SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
Download to read offline
บทที่ 3
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
• ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาที่เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป คือ
แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด เหตุการณ์เหล่านี้ล้วนเป็นสิ่ง
ที่ทาให้มีผู้คนบาดเจ็บ เสียชีวิต เกิดความเสียหายแก่
ทรัพย์สิน และผู้คนไร้ที่อยู่อาศัยเป็นจานวนมาก
• ดังนั้น ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและภูเขา
ไฟระเบิด อาจช่วยให้เราสามารถหลีกเลี่ยงหรือรอดชีวิต
จากภัยพิบัติดังกล่าวได้
การระเบิดของภูเขาไฟเวซูเวียส พ.ศ. 622
ทาลายหลายชุมชนของอาณาจักรโรมัน
เหตุการณ์สึนามิในประเทศไทย พ.ศ. 2547
อาคารบ้านเรือนเสียหายจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว
ที่นครเฉิงตู ประเทศจีน พ.ศ. 2551
3.1 แผ่นดินไหว (Earthquake)
• แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิด
ความเสียหายร้ายแรงต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์
3.1.1 แผ่นดินไหวเกิดได้อย่างไร
- เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ
- เกิดจากการกระทาของมนุษย์
- เกิดจากการเคลื่อนที่ของธรณีภาค
กิจกรรม 3.1 ก การคืนตัวแบบยืดหยุ่น
•จากการทดลอง เกิดการเปลี่ยนแปลง
กับแผ่นไม้อัดและภาพวาดถนน
อย่างไร ?
•ถ้าใช้ดินน้ามันปั้นเป็นแท่งทาการ
ทดลองแทนแผ่นไม้อัด จะได้ผลการ
ทดลองเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ?
กิจกรรม 3.1 ข ผลจากการเกิดแผ่นดินไหว
• การเปลี่ยนแปลงบนแผ่นดินน้ามันมีผลต่อ
รูปวาดบนแผ่นดินน้ามัน และหน้าตัดของ
ดินน้ามันอย่างไร ?
จากกิจกรรม 3.1 ก
อธิบายได้ว่า
เมื่อออกแรงกระทากับแผ่นไม้อัดอย่างต่อเนื่องจนเกิดความ
เค้น ทาให้แผ่นไม้อัดเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะเนื่องจากเกิด
ความเครียด ถ้ามีแรงมากระทาต่อแผ่นไม้อัดอย่างต่อเนื่อง แผ่นไม้
อัดจะมีความเครียดมากขึ้น จนถึงจุดหนึ่งที่แผ่นไม้อัดต้านแรงที่มา
กระทาต่อไปไม่ได้ แผ่นไม้อัดจะเกิดการแตกหักและปล่อยพลังงาน
ออกมา ทาให้เกิดการสั่นและเกิดเสียง ซึ่งลักษณะการเปลี่ยนแปลง
ของแผ่นไม้อัดดังกล่าว จะเกิดขึ้นได้ในลักษณะเดียวกันกับหินใน
เปลือกโลก
เมื่อออกแรงดันที่กรอบไม้ซึ่งมีดินน้ามันติดอยู่ ใน
ทิศทางตรงกันข้ามอย่างต่อเนื่อง จะทาให้แผ่นดินน้ามัน
เกิดความเครียดสะสมมากขึ้น จนกระทั่งแรงที่มากระทามี
ขนาดมากกว่าที่ดินน้ามันจะต้านไว้ได้ ดินน้ามันจึงเกิด
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างในลักษณะยืด บิด โค้งงอ และถ้า
ตัดดินน้ามันให้ขาดออกจากกัน จะเห็นการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะของดินน้ามันในแนวหน้าตัดว่าเกิดการโค้งงอ
อย่างชัดเจน
จากกิจกรรม 3.1 ข
แผ่นดินไหว
• เป็นปรากฏการณ์ที่เป็นผลจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
ทาให้หินเปลี่ยนลักษณะ เลื่อนตัว แตกหัก และถ่ายโอน
พลังงานอย่างรวดเร็วให้กับชั้นหินที่อยู่ติดกันในรูปของ
คลื่นไหวสะเทือน (seismic wave) ซึ่งจะแผ่
