SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
การซ่อมแซมเนื้อเยื่อ
(Repir or Healing)
คือ การซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่เป็นเซลล์ชนิดเดียวกับชนิด
เดิม (parenchymal cells) โดยยังต้องอาศัยเนื้อเยื่อ
ฐานรอง(basement membrane )ของเซลล์ดังเดิม
เป็นโครงสร้างเริ่มต้น เมื่อเสร็จสิ้นขบวนการรีเจเนอเรชั่นแล้วอาจไม่
พบร่องรอยของความเสียหายอยู่เลย
1.เซลล์ชนิดไม่คงตัว(labile cells ) ความสามารถแบ่งตัวสูง
เกิดใหม่ได้ตลอดเวลา (proliferation) ตลอดชีวิตสัตว์ ที่มี
อายุสั้น เกิดใหม่หมุนเวียนตลอดเวลา ได้แก่ เซลล์บุผิวของผิวหนัง
ระบบหายใจ ระบบท่อทางเดินอาหาร และระบบสืบพันธุ์ เซลล์เม็ด
เลือด (hematopoietic cells and lymphoid
cells)
2. เซลล์ชนิดคงตัว (stable cells) ความสามารถแบ่งตัวปาน
กลางและเพิ่มใหม่ได้จากัดเฉพาะกรณีได้รับความเสียหายหรือตาย
ปกติจะอายุยืน ได้แก่ เซลล์ตับ เซลล์ตับอ่อน เซลล์ของต่อมไรท่อ
เซลล์บุท่อหน่วยไต fibroblast osteoblastและ
chondroblast เป็นต้น
3. เซลล์ถาวร(permanent cells) ไม่มีความสามารถในการ
แบ่งตัวเพิ่มจานวนขึ้นหลังจากก่อกาเนิดของชีวิต เมื่อตายแล้วจะ
หมดไป ได้แก่ เซลล์ประสาท(neuron)และเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ
เซลล์ที่เป็นส่วนประกอบของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ
(Sensory organs) เช่นตา หู เป็นต้น
1.) Removal of contact inhibition = การเจริญ
เคลื่อนออกจากตาแหน่งที่เซลล์ไม่อัดแน่น
2.)Presence of chemical factors
promoting proliferation เช่น plat-derived
growth factor (PDGF), จาก epidermal cells
(EGF) และเซลล์ macrophage (MDGF)
3.) Removal of chemical action inhibiting
mitosis ปัจจัยเหล่านี้ เรียกว่า ชาโลนส์ (chalones)
คือการซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่ได้รับบาดเจ็บรุนแรงจนร่างกายไม่
สามารถซ่อมแซมโดยขบวนการรีเจนเนอเรชั่นอย่างเดียวได้ ภาวะ
เช่นนี้จะมีการซ่อมแซมโดยแทนที่เนื้อเยื่อเสียหายส่วนที่ไม่ใช่เซลล์
ดั้งเดิม (non-regenerated parenchymal
cells)
1. การกาเนิดหลอดเลือดใหม่ (angiogenesis)
- แตกตัวของเยื่อฐานเซลล์เกิดการสร้างตุ่มของหลอดเลือดฝอย
- เคลื่อนตัวของเซลล์ผนังหลอดเลือดเข้าสู่สิ่งกระตุ้นการก่อกาเนิด
- งอกขยายของผนังหลอดเลือดจากหลังผลักเซลล์ด้านหน้าเคลื่อนไป
- เจริญเต็มที่ของเซลล์ผนังหลอดเลือดพร้อมสร้างหลอดเลือดขึ้น
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการสร้างหลอดเลือดใหม่ เช่น basic
fibroblast growth factor(b-FGF)และ vascular
endothelial growth factors (VEGF)
2. การกาเนิดผังผืด (fibrosis or fibroplasia)
เกิดบนโครงสร้างของหลอดเลือดใหม่และโครงสร้างนอกเซลล์ที่
