SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
เสนอ
ครู ทรงศักดิ์ โพธ์เอี่ยม
จัดทาโดย
นายปฏิพล ชนประเสริฐ
เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
รายงานเล่นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโปรแกรมสานักงานขั้นสูง
(รหัสวิชา ง 30210)
โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
ก
คานา
รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โปรแกรมสานักงานขั้นสูง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การ
งานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) เพื่อได้ศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเติมและได้ศึกษาเกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ถ้ารายงาน
เล่นนี้มีข้อผิดพลาดประการใดก็ขอโทษไว้ณ ที่นี้
นาย ปฏิพล ชนประเสริฐ
ข
สารบัญ
เนื้อหา
คำนำ.........................................................................................................................................................ก
ภำษำคอมพิวเตอร์ .......................................................................................................................................1
ภำษำมนุษย์ ...............................................................................................................................................3
ภำษำระดับสูง (High Level Language).........................................................................................................4
คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี...............................................................................................................................6
ผังงำน (Flowchart)....................................................................................................................................6
โปรแกรมโครงสร้ำง ......................................................................................................................................8
คำสั่งในกำรเขียนโปรแกรม.......................................................................................................................... 13
ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์.......................................................................................................................... 15
ค
สารบัญภาพ
ภำพที่ 1.....................................................................................................................................................7
ภำพที่ 2......................................................................................................................................................8
ภำพที่ 3......................................................................................................................................................9
ภำพที่ 4......................................................................................................................................................9
ภำพที่ 5.................................................................................................................................................... 12
ภำพที่ 6.................................................................................................................................................... 13
ภำพที่ 7.................................................................................................................................................... 13
ง
-
1
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาเครื่อง
ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือ
คอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้คานี้มักใช้เรียกแทนภาษา
โปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมี
ภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและ
ภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็น
ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้แต่ก็ไม่จัดว่าเป็น
ภาษาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ
ภาษาระดับต่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย
มากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล
(compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่ง
ได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด
(object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง
ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human-
readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูก
ออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็น
ภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
2
ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็น
เลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้
ทันที
คาสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคาสั่งที่จะสั่งให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทาอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคา Operation
code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนาข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์
(Operand) ในการเขียนด้วยคาสั่งภาษานี้ ผู้ทาโปรแกรมจะต้องจาที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือ
ที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของ
เครื่อง ปกติกว่าจะจาได้มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้
นาค่าที่หน่วยความจาเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจา 8672 จะเขียนว่า
00100000000000000000000000010111000
หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คาสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิด
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้
ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่
ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้
ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจาคาสั่งเป็นลาดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยัง
จะต้องออกคาสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย
ตัวอย่างเช่น คาสั่งภาษาเครื่องสาหรับบวกเลขสองจานวนอาจมีลักษณะดังนี้
0110000000000110
3
0110110000010000
1010010000010001
ภาษามนุษย์
ภาษามนุษย์เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทาหรือวิธี
สื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทาโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้
ด้วยและจาได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะ
แปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้
เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทาให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและ
สื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทาได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที
ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ
2.1 ภาษาระดับต่า (Low level language)