กระจายจากจุดกาเนิดไปทุกทิศทุกทาง และสามารถ
เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางต่าง ๆ ภายในโลกขึ้นมาบนผิวโลก
สามารถแบ่งศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
ตามระดับความลึกได้เป็น 3 ระดับ
(1) แผ่นดินไหวที่มีศูนย์เกิดแผ่นดินไหวระดับตื้น
< 70 km จากผิวโลก
(2) แผ่นดินไหวที่มีศูนย์เกิดแผ่นดินไหวระดับปานกลาง
ระหว่าง 70 – 300 km จากผิวโลก
(3) แผ่นดินไหวที่มีศูนย์เกิดแผ่นดินไหวระดับลึก
> 300 km จากผิวโลก
3.1.2 คลื่นไหวสะเทือน
เมื่อเกิดแผ่นดินไหว พลังงานที่ถูกปลดปล่อยจะอยู่ในรูปของคลื่นไหวสะเทือน
สังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่ผิวน้า
สังเกตการเคลื่อนที่ของริบบิ้น
จากกิจกรรมที่ 3.2
• เมื่อออกแรงกระทากับวัตถุใด ๆ วัตถุจะพยายามต้านการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยสะสมพลังงานในรูปของพลังงาน
ศักย์
• จนกระทั่งแรงที่มากระทามีขนาดมากเกินกว่าที่วัตถุจะต้านไว้
ได้ วัตถุนั้นจะเปลี่ยนรูปร่าง และถ่ายโอนพลังงานศักย์ที่
สะสมให้กับอนุภาคของวัตถุที่อยู่ติดกัน
• จากกิจกรรม 3.2 หลังจากที่ปล่อยยางรัดพลังงานศักย์ที่สะสม
อยู่ในยางรัดจะถูกถ่ายโอนให้กับโมเลกุลของน้าที่อยู่ใกล้กับยาง
รัดมากที่สุด และโมเลกุลของน้าจะถ่ายโอนพลังงานไปยังโมเลกุล
ของน้าที่อยู่ถัดไปในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยที่
โมเลกุลของน้าไม่ได้เคลื่อนที่ ซึ่งสังเกตได้จากชิ้นริบบิ้นจะลอยน้า
อยู่กับที่
• การถ่ายโอนของพลังงานโดยผ่านโมเลกุลของน้า ทาให้เกิดเป็น
คลื่นผิวน้าซึ่งเป็นคลื่นพื้นผิว
• คล้ายคลึงกับการถ่ายโอนพลังงานของคลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจาก
แผ่นดินไหวในธรรมชาติ แต่ในการเกิดแผ่นดินไหวจะเกิดทั้ง
คลื่นพื้นผิวและคลื่นในตัวกลาง
คลื่นไหวสะเทือน มี 2 ชนิด
ได้แก่ คลื่นในตัวกลาง และ คลื่นพื้นผิว
คลื่นในตัวกลาง
เป็นคลื่นที่เคลื่อนที่แผ่กระจายในทุกทิศทุกทางจาก
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวและเดินทางอยู่ในตัวกลางที่คลื่น
เคลื่อนที่ผ่าน
คลื่นในตัวกลางแบ่งได้ 2 ชนิด
- คลื่นปฐมภูมิ
- คลื่นทุติยภูมิ
3.1.3 แนวแผ่นดินไหว
แนวรอยต่อที่สาคัญที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหวมีอยู่ 3 แนว
(1)แนวรอยต่อที่เกิดล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก คิดเป็นร้อยละ 80 ของ
การเกิดแผ่นดินไหวทั่วโลก เรียกกันว่า วงแหวนไฟ(Ring of Fire)
ได้แก่ ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ด้านตะวันตกของประเทศแม็กซิโก และด้าน
ตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา
(2) แนวรอยต่อภูเขาแอลป์ ในทวีปยุโรปและภูเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย
เป็นแหล่งที่เกิดแผ่นดินไหวประมาณร้อยละ 15 ได้แก่ อัฟกานิสถาน อิหร่าน
ตุรกี และแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรป
(3) แนวรอยต่อที่เหลืออีกร้อยละ 5 เกิดในบริเวณแนวเทือกสันเขากลาง
มหาสมุทรของโลก เช่น แอตแลนติก อินเดีย และอาร์กติก
3.1.4 ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว
