่า 1 โครงการ หรือคนหนึ่งคน
รับผิดชอบงานหลายงาน จนเกิดการใช้ทรัพยากรเกินขีดจากัด
ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาในการทางานไม่ทันตามกาหนดเวลา ดังนั้น
จึงต้องมีการพิจารณาและปรับแผนให้มีความเหมาะสม
➢การกาหนดทรัพยากรและการทบทวนแผนการประมาณการ
ทรัพยากรสามารถแสดงโดยใช้เทคนิคของแกนต์ชาร์ต (Gantt
chart) ได้
8: การทบทวนเผยแพร่แผนงานและการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ
ขั้นตอนการทบทวนและเผยแพร่แผนงาน เป็นขั้นตอนที่ 8 ของการวางแผนโครงการซอฟต์แวร์ มี
กิจกรรมที่ต้องดาเนินการดังนี้
8.1 การทบทวนคุณภาพของแผนงานโครงการ
8.2 เอกสารแผนโครงการ
8.1การทบทวนคุณภาพของแผนงานโครงการ
➢การทบทวนคุณภาพของแผนงานโครงการเป็นสิ่งที่สาคัญ เนื่องจากงานโครงการเป็นงานที่ต้อง
ดาเนินการให้เสร็จสมบูรณ์ภายใต้เงื่อนไขหรือทรัพยากรที่กาหนดไว้
➢สิ่งที่ควรระวังอย่างหนึ่งในการควบคุมคือกิจกรรมที่อยู่ก่อนหน้านี้ยังดาเนินการไม่เสร็จสมบูรณ์และ
จะต้องมีการปรับเปลี่ยนใหม่ การทบทวนคุณภาพของแผนงานเพื่อให้มีความเหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่ควร
ดาเนินการ เพื่อให้สามารถมั่นใจได้ว่างานนั้นสาเร็จสมบูรณ์
8.2เอกสารแผนโครงการ
➢เอกสารแผนโครงการที่มีความชัดเจน มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่มี
ส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายได้ทาความเข้าใจในแผนงานข้อตกลง และมีการยอมรับและเห็นชอบร่วมกัน
9: การนาแผนไปปฏิบัติ
➢ส่วนการนาแผนไปปฏิบัติ (Execute plan) เป็นขั้นตอนที่ 9 ของกระบวนการวางแผนโครงการ
ซอฟต์แวร์
➢เป็นการนาแผนการดาเนินงานไปสู่การปฏิบัติ โดยแผนต้องได้รับการอนุมัติก่อน และในบางครั้งอาจ
จาเป็นต้องมีการกาหนดรายละเอียดแผนงานในระดับย่อย ๆ หรือเขียนแผนงานในทางปฏิบัติจริงเพิ่มเติม
เพื่อให้การดาเนินงานตามแผนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เป็นการป้องกันการเกิดปัญหา
4

Contenu connexe

Tendances

1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
ประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงานประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงานPloy Pony
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Mark'k Stk
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Mark'k Stk
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์Net Thanagon
 
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Dom Pisit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Tai MerLin
 
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์EKNARIN
 

Tendances (13)

1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
5
55
5
 
ประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงานประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
ประเภทและขั้นตอนของโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
4 ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
P
PP
P
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similaire à 4

ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4iverin
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4thunnattapat
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน0910797083
 
Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28Mai Lovelove
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานDuangsuwun Lasadang
 
ขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงานขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงานKrooIndy Csaru
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศwanit sahnguansak
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4dannttml
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศWanit Sahnguansak
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4Thunyakan Intrawut
 
แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2Wuttipong Thachai
 
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ xzodialol
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3pwaom
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3pwaom
 

Similaire à 4 (20)

ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงานกิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
กิจกรรมที่4 ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28Presentation 3-612-19-28
Presentation 3-612-19-28
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
 
ขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงานขั้นตอนการทำโครงงาน
ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วนการเรียนรู้ที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2แหล่งที่มา2
แหล่งที่มา2
 
Comfsara
ComfsaraComfsara
Comfsara
 
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3
 
Activity3
Activity3Activity3
Activity3
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 

Plus de pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 
306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ecpop Jaturong
 
306325 unit6-e-payment
306325 unit6-e-payment306325 unit6-e-payment
306325 unit6-e-paymentpop Jaturong
 
306325 unit5-ec-advertising
306325 unit5-ec-advertising306325 unit5-ec-advertising
306325 unit5-ec-advertisingpop Jaturong
 
306325 unit4-e-auction
306325 unit4-e-auction306325 unit4-e-auction
306325 unit4-e-auctionpop Jaturong
 
306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-branding306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-brandingpop Jaturong
 

Plus de pop Jaturong (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 
306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec
 
306325 unit6-e-payment
306325 unit6-e-payment306325 unit6-e-payment
306325 unit6-e-payment
 
306325 unit5-ec-advertising
306325 unit5-ec-advertising306325 unit5-ec-advertising
306325 unit5-ec-advertising
 
306325 unit4-e-auction
306325 unit4-e-auction306325 unit4-e-auction
306325 unit4-e-auction
 
306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-branding306325 unit3-e-branding
306325 unit3-e-branding
 

4