2.2 ภาษาระดับสูง (High level language)
ภาษาระดับต่า หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์
ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้
สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มี
เพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคาสั่งภาษาแอส
เซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้
เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ
4
(Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object
program)
ภาษาระดับสูง (High Level Language)
เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคาสั่ง ไวยากรณ์ และ
กฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจาได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลาย
ประเภท เช่น
ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC
ภาษา PASCAL ภาษา C
ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG
ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทาขึ้นโดย
ใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็น
โปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานให้ได้
ตัวอย่างภาษาระดับสูง
1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษา
ที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้
ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้อง
ใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคาสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลที
ละคาสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคาสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทาซ้า ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง
ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการ
คอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่
ส่งเสริมให้นาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์
เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจารอม
5
เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้
2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คานี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ.
1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคานวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้
มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงาน
คานวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคานวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ
ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผล
หรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกาหนด
เฉพาะที่ไม่สับสน กาหนดถึงลาดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สาหรับปัญหาต่าง ๆ
ในรูปของขั้นตอนที่มีจานวนจากัด
โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซ้า (iterate)
หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ใน
ขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทางาน
ในการทางานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้โดยที่ผลลัพธ์ที่
ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้และจะมีความแตกต่าง ที่จานวนและชุดคาสั่ง
ที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจา (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือ
เรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน
การนาขั้นตอนวิธีไปใช้ไม่จากัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหา
อื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทางานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาใน
ธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง
6
คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี
1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยค
ภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคาสั่งจาลอง
2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness)
3. การประมวลผล operations ที่กาหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลาดับที่แน่นอน(effectiveness)
4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กาหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป
(generality)
5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness)
ขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
1. เข้าใจปัญหา
2. วางแผนลาดับขั้นตอนการแก้ปัญหา
3. เขียนโปรแกรม
4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง
5. ทดสอบโปรแกรม
6. นาโปรแกรมไปใช้
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการ
ทางาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทา
ให้เห็นขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน มีลูกศรกากับทิศทางการทางานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และ
สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่
ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่าง
ผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า
ผังงานมี 2 ชนิด คือ
7
1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้าง ๆ
แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย
2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของ
โปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คานวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์
สัญลักษณ์ของผังงาน
ภาพที่ 1
8
โปรแกรมโครงสร้าง
ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ
1. การทางานแบบตามลาดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้
ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึง
บรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์
ภาพที่ 2
2. การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียน
โปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็น
จริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทาอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมาก
ขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผล
การเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
9
ภาพที่ 3
3. การทาซ้า(Repeation or Loop) การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการ
ควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการ
เขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียน
โปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง
ภาพที่ 4
10
ประโยชน์ของผังงาน
1. ทาให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define)
2. แสดงลาดับการทางาน (Step Flowing)
3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug)
4. ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read)
5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language
รหัสเทียม (Pseudo code)
รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและ
รูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจง
ภาษาใดภาษาหนึ่ง
การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์
เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม
1. ประโยคคาสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย
2. ประโยคคาสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น
3. คาหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม
4. คาสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว
5. กลุ่มของประโยคคาสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจาเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก
การเขียนรหัสเทียม
การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้
1. การกาหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล
1.1 กาหนดค่าเริ่มต้น คาที่ใช้Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500
1.2 กาหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB
=100 หรือ C = AA
2. การรับข้อมูล คาที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA
3. การแสดงข้อมูลออก คาที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen”
11
หรือ Print AA
4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9
5. การเปรียบเทียบและทาการเลือก คาที่ใช้ IF, THEN, ELSE
6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้า คาที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO
ปาสคาล(Pascal)
ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สาหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคาสั่งที่เหมือนกับ
ภาษาของมนุษย์(ภาษาอังกฤษ) มีลาดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง
(Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจาเป็นที่จะต้องมี
ตัวแปลคาสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้
ตัวแปลคาสั่ง แบ่งได้2 ประเภทคือ
1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทาการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดย
จะทาการแปลคาสั่งทีเดียวหมดทุกคาสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทาการแจ้งไว้พร้อมกันใน
ตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทาให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคาสั่งที่รอการ
ประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนาไปประมวลผล
(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที
2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ที
ละคาสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้น
การแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทางานได้ค่อนข้าง
รวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์
โครงสร้างของภาษาปาสคาล
ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้
1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สาหรับกาหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วย
คาว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น
12
ภาพที่ 5
เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สาหรับจบคาสั่ง
2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้หน้าที่ของ
ส่วนนี้เช่น
- กาหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้Type
- กาหนดตัวแปรโดยใช้ VAR
ชนิดของตัวแปร
1. จานวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer
2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char
3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string
4. จานวนจริง เช่น 1.414 คือ real
- กาหนดค่าคงที่โดยใช้CONST
- กาหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure
- กาหนดฟังก์ชั่น Function
3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยค
คาสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทางาน โดยนาคาสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคาสั่งจะจบ
ด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END
ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’
13
ภาพที่ 6
ภาพที่ 7
คาสั่งในการเขียนโปรแกรม
คาสั่งประกาศตัวแปร
var a,b,c : integer;
- ประกาศตัวแปร a,b,c เป็นชนิด integer
const tax = 0.07;
- ประกาศตัวแปร tax เป็นชนิดค่าคงที่ และกาหนดค่าเท่ากับ 0.07
14
คาสั่งรับค่า
read(x);
- รับค่าจากแป้นพิมพ์เก็บไว้ในตัวแปร x
readln(y);
- รับค่าจากแป้นพิมพ์เก็บไว้ในตัวแปร y แล้วขึ้นบรรทัดใหม่
readln;
- คาสั่งรอรับการ enter
คาสั่งแสดงผล
write(‘ข้อความ’);
- สั่งแสดง ข้อความ ออกทางจอภาพ
writeln(‘ข้อความ’);
- สั่งแสดง ข้อความ ทางจอภาพ แล้วขึ้นบรรทัดใหม่
15
ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์
Fortran : ภาษาระดับสูงภาษาแรก เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้งานด้านวิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ และด้านคณิตศาสตร์ ภาษาฟอร์เทนจะประกอบด้วยข้อความ คาสั่ง ทีละ
บรรทัด
Colbol : ภาษาโปรแกรมสาหรับธุรกิจ ที่มีลักษณะคล้ายกับภาษาอังกฤษ และที่สาคัญคือ เป็น
ภาษาโปรแกรมที่อิสระจากเครื่อง หมายความว่า โปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้งานบนคอมพิวเตอร์
ชนิดหนึ่งเพียงแค่ปรับปรุงเล็กน้อยก็สามารถรันได้บนคอมพิวเตอร์อีกชนิดหนึ่ง
Basic : ภาษาโปรแกรมสาหรับผู้เริ่มต้น เป็นภาษาโปรแกรมที่เรียนรู้ง่าย ไม่ซับซ้อน เหมาะ
สาหรับใช้ในวงการศึกษา
Pascal : เป็นภาษาสาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะ เป็นภาษาที่เขียนง่าย ใช้ถ้อยคาน้อย
Ada : ภาษามาตรฐาน ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย โปรแกรมเมอร์คนแรก คือ เคาต์Add Lovelace เป็น
ภาษาที่ประสบความเร็จกับงานด้านธุรกิจ
16
C : ภาษาสมับใหม่ เป็นภาษาที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรมระบบปฎิบัติการ เหมาะสาหรับ
โปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูง
ALGOL : เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมด้านวิทยาศาสตร์
LISP : เป็นภาษาที่ใช้เมื่อประมวลผลด้านสัญลักษณ์, อักขระ,หรือคาต่างๆ ซึ่งเป็นการได้ตอบ
ระหว่างคนกับคอมพิวเตอร์ ภาษานี้นิยมใช้เขียนโปรแกรมด้านปัญญาประดิษฐ์
Prolog : เป็นภาษาโปรแกรมสาหรับงานด้านปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งแทนการใช้ภาษาLISP
PL/1 : เป็นภาษาที่เรียนรู้ง่าย ใช้งานทั้งด้านวิทยาศาสตร์ และด้านธุรกิจ ดังนั้นภาษานี้จะมีขนาด
ใหญ่ มี option มาก
ALP : เป็นภาษที่เหมาะสมกับการทาตาราง มีสัญลักษณ์ต่างๆ มาก
Logo : เป็นภาษาย่อยของ lisp เป็นโปรแกรมสาหรับเด็ก มีการสนทนาโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์
โดยใช้"เต่า" เป็นสัญลักษณ์โต้ตอบกับคาสั่งง่ายเช่น forward, left
Pilot : เป็นภาษาโปรแกรมที่นิยมใช้มากที่สุดในการเขียนโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน(CAI) เช่น งานเกี่ยวกับคาสั่ง ฝึกหัด การทดสอบ เป็นต้น
17
Smalltalk : เป็นภาษาเชิงโต้ตอบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยการจา และการพิมพ์เป็น
ภาษาที่สนับสนุนระบบคอมพิวเตอร์ภาพ เป็นภาษาเชิงวัตถุไม่ใช่เชิงกระบวนการ
Forth : เป็นภาษาสาหรับงานควบคุมแบบทันที เช่นการแนะนากล้องดาราศาสตร์ และเป็นภาษา
โปรแกรมที่มีความเร็วสูง
Modula-2 : คล้ายคลึงกับภาษาปาสคาล ออกแบบมาเพื่อให้เขียนซอฟต์แวร์ระบบ
RPG : เป็นภาษาเชิงปัญหา ออกแบบมาเพื่อใช้แก้ปัญหาการทารายงานเชิงธุรกิจ เช่น การ
ปรับปรุงแฟ้มข้อมูล
18
อ้างอิง
http://www.pbps.ac.th/e_learning/combasic/com_languages.html
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B
2%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8
%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C
http://www4.csc.ku.ac.th/~b5340204758/lean7.html