4/12
• กาหนดจากปริมาณพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากศูนย์เกิด
แผ่นดินไหว
• ชาร์ล เอฟ ริกเตอร์ (Charles F. Richter) เป็นคนแรกที่คิดค้น
สูตรการวัดขนาดแผ่นดินไหว เพื่อเป็นเกียรติแก่ท่าน นักวิทยาศาสตร์จึง
กาหนดให้ริกเตอร์เป็นหน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว
• โดยทั่วไปขนาดของแผ่นดินไหว 2.0 ริกเตอร์ จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาด
เล็กมาก
• ขนาดแผ่นดินไหว 6.0 ริกเตอร์ ขึ้นไป จัดเป็นแผ่นดินไหวขนาดรุนแรง
3.1.4 ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว (ต่อ)
• การคานวณขนาดแผ่นดินไหวตามวิธีมาตรฐานของริกเตอร์
จะทาได้เฉพาะแผ่นดินไหวที่มีศูนย์เกิดแผ่นดินไหวระดับตื้น
และต้องเป็นสถานีที่อยู่ในระยะ 200 – 300 กิโลเมตร
จากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเท่านั้น
• จึงทาให้มาตราริกเตอร์มีขีดจากัดในการใช้ นอกจากนี้
มาตราริกเตอร์ยังวัดคลื่นไหวสะเทือนที่มีความสูงที่สุดที่
บันทึกได้จากสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหว จึงทาให้ค่าของริก
เตอร์ไม่ได้เป็นค่าที่บอกขนาดของแผ่นดินไหวอย่างแท้จริง
3.1.4 ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว (ต่อ)
• ในปัจจุบันได้มีวิธีการศึกษาเฉพาะด้าน ประกอบกับมี
อุปกรณ์การตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนที่ทันสมัย สามารถวัด
ขนาดของแผ่นดินไหวได้ถูกต้องจากทุกระดับความลึก
• สามารถตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวที่
ห่างไกลจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวได้ทั่วโลก
• มาตราบอกขนาดของแผ่นดินไหวที่นิยมศึกษา คือ มาตรา
ขนาดโมเมนต์แผ่นดินไหว (seismic-moment
magnitude scale)
มาตราขนาดโมเมนต์แผ่นดินไหว
(seismic-moment magnitude scale)
• มาตรานี้ศึกษาได้จากการหาค่าความแข็งเกร็ง
(strength) ของหิน
• พื้นที่ตามแนวรอยเลื่อนที่มีการแตกและการเคลื่อนที่ของหิน
• แต่เนื่องจากมาตราริกเตอร์เป็นมาตราวัดขนาดแผ่นดินไหวที่
มีคนรู้จักกันมาก ดังนั้นในปัจจุบันการรายงานข่าวแก่
ประชาชนเกี่ยวกับแผ่นดินไหวจึงยังอ้างอิงขนาดของ
แผ่นดินไหวกับมาตราริกเตอร์
มาตราเมอร์คัลลีที่ปรับปรุงแล้ว
• มาตราวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหวกาหนดจากความรู้สึก
หรืออาการตอบสนองของผู้คน การเคลื่อนที่ของเครื่องเรือนและ
ของใช้ภายในบ้าน ตลอดจนความเสียหายของบ้านเรือนจนถึง
ขั้นที่ทุกสิ่งทุกอย่างพังพินาศ ซึ่งมาตราวัดความรุนแรงนี้มีการ
พัฒนาขึ้นมาใช้หลายมาตรา
• มาตราวัดความรุนแรงที่นิยมกันมากที่สุด คือ มาตราเมอร์คัลลีที่
ปรุบปรุงแล้ว (modified Mercalli scale)
ตอบ
การวัดขนาดของแผ่นดินไหวส่วนใหญ่รายงานเป็นมาตรา
ริกเตอร์ ในปัจจุบันได้มีวิธีการและอุปกรณ์การตรวจวัดคลื่นไหว
สะเทือนที่ทันสมัย สามารถวัดขนาดของแผ่นดินไหวได้ถูกต้อง
จากทุกระดับความลึก และสามารถตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือน
จากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวที่ห่างไกลมาก คือ มาตราขนาด
โมเมนต์แผ่นดินไหว ส่วนความรุนแรงของแผ่นดินไหวนิยมใช้
