Publicité

BEC-OTTV.pptx

1 Nov 2022
Publicité

Contenu connexe

Publicité

BEC-OTTV.pptx

  1. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลัง (Building Energy Code; BEC)
  2. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน การออกแบบอาคารทั่วไป • ไม่ได้ออกแบบให้ประหยัด พลังงาน • ติดตั้งอุปกรณ์ ประสิทธิภาพต่า • การปรับปรุงอาคาร ค่อนข้างยาก การออกแบบอาคาร ประหยัดพลังงาน • ออกแบบโดยค่านึงถึง ประสิทธิภาพพลังงานใน ระบบต่างๆ • ติดตั้งอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูง
  3. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงานออกกฎกระทรวงกฎกระทรวงว่าด้วยกาหนด ประเภทหรือขนาดของอาคาร และมาตรฐานหลักเกณฑ์และ วิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานตาม มาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2552
  4. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน การตรวจรับรองแบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (2 ขั้นตอน)
  5. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน อาคารที่เข้าข่ายที่ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวง อาคารก่อสร้างใหม่หรืออาคารดัดแปลงที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลัง เดียว ตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไปในกลุ่ม 9 ประเภทอาคาร
  6. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน
  7. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน
  8. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน
  9. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน
  10. กฎหมายอาคารอนุรักษ์พลังงาน
  11. เกณฑ์มาตรฐานประสิทธิภาพของ ระบบเปลือกอาคาร
  12. เปลือกอาคารและปัจจัยต่อการถ่ายเทความ ร้อน เปลือกอาคาร ผนังทีบ ผนังโปร่งแสง อุปกรณ์บังแดดภายนอก
  13. เปลือกอาคารและปัจจัยต่อการถ่ายเทความ ร้อน สีภายนอกอาคาร สีทาภายนอกอาคารมีผลต่อการ ดูดกลืนรังสีอาทิตย์และการถ่ายความ ร้อนเข้าสู่อาคาร ผนังสีอ่อนจะดูดกลืนรังสีอาทิตย์น้อย กว่าผนังสีเข้ม สัมประสิทธิ์การดูดกลืนรังสีอาทิตย์
  14. ผนังโปร่งแสง เปลือกอาคาร ผนังทีบ ผนังโปร่งแสง อุปกรณ์บังแดดภายนอก
  15. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบ อาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
  16. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน ค่าการถ่ายเทความร้อนรวมของผนังด้านนอกของอาคาร (Overall thermal transfer value, OTTV)
  17. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของผนังทึบ (Uw)
  18. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน ค่าความต้านทานความร้อนของฟิ ล์มอากาศและช่องว่าง อากาศ
  19. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน กรณีที่ผนังหรือหลังคาอาคารมีช่องว่างอากาศอยู่ภายในช่องว่าง อากาศ (Air gap or Air space) Ra คือ ความต้านทานความร้อนของช่องว่างอากาศภายในผนัง อาคาร (m2.oC /W)
  20. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน กรณีที่ผนังหรือหลังคาอาคารมีช่องว่างอากาศอยู่ภายในช่องว่าง อากาศ (Air gap or Air space) Ra คือ ความต้านทานความร้อนของช่องว่างอากาศภายในผนัง อาคาร (m2.oC /W)
  21. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของผนังทึบ (Uw)
  22. หลักเกณฑ์และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษ์พลังงาน ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของผนังทึบ (Uw)
Publicité