More Related Content

What's hot

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลNu Boon
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราSilver Bullet
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...Kanyanat Kate
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Jim Root
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptอ๋อ จ้า
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1krupick
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 

What's hot (20)

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
 
ข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพราข้าวผัดกะเพรา
ข้าวผัดกะเพรา
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง  การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทซอฟต์แวร์ เรื่อง การศึกษาความนิยมผลิตภัณฑ์จากช...
 
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งานใบงานที่  6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
ใบงานที่ 6.1 เรื่อง อินเตอร์เน็ตและการใช้งาน
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๖
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 

Similar to ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Monberry NooNan
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer languageIrinApat
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์bpatra
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อThanisorn Deenarn
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Inam Chatsanova
 
ภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนFoame Fly
 
ภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนfoampalm
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7naraporn buanuch
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7naraporn buanuch
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาThanyalak Aranwatthananon
 

Similar to ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) (20)

ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
content1
content1content1
content1
 
U1 computer language
U1 computer languageU1 computer language
U1 computer language
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
Chepter2
Chepter2Chepter2
Chepter2
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรน
 
ภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรนภาษาฟอร์แทรน
ภาษาฟอร์แทรน
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
13 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-713 อภิรักษ์-3-7
13 อภิรักษ์-3-7
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)