มาตราเมอร์คัลลีที่ปรับปรุงปรุงแล้ว
Q.โดยทั่วไปเกิดแผ่นดินไหวระดับใด จึงจะทาให้คนที่อยู่
ในรัศมีของแผ่นดินไหวรู้สึกได้
ตอบ แผ่นดินไหวที่คนรู้สึกได้ จะมีความรุนแรงตั้งแต่ระดับ II ขึ้นไป
Q.แผ่นดินไหวระดับใดที่ทาให้ตัวอาคารพังเสียหาย
ตอบ แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงตั้งแต่ระดับ V ขึ้นไป
Q.ประเทศไทยเคยเกิดแผ่นดินไหวที่ทาให้หลอดไฟบน
เพดานสั่นไหวได้นักเรียนคิดไหวระดับใด
ตอบ แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงตั้งแต่ระดับ III
มาตราเมอร์คัลลี
• มีประโยชน์สาหรับพื้นที่ที่ไม่มีเครื่องตรวจวัดความไหวสะเทือน
และสามารถแสดงเป็นแผนที่แสดงความเสียหายจาก
แผ่นดินไหวที่เกิดครั้งใดครั้งหนึ่ง
• การสร้างแผนที่แสดงความเสียหายที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหว
ตามมาตราเมอร์คัลลีสามารถทาได้ไม่ยากนัก ทาโดยการสารวจ
พื้นที่ ออกแบบสอบถาม และสัมภาษณ์ประชาชนที่อยู่ใน
เหตุการณ์ แต่การทาแผนที่ดังกล่าวมีประเด็นต้องระวัง
ประเด็นที่ต้องระวังการสร้างแผนที่แสดงความเสียหาย
• การรายงานระดับความรุนแรงขึ้นกับจานวนประชากร จานวนอาคาร
บ้านเรือนในพื้นที่นั้น ๆ
• เป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกของคนที่อยู่ในเหตุการณ์
แผ่นดินไหว จึงอาจได้คาตอบที่แตกต่างกัน
• วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน และอายุการใช้งาน มีผลต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้น
• ระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหวขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่ห่างจากจุด
เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
นักเรียนคิดว่าแผ่นดินไหวที่มณฑลเฉินซีมีความรุนแรง
ระดับใด?
ตอบ
แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงระดับ IX ขึ้นไป
นักเรียนจะมีวิธีปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดแผ่นดินไหว
ตอบ
1. ควบคุมสติอย่าตื่นตระหนกเกินเหตุ หยุดการใช้ไฟฟ้ า และไฟ
จากเตาแก๊ส และควรมีไฟฉายประจาอยู่ภายในบ้าน
2. ถ้าอยู่ภายในบ้าน ควรอยู่ห่างจากประตู หน้าต่าง กระจก และ
ระเบียงบ้าน ระวังอย่าให้ของใช้ในบ้านและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ
หล่นทับ โดยอาจมุดลงไปอยู่ใต้โต๊ะที่แข็งแรงเมื่อแผ่นดินหยุด
ไหวให้รีบออกจากบ้านหรืออาคารทันที โดยอยู่ให้ห่างจากอาคาร
สูง กาแพง สะพาน และเสาไฟฟ้ า ซึ่งอาจพังลงมาทับได้
นักเรียนจะมีวิธีปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดแผ่นดินไหว(ต่อ)
3. ถ้าอยู่ในตึกสูง ให้มุดลงไปอยู่ใต้โต๊ะที่แข็งแรงเพื่อป้ องกันสิ่งของ
ร่วงหล่นใส่ อย่าวิ่งออกไปภายนอก เพราะบันไดอาจพังลงได้ และ
ห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาด
4. ถ้ากาลังขับรถให้หยุดรถ และอยู่ในรถจนกระทั่งแผ่นดินหยุดไหว
5. ถ้าอยู่ใกล้ชายทะเล ให้รีบออกจากชายฝั่งไปอยู่บนที่สูง เพราะอาจ
เกิดสึนามิได้
6. เรียนรู้และติดตามสถานการณ์แผ่นดินไหวจากสื่อต่าง ๆ เพื่อ
เตรียมพร้อมและวางแผนรับภัยจากแผ่นดินไหวได้อย่างมีสติและ
ปลอดภัย