หลวมของเนื้อเยื่อแกรนูเรชั่น ซึ่งเจริญขึ้นในระยะเริ่มแรก
ขบวนการของไฟโบรซิส มี 2 ขั้นตอนคือ
2.1. การเคลื่อนย้ายและงอกขยายของไฟโบรบลาสท์
2.2. การเกาะพอกเพิ่มของไฟโบรบลาส์บริเวณโครงสร้างนอกเซลล์
ปัจจัยที่มีผล เช่น PDGF , b-FGF และ
transforming growth factor-β (TGF-β)
3. การแปรรูปเป็นแผลเป็น (scar remodeling)
คอลลาเจนจะถูกปรับระดับ (degrade) โดยเอนไซม์
ต่างๆ เช่นmetalloproteinases, interstitial
collagenase,gelatinases เป็นต้น ซึ่งเอนไซม์เหล่านี้
ถูกสร้างโดย เช่น ไฟโบรพลาสท์ มาโครฟาจ นิวโตรฟิล เซลล์เยื่อหุ้ม
ข้อและเซลล์บุผิวบางชนิด
1. Healing by frist intention
คือการหายของบาดแผลที่สะอาดหรือแผลผ่าตัดที่ไม่มีปัญหา
แทรกซ้อน บาดแผลเหล่านี้ถูกเย็บปิดทันทีและอย่างถูกต้อง
-wound contraction เกิดขึ้นน้อยมาก
-epithelization เกิดขึ้นรวดเร็ว
-ยังไม่มี granulation tissue
2. Healing by second intention
คือการหายของแผลที่เกิดในบาดแผลใหญ่และลึกมีการสูญเสีย
ชิ้นเนื้อตลอดจนมีการทาลายของเนื้อเยื่อมาก
- บาดแผลรักษาแบบบาดแผลเปิดและปล่อยให้หายโดยการ
สร้าง granulation tissue แผลที่หายจะมีปรากฎการณ์
ของ wound contraction, epithelization และ
scar formation
- แผลที่ติดเชื้อและไฟไหม้จะหายโดยวิธีนี้
- เกิดขึ้นทันทีภายหลังเกิดบาดแผล
- สร้าง kinin ไปกระตุ้นการอักเสบ
- เมตาบอลิสมของคอลลาเจนและground substance
- เมตาบอลิสมคอลลาเจน เริ่มพบคอลลาเจนวันที่ ๔ และเพิ่มขึ้น
อย่างรวดเร็วใน ๑๗ วันแรก และคงที่ภายหลัง ๔๒ วัน การวัด
คอลลาเจน วัดจากไฮดร๊อกซีโปรลีน (hydroxyproline)
๑. Acid mucopolysaccharide ได้แก่
chondroitin sulfate A, B, C, chondroitin,
keratosulfate, heparitin sulfate.
๒. สารอื่น ๆ เช่นกลัยโคโปรตีน เอ็นซัยม์ เมตาบอไลท์ ไอออน น้า
วิตามิน สารอิมมูนและคอลลาเจนที่ละลายน้าได้
- Wound contraction: เกิดหลังวันที่ ๔ เกิดขึ้นมากใน ๒
สัปดาห์แรก ตัวการสาคัญ เชื่อว่าเป็น myofibroblast
- Epithelization: ปรากฎการณ์นี้จะมีเซลล์เยื่อบุผิวเคลื่อนที่
เข้าหากัน งอกขยายตัวและปรับเรียงตัวโดยเกิดขึ้นภายในไม่กี่ชั่วโมง
หลังจากเกิดบาดแผล
- แรงดึง คือแรงหรือน้าหนักต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่หน้าตัดของ
บาดแผลที่พอดีแยกขอบแผลออกจากกัน
- แรงประลัย คือแรงหรือน้าหนักต่อความกว้างยาวของบาดแผลที่
พอดีแยกขอบแผลออกจากกัน
- แรงปริแยก คือแรงที่ทาให้อวัยวะภายในแตกแยกออก

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2Khwan Jomkhwan
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตBally Achimar
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6issarayuth
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน Oyl Wannapa
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