  • 1. รายงาน เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) เสนอ ครู ทรงศักดิ์ โพธ์เอี่ยม จัดทาโดย นายปฏิพล ชนประเสริฐ เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 รายงานเล่นนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาโปรแกรมสานักงานขั้นสูง (รหัสวิชา ง 30210) โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ก คานา รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โปรแกรมสานักงานขั้นสูง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การ งานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) เพื่อได้ศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติมและได้ศึกษาเกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ถ้ารายงาน เล่นนี้มีข้อผิดพลาดประการใดก็ขอโทษไว้ณ ที่นี้ นาย ปฏิพล ชนประเสริฐ
  • 3. ข สารบัญ เนื้อหา คำนำ.........................................................................................................................................................ก ภำษำคอมพิวเตอร์ .......................................................................................................................................1 ภำษำมนุษย์ ...............................................................................................................................................3 ภำษำระดับสูง (High Level Language).........................................................................................................4 คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี...............................................................................................................................6 ผังงำน (Flowchart)....................................................................................................................................6 โปรแกรมโครงสร้ำง ......................................................................................................................................8 คำสั่งในกำรเขียนโปรแกรม.......................................................................................................................... 13 ตัวอย่ำงภำษำคอมพิวเตอร์.......................................................................................................................... 15
  • 4. ค สารบัญภาพ ภำพที่ 1.....................................................................................................................................................7 ภำพที่ 2......................................................................................................................................................8 ภำพที่ 3......................................................................................................................................................9 ภำพที่ 4......................................................................................................................................................9 ภำพที่ 5.................................................................................................................................................... 12 ภำพที่ 6.................................................................................................................................................... 13 ภำพที่ 7.................................................................................................................................................... 13
  • 6. 1 ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึง ภาษาใดๆ ที่ผู้ใช้งานใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์ด้วยกัน แล้วคอมพิวเตอร์สามารถทางานตามคาสั่งนั้นได้คานี้มักใช้เรียกแทนภาษา โปรแกรม แต่ความเป็นจริงภาษาโปรแกรมคือส่วนหนึ่งของภาษาคอมพิวเตอร์เท่านั้น และมี ภาษาอื่นๆ ที่เป็นภาษาคอมพิวเตอร์เช่นกัน ยกตัวอย่างเช่น HTML เป็นทั้งภาษามาร์กอัปและ ภาษาคอมพิวเตอร์ด้วย แม้ว่ามันจะไม่ใช่ภาษาโปรแกรม หรือภาษาเครื่องนั้นก็นับเป็น ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งโดยทางเทคนิคสามารถใช้ในการเขียนโปรแกรมได้แต่ก็ไม่จัดว่าเป็น ภาษาโปรแกรม ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มคือ ภาษาระดับสูง (high level) และ ภาษาระดับต่า (low level) ภาษาระดับสูงถูกออกแบบมาเพื่อให้ใช้งานง่ายและสะดวกสบาย มากกว่าภาษาระดับต่า โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษาจะถูกแปล (compile) ไปเป็นภาษาระดับต่าเพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนาไปใช้งานหรือปฏิบัติตามคาสั่ง ได้ต่อไป ซอฟต์แวร์สมัยใหม่ส่วนมากเขียนด้วยภาษาระดับสูง แปลไปเป็นออบเจกต์โค้ด (object code) แล้วเปลี่ยนให้เป็นชุดคาสั่งในภาษาเครื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งกลุ่มได้เป็นอีกสองประเภทคือ ภาษาที่มนุษย์อ่านออก (human- readable) และภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออก (non human-readable) ภาษาที่มนุษย์อ่านออกถูก ออกแบบมาเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าใจและสื่อสารได้โดยตรงกับคอมพิวเตอร์ ส่วนใหญ่เป็น ภาษาอังกฤษ) ส่วนภาษาที่มนุษย์อ่านไม่ออกจะมีโค้ดบางส่วนที่ไม่อาจอ่านเข้าใจได้
  • 7. 2 ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็น เลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ ทันที คาสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคาสั่งที่จะสั่งให้เครื่อง คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทาอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคา Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนาข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์ (Operand) ในการเขียนด้วยคาสั่งภาษานี้ ผู้ทาโปรแกรมจะต้องจาที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือ ที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของ เครื่อง ปกติกว่าจะจาได้มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้ นาค่าที่หน่วยความจาเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจา 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คาสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิด ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจาคาสั่งเป็นลาดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยัง จะต้องออกคาสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คาสั่งภาษาเครื่องสาหรับบวกเลขสองจานวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110