3.1.5 ประเทศไทยกับปรากฏการณ์แผ่นดินไหว
• ประเทศไทยไม่ได้อยู่ในเขตแผ่นดินไหว
• อยู่นอกรอยต่อของแผ่นธรณี
• โอกาสแผ่นไหวขนาดใหญ่จึงเกิดได้น้อย
• สาเหตุที่เกิดแผ่นดินไหวส่วนใหญ่มาจากการเกิดแผ่นดินไหว
ขนาดใหญ่นอกประเทศ
• ส่วนใหญ่มีแหล่งกาเนิดจากตอนใต้ของประเทศจีน พม่า ลาว
บริเวณทะเลอันดามันและตอนเหนือของเกาะสุมาตรา
ข้อมูลแผ่นดินไหวของประเทศไทยในอดีต
ดังเช่น ที่โยนก เกิดแผ่นดินไหวเมื่อปี พ.ศ. 1003 ในวัน
เสาร์ แรม 7 ค่า เดือน 7 เวลากลางคืน
………………………………………………………………
Q. แผ่นดินไหวทั้ง 2 ครั้งที่บันทึกไว้นี้มีความรุนแรงระดับใด
ตอบ แผ่นดินไหวที่ความรุนแรงระดับ VII- VIII ขึ้นไป
รอยเลื่อนมีพลัง
• แผ่นดินไหวที่เกิดจากแนวรอยเลื่อนมีพลัง (active
fault)ซึ่งเป็นแนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่ยังสามารถ
เคลื่อนที่ได้ ในประเทศไทยแนวรอยเลื่อนเหล่านี้ส่วนมาก
อยู่ในภาคเหนือและภาคตะวันตกของประเทศไทย เช่น
รอยเลื่อนเชียงแสน รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนเถิน รอย
เลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ส่วนภาคใต้มี
รอยเลื่อนระนองและรอยเลื่อนคลองมะลุ่ย เป็นต้น
คาบอุบัติซ้า (return period)
• เนื่องจากการเกิดแผ่นดินไหวจะมีศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
และมักจะมีรอบของการเกิดที่เรียกว่า คาบอุบัติซ้า ซึ่ง
หมายถึง ระยะเวลาครบรอบของแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้น
ณ ที่นั้นแล้วกลับมาเกิดซ้าในที่เดิมอีก
• เหตุการณ์ธรรมชาติที่มีการเก็บข้อมูลคาบอุบัติซ้า คือ
น้าท่วม พายุ แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด
คาว่ารอยเลื่อนมีพลัง หมายความว่าอย่างไร
ตอบ รอยเลื่อนมีพลัง เป็นแนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่สามารถ
ตรวจสอบได้หรือมีหลักฐานทางธรณีวิทยาว่ายังคงมีการเคลื่อน
ตัวอยู่ในปัจจุบันและอาจมีการเลื่อนตัวอีกในอนาคต
นักเรียนคิดว่าพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวของประเทศไทยอยู่
บริเวณใด เพราะเหตุใด
ตอบ พื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหวได้แก่ บริเวณภาคเหนือ
ภาคตะวันตกและภาคใต้ของประเทศไทย อันได้แก่ จังหวัด
เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ พะเยา ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน
ตาก กาญจนบุรี และระนอง เป็นต้น เพราะอยู่บนแนวรอยเลื่อน
ที่มีพลัง
จากข้อมูลในภาพ 3.12 นักเรียนคิดว่าจังหวัดใดบ้างที่เสียงภัยต่อการเกิด
แผ่นดินไหว
ตอบ จังหวัดที่เสียงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหว ได้แก่ จังหวัดที่อยู่ในแนวรอย
เลื่อนและใกล้เคียงแนวรอยเลื่อน ได้แก่ จังหวัดในภาคเหนือ ภาคตะวันตก
และภาคใต้ เช่น จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย กาแพงเพชร
อุทัยธานี กาญจนบุรี และระนอง เป็นต้น
การกาหนดพื้นที่เสี่ยงภัยเป็นระดับต่าง ๆ มีความสาคัญและมีประโยชน์
อย่างไร
ตอบ พื้นที่เสียงภัยเป็นที่เคยเกิดแผ่นดินไหวในอดีตและอยู่ใกล้กับจุดเหนือ
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ทั้งจากภายในประเทศและนอกประเทศ ซึ่งการแบ่ง