สืบพันธุ์
สืบพันธุ์สืบพันธุ์
สืบพันธุ์
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2สมดุลเคมี2
สมดุลเคมี2
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
ติวสบายชีววิทยา (เพิ่มเติม) บทที่ 02 เคมีเป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ยีนและโครโมโซม ชุดที่ 7 เรื่อง มิวเทชัน
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

หลักพยาธิบ.8 immunopathology

  • 2. คือ การซ่อมแซมเนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่เป็นเซลล์ชนิดเดียวกับชนิด เดิม (parenchymal cells) โดยยังต้องอาศัยเนื้อเยื่อ ฐานรอง(basement membrane )ของเซลล์ดังเดิม เป็นโครงสร้างเริ่มต้น เมื่อเสร็จสิ้นขบวนการรีเจเนอเรชั่นแล้วอาจไม่ พบร่องรอยของความเสียหายอยู่เลย
  • 3. 1.เซลล์ชนิดไม่คงตัว(labile cells ) ความสามารถแบ่งตัวสูง เกิดใหม่ได้ตลอดเวลา (proliferation) ตลอดชีวิตสัตว์ ที่มี อายุสั้น เกิดใหม่หมุนเวียนตลอดเวลา ได้แก่ เซลล์บุผิวของผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบท่อทางเดินอาหาร และระบบสืบพันธุ์ เซลล์เม็ด เลือด (hematopoietic cells and lymphoid cells)
  • 4. 2. เซลล์ชนิดคงตัว (stable cells) ความสามารถแบ่งตัวปาน กลางและเพิ่มใหม่ได้จากัดเฉพาะกรณีได้รับความเสียหายหรือตาย ปกติจะอายุยืน ได้แก่ เซลล์ตับ เซลล์ตับอ่อน เซลล์ของต่อมไรท่อ เซลล์บุท่อหน่วยไต fibroblast osteoblastและ chondroblast เป็นต้น 3. เซลล์ถาวร(permanent cells) ไม่มีความสามารถในการ แบ่งตัวเพิ่มจานวนขึ้นหลังจากก่อกาเนิดของชีวิต เมื่อตายแล้วจะ หมดไป ได้แก่ เซลล์ประสาท(neuron)และเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ เซลล์ที่เป็นส่วนประกอบของอวัยวะรับความรู้สึกต่างๆ (Sensory organs) เช่นตา หู เป็นต้น
  • 5. 1.) Removal of contact inhibition = การเจริญ เคลื่อนออกจากตาแหน่งที่เซลล์ไม่อัดแน่น 2.)Presence of chemical factors promoting proliferation เช่น plat-derived growth factor (PDGF), จาก epidermal cells (EGF) และเซลล์ macrophage (MDGF) 3.) Removal of chemical action inhibiting mitosis ปัจจัยเหล่านี้ เรียกว่า ชาโลนส์ (chalones)
  • 7. 1. การกาเนิดหลอดเลือดใหม่ (angiogenesis) - แตกตัวของเยื่อฐานเซลล์เกิดการสร้างตุ่มของหลอดเลือดฝอย - เคลื่อนตัวของเซลล์ผนังหลอดเลือดเข้าสู่สิ่งกระตุ้นการก่อกาเนิด - งอกขยายของผนังหลอดเลือดจากหลังผลักเซลล์ด้านหน้าเคลื่อนไป - เจริญเต็มที่ของเซลล์ผนังหลอดเลือดพร้อมสร้างหลอดเลือดขึ้น ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการสร้างหลอดเลือดใหม่ เช่น basic fibroblast growth factor(b-FGF)และ vascular endothelial growth factors (VEGF)
  • 8.