  • 8. 3 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทาหรือวิธี สื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทาโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ ด้วยและจาได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะ แปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้ เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทาให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและ สื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทาได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่า (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่า หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้ สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มี เพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคาสั่งภาษาแอส เซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้ เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ
  • 9. 4 (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคาสั่ง ไวยากรณ์ และ กฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจาได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลาย ประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทาขึ้นโดย ใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็น โปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษา ที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้อง ใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคาสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลที ละคาสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคาสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทาซ้า ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการ คอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ ส่งเสริมให้นาไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจารอม
  • 10. 5 เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คานี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคานวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้ มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงาน คานวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคานวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผล หรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกาหนด เฉพาะที่ไม่สับสน กาหนดถึงลาดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สาหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจานวนจากัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซ้า (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ใน ขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทางาน ในการทางานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้โดยที่ผลลัพธ์ที่ ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้และจะมีความแตกต่าง ที่จานวนและชุดคาสั่ง ที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจา (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือ เรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนาขั้นตอนวิธีไปใช้ไม่จากัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหา อื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทางานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาใน ธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง
  • 11. 6 คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยค ภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคาสั่งจาลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กาหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลาดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กาหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทางานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลาดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นาโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการ ทางาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทา ให้เห็นขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน มีลูกศรกากับทิศทางการทางานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และ สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คาอธิบาย ข้อความ หรือคาพูด ที่ ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนาเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่าง ผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคาพูด หรือข้อความทาได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ
  • 12. 7 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทางานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทางานของ โปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คานวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน ภาพที่ 1
  • 13. 8 โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทางานแบบตามลาดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึง บรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์ ภาพที่ 2 2. การเลือกกระทาตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียน โปรแกรมเพื่อนาค่าไปเลือกกระทา โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทา 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็น จริงจะกระทากระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทาอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมาก ขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผล การเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทากระบวนการเพียงกระบวนการเดียว
  • 14. 9 ภาพที่ 3 3. การทาซ้า(Repeation or Loop) การทากระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการ ควบคุม หมายถึงการทาซ้าเป็นหลักการที่ทาความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการ เขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียน โปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ภาพที่ 4