พื้นที่เป็นแนวเขตเสี่ยงภัยระดับต่าง ๆ จะช่วยลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้
ทั้งนี้ต้องมีการเข้มงวดในการออกแบบ และการควบคุมการก่อสร้างอาคาร
บ้านเรือน
• หลักจากที่กรมทรัพยากรธรณีได้เผยแพร่แผนที่บริเวณเสี่ยงภัย
แผ่นดินไหวของประเทศในปี พ.ศ. 2538
• ต่อมาได้ประกาศกฎกระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ. 2540 เพื่อใช้
ควบคุมการออกแบบอาคารให้สามารถต้านแรงสั่นสะเทือนต่อ
แผ่นดินไหวได้
• ขณะนี้ใช้บังคับเฉพาะกับอาคารสาธารณะที่มีประโยชน์ใช้สอยมาก เช่น
โรงพยาบาล หอประชุม โรงมหรสพ และโรงแรม เป็นต้น
• นอกจากนั้นยังบังคับใช้กับอาคารที่เก็บวัสดุอันตราย ประเภทวัสดุไวไฟ
วัตถุระเบิด
• ส่วนอาคารทั่วไปจะใช้บังคับกับอาคารที่สูงเกิน 15 เมตร (ประมาณ 5
ชั้น) ขึ้นไป
3.2 ภูเขาไฟ (volcano)
• ปัจจุบันนี้ทั่วโลกมีภูเขาไฟที่ดับแล้วอยู่ประมาณ 1,500 ลูก แต่มีภูเขา
ไฟที่ดับแล้วมากมายที่กลายเป็นภูเขา และเทือกเขาที่สาคัญ เช่น ภูเขา
ไฟพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์และอุทยานแห่งชาติเทือกเขาร็อกกี้ประเทศ
สหรัฐอเมริกา
3.2.1 แนวภูเขาไฟ
• ภูเขาไฟส่วนใหญ่ในโลกนี้เกิดขึ้นในบริเวณที่แผ่นธรณีมาชน
กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณรอบ ๆ มหาสมุทรแปซิฟิก ที่
เรียกกันว่า วงแหวนไฟ ซึ่งแผ่นธรณีมีการเคลื่อนที่
ตลอดเวลาในลักษณะรูปแบบที่แตกต่างกัน มีทั้งมุดและแยก
จากกันจึงเป็นสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟ
ระเบิด
• ภูเขาไฟไม่ได้เกิดทั่วไป แต่จะเกิดเป็นแนวในบางบริเวณของ
เปลือกโลกเท่านั้น
3.2.2 การระเบิดของภูเขาไฟ
(volcanic eruption)
• ภูเขาไฟระเบิดเกิดจากการปะทุของแมกมา แก๊ส และเถ้า
จากใต้เปลือกโลก
• ก่อนการระเบิดมักจะมีสัญญาณบอกเหตุให้รู้ล่วงหน้า
เช่น แผ่นดินไหวในบริเวณรอบ ๆ ภูเขาไฟเกิดการ
สั่นสะเทือน มีเสียงคล้ายฟ้ าร้องติดต่อกันเป็นเวลานาน
• เมื่อแมกมาขึ้นมาสู่พื้นผิวโลกเรียกว่า ลาวา (lava)
• สิ่งที่แตกต่างระหว่างลาวาและแมกมา คือ
แมกมาที่อยู่ใต้โลกจะมีความดันสูงมากเมื่อเปรียบเทียบ
กับลาวา ลาวาที่ออกมาสู่พื้นผิวโลกจะมีอุณหภูมิสูง
ในช่วง 700 – 1250 ○C
แก๊สที่ออกมาด้วยจะลอยไปในอากาศ ความรุนแรงของ
การระเบิดของภูเขาไฟส่วนมากเป็นผลมาจากความหนืด
ของแมกมา แมกมาที่เคลื่อนที่สู่ผิวโลก จะมีส่วนประกอบ
ทางเคมีที่แตกต่างกัน ส่วนประกอบที่สาคัญที่มีผลต่อ
ความหนืดของแมกมา คือ ซิลิกา (SiO2)
• เมื่อปล่อยนิ้วออกจากปากขวดน้าอัดลมหลังจากเขย่าแล้ว จะเกิดฟอง
และน้าอัดลมจะพุ่งขึ้นมาจนล้นปากขวด เปรียบเทียบได้กับการเคลื่อนที่
ของแก๊สออกจากแมกมา ซึ่งจะทาให้เกิดการประทุของภูเขาไฟได้ง่ายขึ้น
• จากการทดลองโดยใช้ของเหลวที่มีความหนืดแตกต่างกัน เช่น น้าและ
น้าเชื่อม จะพบว่าเราสามารถเป่าอากาศลงไปในน้าได้ง่ายและเกิด
ฟองอากาศที่ทาให้น้ากระเพื่อมเล็กน้อย เปรียบเทียบได้กับแมกมาที่
ความหนืดน้อย แก๊สจะเคลื่อนที่ออกจากแมกมาได้ง่าย และเมื่อแมกมา
เคลื่อนที่สู่ผิวโลกจะเกิดการประทุหรือระเบิดไม่รุนแรง ในทางกลับกัน
เมื่อเป่าอากาศลงไปในน้าเชื่อมจะต้องออกแรงเป่าอย่างมาก