  • 9. 2. การกาเนิดผังผืด (fibrosis or fibroplasia) เกิดบนโครงสร้างของหลอดเลือดใหม่และโครงสร้างนอกเซลล์ที่ หลวมของเนื้อเยื่อแกรนูเรชั่น ซึ่งเจริญขึ้นในระยะเริ่มแรก ขบวนการของไฟโบรซิส มี 2 ขั้นตอนคือ 2.1. การเคลื่อนย้ายและงอกขยายของไฟโบรบลาสท์ 2.2. การเกาะพอกเพิ่มของไฟโบรบลาส์บริเวณโครงสร้างนอกเซลล์ ปัจจัยที่มีผล เช่น PDGF , b-FGF และ transforming growth factor-β (TGF-β)
  • 10. 3. การแปรรูปเป็นแผลเป็น (scar remodeling) คอลลาเจนจะถูกปรับระดับ (degrade) โดยเอนไซม์ ต่างๆ เช่นmetalloproteinases, interstitial collagenase,gelatinases เป็นต้น ซึ่งเอนไซม์เหล่านี้ ถูกสร้างโดย เช่น ไฟโบรพลาสท์ มาโครฟาจ นิวโตรฟิล เซลล์เยื่อหุ้ม ข้อและเซลล์บุผิวบางชนิด
  • 11. 1. Healing by frist intention คือการหายของบาดแผลที่สะอาดหรือแผลผ่าตัดที่ไม่มีปัญหา แทรกซ้อน บาดแผลเหล่านี้ถูกเย็บปิดทันทีและอย่างถูกต้อง -wound contraction เกิดขึ้นน้อยมาก -epithelization เกิดขึ้นรวดเร็ว -ยังไม่มี granulation tissue
  • 12.
  • 13. 2. Healing by second intention คือการหายของแผลที่เกิดในบาดแผลใหญ่และลึกมีการสูญเสีย ชิ้นเนื้อตลอดจนมีการทาลายของเนื้อเยื่อมาก - บาดแผลรักษาแบบบาดแผลเปิดและปล่อยให้หายโดยการ สร้าง granulation tissue แผลที่หายจะมีปรากฎการณ์ ของ wound contraction, epithelization และ scar formation - แผลที่ติดเชื้อและไฟไหม้จะหายโดยวิธีนี้
  • 14.
  • 15. - เกิดขึ้นทันทีภายหลังเกิดบาดแผล - สร้าง kinin ไปกระตุ้นการอักเสบ - เมตาบอลิสมของคอลลาเจนและground substance - เมตาบอลิสมคอลลาเจน เริ่มพบคอลลาเจนวันที่ ๔ และเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วใน ๑๗ วันแรก และคงที่ภายหลัง ๔๒ วัน การวัด คอลลาเจน วัดจากไฮดร๊อกซีโปรลีน (hydroxyproline)
  • 16. ๑. Acid mucopolysaccharide ได้แก่ chondroitin sulfate A, B, C, chondroitin, keratosulfate, heparitin sulfate. ๒. สารอื่น ๆ เช่นกลัยโคโปรตีน เอ็นซัยม์ เมตาบอไลท์ ไอออน น้า วิตามิน สารอิมมูนและคอลลาเจนที่ละลายน้าได้
  • 17. - Wound contraction: เกิดหลังวันที่ ๔ เกิดขึ้นมากใน ๒ สัปดาห์แรก ตัวการสาคัญ เชื่อว่าเป็น myofibroblast - Epithelization: ปรากฎการณ์นี้จะมีเซลล์เยื่อบุผิวเคลื่อนที่ เข้าหากัน งอกขยายตัวและปรับเรียงตัวโดยเกิดขึ้นภายในไม่กี่ชั่วโมง หลังจากเกิดบาดแผล
  • 18. - แรงดึง คือแรงหรือน้าหนักต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่หน้าตัดของ บาดแผลที่พอดีแยกขอบแผลออกจากกัน - แรงประลัย คือแรงหรือน้าหนักต่อความกว้างยาวของบาดแผลที่ พอดีแยกขอบแผลออกจากกัน - แรงปริแยก คือแรงที่ทาให้อวัยวะภายในแตกแยกออก