  • 15. 10 ประโยชน์ของผังงาน 1. ทาให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลาดับการทางาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทาความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและ รูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจง ภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคาสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคาสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คาหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คาสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคาสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจาเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกาหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กาหนดค่าเริ่มต้น คาที่ใช้Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กาหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คาที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คาที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen”
  • 16. 11 หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทาการเลือก คาที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้า คาที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล(Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สาหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคาสั่งที่เหมือนกับ ภาษาของมนุษย์(ภาษาอังกฤษ) มีลาดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจาเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคาสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคาสั่ง แบ่งได้2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทาการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดย จะทาการแปลคาสั่งทีเดียวหมดทุกคาสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทาการแจ้งไว้พร้อมกันใน ตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทาให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคาสั่งที่รอการ ประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนาไปประมวลผล (execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ที ละคาสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้น การแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทางานได้ค่อนข้าง รวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สาหรับกาหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วย คาว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น
  • 17. 12 ภาพที่ 5 เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สาหรับจบคาสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้หน้าที่ของ ส่วนนี้เช่น - กาหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้Type - กาหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จานวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จานวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กาหนดค่าคงที่โดยใช้CONST - กาหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กาหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยค คาสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทางาน โดยนาคาสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคาสั่งจะจบ ด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’
  • 18. 13 ภาพที่ 6 ภาพที่ 7 คาสั่งในการเขียนโปรแกรม คาสั่งประกาศตัวแปร var a,b,c : integer; - ประกาศตัวแปร a,b,c เป็นชนิด integer const tax = 0.07; - ประกาศตัวแปร tax เป็นชนิดค่าคงที่ และกาหนดค่าเท่ากับ 0.07
  • 19. 14 คาสั่งรับค่า read(x); - รับค่าจากแป้นพิมพ์เก็บไว้ในตัวแปร x readln(y); - รับค่าจากแป้นพิมพ์เก็บไว้ในตัวแปร y แล้วขึ้นบรรทัดใหม่ readln; - คาสั่งรอรับการ enter คาสั่งแสดงผล write(‘ข้อความ’); - สั่งแสดง ข้อความ ออกทางจอภาพ writeln(‘ข้อความ’); - สั่งแสดง ข้อความ ทางจอภาพ แล้วขึ้นบรรทัดใหม่
  • 20. 15 ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ Fortran : ภาษาระดับสูงภาษาแรก เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้งานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และด้านคณิตศาสตร์ ภาษาฟอร์เทนจะประกอบด้วยข้อความ คาสั่ง ทีละ บรรทัด Colbol : ภาษาโปรแกรมสาหรับธุรกิจ ที่มีลักษณะคล้ายกับภาษาอังกฤษ และที่สาคัญคือ เป็น ภาษาโปรแกรมที่อิสระจากเครื่อง หมายความว่า โปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้งานบนคอมพิวเตอร์ ชนิดหนึ่งเพียงแค่ปรับปรุงเล็กน้อยก็สามารถรันได้บนคอมพิวเตอร์อีกชนิดหนึ่ง Basic : ภาษาโปรแกรมสาหรับผู้เริ่มต้น เป็นภาษาโปรแกรมที่เรียนรู้ง่าย ไม่ซับซ้อน เหมาะ สาหรับใช้ในวงการศึกษา Pascal : เป็นภาษาสาหรับการเรียนการสอนโดยเฉพาะ เป็นภาษาที่เขียนง่าย ใช้ถ้อยคาน้อย Ada : ภาษามาตรฐาน ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย โปรแกรมเมอร์คนแรก คือ เคาต์Add Lovelace เป็น ภาษาที่ประสบความเร็จกับงานด้านธุรกิจ
  • 21. 16 C : ภาษาสมับใหม่ เป็นภาษาที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรมระบบปฎิบัติการ เหมาะสาหรับ โปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูง ALGOL : เป็นภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมด้านวิทยาศาสตร์ LISP : เป็นภาษาที่ใช้เมื่อประมวลผลด้านสัญลักษณ์, อักขระ,หรือคาต่างๆ ซึ่งเป็นการได้ตอบ ระหว่างคนกับคอมพิวเตอร์ ภาษานี้นิยมใช้เขียนโปรแกรมด้านปัญญาประดิษฐ์ Prolog : เป็นภาษาโปรแกรมสาหรับงานด้านปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งแทนการใช้ภาษาLISP PL/1 : เป็นภาษาที่เรียนรู้ง่าย ใช้งานทั้งด้านวิทยาศาสตร์ และด้านธุรกิจ ดังนั้นภาษานี้จะมีขนาด ใหญ่ มี option มาก ALP : เป็นภาษที่เหมาะสมกับการทาตาราง มีสัญลักษณ์ต่างๆ มาก Logo : เป็นภาษาย่อยของ lisp เป็นโปรแกรมสาหรับเด็ก มีการสนทนาโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ โดยใช้"เต่า" เป็นสัญลักษณ์โต้ตอบกับคาสั่งง่ายเช่น forward, left Pilot : เป็นภาษาโปรแกรมที่นิยมใช้มากที่สุดในการเขียนโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน(CAI) เช่น งานเกี่ยวกับคาสั่ง ฝึกหัด การทดสอบ เป็นต้น
  • 22. 17 Smalltalk : เป็นภาษาเชิงโต้ตอบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยการจา และการพิมพ์เป็น ภาษาที่สนับสนุนระบบคอมพิวเตอร์ภาพ เป็นภาษาเชิงวัตถุไม่ใช่เชิงกระบวนการ Forth : เป็นภาษาสาหรับงานควบคุมแบบทันที เช่นการแนะนากล้องดาราศาสตร์ และเป็นภาษา โปรแกรมที่มีความเร็วสูง Modula-2 : คล้ายคลึงกับภาษาปาสคาล ออกแบบมาเพื่อให้เขียนซอฟต์แวร์ระบบ RPG : เป็นภาษาเชิงปัญหา ออกแบบมาเพื่อใช้แก้ปัญหาการทารายงานเชิงธุรกิจ เช่น การ ปรับปรุงแฟ้มข้อมูล