เปรียบเทียบได้กับแมกมาที่มีความหนืดมาก แก๊สจะเคลื่อนที่ออกจาก
แมกมาได้ยาก ทาให้ความดันของแมกมาสะสมเพิ่มขึ้น เมื่อเคลื่อนที่สู่ผิว
โลกจะทาให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง
• เมื่อภูเขาไฟระเบิดจะพ่นชิ้นส่วนภูเขาไฟขนาดต่าง ๆ ออกมา ส่วนมาก
เป็นเศษหิน ผลึกแร่ เถ้าภูเขาไฟ และฝุ่นภูเขาไฟ
• เมื่อเย็นตัวและแข็งตัวเป็นหิน เรียกว่า หินชิ้นภูเขาไฟ (pyroclastic
rock)
• หินทัฟฟ์ (tuff) เถ้าภูเขาไฟขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.06 – 2
มิลลิเมตร
• บล็อก (block) ชิ้นส่วนภูเขาไฟที่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ใหญ่กว่า
64 มิลลิเมตร เป็นเหลี่ยม
• บอมบ์ (bomb) ชิ้นส่วนที่รูปร่างคล้ายหยดน้า
• กรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ คือ หินที่ประกอบด้วยวัสดุภูเขาไฟขนาดใหญ่ทั้ง
บล๊อกและบอมบ์
• แก้วภูเขาไฟ (volcanic glass) เกิดจากการ
เย็นตัวและแข็งตัวอย่างรวดเร็วของลาวา
• หินพัมมิซ (pumice) จะเป็นแก้วภูเขาไฟที่มีรู
พรุนมาก มีน้าหนักเบา และลอยน้าได้ เกิดจากการ
หนีของฟองอากาศในขณะที่ลาวาถูกพ่นขึ้นไปใน
อากาศ
3.2.3 ผลของภูเขาไฟระเบิด
ที่มีต่อลักษณะภูมิประเทศ
• เกิดพื้นที่ที่เป็นการสร้างสรรค์ขึ้นมาใหม่ เช่น ที่ราบสูงบะซอลต์ เกิด
จากลาวาไหลแผ่เป็นบริเวณกว้าง และทับถมกันหลายชั้นเมื่อแข็งตัวก็
กลายเป็นที่ราบและเนินเขา
3.2.4 ภูเขาไฟในประเทศไทย
4/16 – 27/06/57
• ประเทศไทยเคยมีการระเบิดของภูเขาไฟมาก่อน โดยมีหลักฐานจาก
หินภูเขาไฟหลากหลายชนิดที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วประเทศ
• บริเวณที่พบหินภูเขาไฟ ได้แก่ จังหวัดลพบุรี กาญจนบุรี ตราด
สระบุรี ลาปาง สุรินทร์ และศรีสะเกษ เป็นต้น
• ภูเขาไฟที่สารวจพบในประเทศไทยส่วนใหญ่มีรูปร่างไม่แน่ชัด ที่มี
รูปร่างแน่ชัดมากที่สุด ได้แก่ ภูเขาไฟดอยผาคอกหินฟู จังหวัด
ลาปาง ภูเขาไฟภูพระอังคาร และภูเขาไฟพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์
ซึ่งจะมีปากปล่องให้เห็นเป็นร่องรอย
3.2.5 โทษและประโยชน์จากภูเขาไฟ
โทษจากภูเขาไฟ
ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน
ภูมิอากาศของโลกเปลี่ยนแปลง
แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และคาร์บอนไดออกไซด์ ทาให้เกิดฝน
กรดและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
เกิดคลื่นยักษ์สึนามึ
ประโยชน์จากภูเขาไฟ
เกิดภูเขาและที่ราบสูงรูปร่างต่าง ๆ
ดินมีแร่ธาตุต่าง ๆ ที่เป็นอาหารของพืชสะสมอยู่ในดินอย่างมากมาย
ทาให้เราพบอัญมณีในชั้นตะกอน หินบะซอลต์จึงเกี่ยวข้องกับการ
กาเนิดอัญมณี และเป็นแหล่งแร่อัญมณีที่สาคัญ
ดินขาวที่เปลี่ยนจากหินไรโอไลต์ ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสหกรรมเซรามิก
เช่นแหล่งแร่ดินขาว เขาปางค่า ตาบลบ้านสา อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง
หินภูเขาไฟบางแห่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว เช่น บ้านน้าเดือด เขาหินเหล็กไฟ
อาเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ และวัดแสนตุ่ม ในอาเภอเขาสมิง
จังหวัดตราด
THE END

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาTa Lattapol
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยMark Pitchayut
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวkrupornpana55
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 

What's hot (20)

การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาบทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
บทที่ 3 ปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
ภูเขาไฟ
ภูเขาไฟภูเขาไฟ
ภูเขาไฟ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
 
หิน
หินหิน
หิน
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 

Viewers also liked

เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนChay Kung
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonicsChay Kung
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑Chay Kung
 
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์Chay Kung
 
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้Chay Kung
 
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...Chay Kung
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรChay Kung
 
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้Chay Kung
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05Chay Kung
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAChay Kung
 
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาแนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาChay Kung
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01Chay Kung
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VIChay Kung
 

Viewers also liked (16)

Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เล่มที่ 4 แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
Plate tectonics
Plate tectonicsPlate tectonics
Plate tectonics
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่ม 5 แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เล่มที่ 3 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
เล่ม 6 แนวทางการพัฒนาและประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ตามหลักสูตรแกนกล...
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
เล่มที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร
 
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
เล่มที่ 2 แนวทางการจัดการเรียนรู้
 
Astronomy 05
Astronomy 05Astronomy 05
Astronomy 05
 
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISAตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
ตัวอย่างข้อสอบการรู้เรื่องการอ่าน สำหรับการสอบ PISA
 
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษาแนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการตรวจสอบองค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
 
Astronomy 01
Astronomy 01Astronomy 01
Astronomy 01
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 

Similar to Astronomy 04

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวMoukung'z Cazino
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวNIMT
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติsoysuwanyuennan
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 

Similar to Astronomy 04 (7)

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหวโลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง แผ่นดินไหว
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัวแผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 3 ธรณีพิบัติ
 
แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503แผ่นดินไหว503
แผ่นดินไหว503
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 

Astronomy 04