SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
วิชาสุขศึกษา เรื่อง เรียนรู้รอบตัวเรา 
อาจารย์รังสรรค์ คงเพ็ชรศักดิ์....ผู้สอน
สาระสาคัญ 
อวัยวะทุกส่วนในร่างกายของคนเราทางานสัมพันธ์กันเป็นระบบ ทุกระบบ ต่างมีความสาคัญต่อร่างกายทั้งสิ้น หากระบบใดทางานผิดปกติก็จะส่งผลกระทบ ต่อระบบอื่น ๆ ด้วย เราจึงควรรู้จักป้องกัน บารุงรักษาอวัยวะต่าง ๆในทุกระบบ ให้สมบูรณ์แข็งแรง ทางานได้ตามปกติอยู่เสมอ จะช่วยให้เรามีสุขภาพดี ระบบ ประสาท ระบบสืบพันธุ์ และระบบต่อมไร้ท่อ ต่างก็มีความสาคัญต่อร่างกาย โดย ระบบประสาทช่วยควบคุมการทางานและรับความรู้สึกของอวัยวะทุกส่วน ช่วยให้ ร่างกายทางานได้ตามที่ต้องการ ระบบสืบพันธุ์ช่วยในการสืบทอดเผ่าพันธุ์ให้คง อยู่ต่อไป และระบบต่อมไร้ท่อผลิตฮอร์โมนไปตามกระแสเลือดสู่อวัยวะเป้าหมาย เพื่อทาหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบต่าง ๆ
ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ มีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกันเป็นจานวนมากนับ ล้าน ๆ เซลล์ กลุ่มเซลล์ที่ร่วมกันทาหน้าที่เฉพาะอย่าง เรียกว่า เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อชนิด เดียวกันหรือต่างชนิดกัน เมื่อร่วมกันทาหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกว่า อวัยวะอวัยวะ หลาย ๆ อวัยวะทางานประสานกันเกิดเป็น ระบบที่สาคัญต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ระบบ ขับถ่ายปัสสาวะ ประกอบด้วยไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ เป็นต้น ระบบต่าง ๆ ในร่างกายทาหน้าที่แตกต่าง แต่ต้องทางานสอดคล้องสัมพันธ์กับร่างกายจึง จะสามารถดารงอยู่ได้อย่างปกติ ดังนั้นเราจึงควรดูแลรักษาสุขภาพร่างกายเพื่อให้อวัยวะ แต่ละระบบทาหน้าที่ได้ตามปกติจะช่วยให้เรามีสุขภาพที่ดี
ระบบประสาท (Nervous System) 
ระบบประสาท คือ ระบบที่ประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และ เส้นประสาททั่วร่างกาย ซึ่งจะทาหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมการ ทางานและการรับความรู้สึกของอวัยวะทุกส่วน รวมถึงความรู้สึก นึกคิด อารมณ์ และความทรงจาต่าง ๆ
องค์ประกอบของระบบประสาท แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 
1.ระบบประสาทส่วนกลาง 
ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วยสมอง (brain) และไข สันหลัง (spinal card)ซึ่งเป็น ศูนย์กลางควบคุมและประสานการ ทางานของร่างกายทั้งหมด 
2.ระบบประสาทส่วนปลาย 
ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง และประสาท ระบบอัตโนมัติ ระบบประสาทส่วน ปลายจะทาหน้าที่นาความรู้สึกจาก ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่ระบบ ประสาทส่วนกลางไปยังอวัยวะ ปฏิบัติงาน
ระบบประสาทส่วนกลาง 
ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วยสมอง (brain) และไขสัน หลัง (spinal card)ซึ่งเป็นศูนย์กลางควบคุมและประสานการ ทางานของร่างกายทั้งหมด
สมอง 
สมองเป็นอวัยวะที่สาคัญและมีขนาดใหญ่กว่าส่วนอื่น ๆ ของ ระบบประสาท บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะมีน้าหนักโดยเฉลี่ย ประมาณ 1.4 กิโลกรัม หรือ 3 ปอนด์ สมองแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นนอกมีสีเทา เรียกว่า เกรย์แมตเตอร์ซึ่งเป็นที่รวมของเซลล์ประสาท และแอกซอนชนิดที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ส่วนชั้นในมีสีขาว เรียกว่า ไวท์ แมต เตอร์เป็นส่วนของใยประสาทที่ออกจากเซลล์ประสาท 
สมองของสัตว์ชั้นสูงจะเป็นที่รวมของใยประสาทควบคุมอวัยวะต่าง ๆ ที่ บริเวณศีรษะทาหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความจา ความฉลาด นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางควบคุมระบบประสาททั้งหมด
ส่วนประกอบของสมอง 
การทาหน้าที่ 
1.สมองส่วนหน้า (forebrain) 
ประกอบด้วย 
-ซีรีบรัม(cerebrum) 
-เป็นสมองส่วนหน้าสุดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทา หน้าที่เกี่ยวกับความจา ความนึกคิด ไหวพริบ และ ความรู้สึกผิดชอบ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลาง ควบคุมการทางานของส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ อยู่ใต้อานาจจิตใจ เช่น ศูนย์ควบคุมการทางาน ของกล้ามเนื้อ การรับสัมผัส การพูด การมองเห็น เป็นต้น 
-ทาลามัส (thalamus) 
-เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้าของสมองส่วนกลางหรือ อยู่ข้าง ๆ โพรงสมอง ทาหน้าที่เป็นสถานีถ่อย ทอดกระแสประสาทที่รับความรู้สึก ก่อนที่จะ ส่งไปยังสมองที่เกี่ยวข้องกับกระแสประสาทนั้น
ส่วนประกอบของสมอง 
การทาหน้าที่ 
-ไฮโพทาลามัส(hypothalamus) 
-สมองส่วนนี้อยู่ใต้ส่วนทาลามัสซึ่งอยู่ด้าน ล่างสุดของสมองส่วนหน้า ทาหน้าที่เป็น ศูนย์กลางควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้น ของหัวใจ การนอนหลับ ความดันเลือด ความหิว ฯลฯ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์และ ความรู้สึกต่าง ๆ เช่น อารมณ์เศร้าโศกเสียใจ เป็น ต้น 
2.สมองส่วนกลาง (Midbrain) 
-เป็นส่วนที่ต่อจากสมองส่วนหน้า ทาหน้าที่ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลูกตาและม่านตา เช่น ทาให้ลูกตากลอกไปมาได้ ปิดเปิดม่านตา ขณะที่มีแสงเข้ามามากหรือน้อย
ส่วนประกอบของสมอง 
การทาหน้าที่ 
3. สมองส่วนท้าย (hindbrain) 
ประกอบด้วย 
-ซีรีเบลลัม(cerebellum) 
-อยู่ใต้ส่วนล่างของซีรีบรัมทาหน้าที่ในการดูแล การทางานของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และระบบ กล้ามเนื้อต่าง ๆ ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่าง เหมาะสมและราบรื่น อีกทั้งยังเป็นตัวรับกระแส ประสาทจากอวัยวะควบคุมการทรงตัว ซึ่งอยู่ในหู ชั้นใน และจากข้อต่อและกล้ามเนื้อต่าง ๆ ซีรี เบลลัมจึงเป็นส่วนสาคัญในการควบคุมการทรงตัว ของร่างกาย 
-พอนส์(pons) 
-เป็นส่วนของก้านสมองที่อยู่ด้านหน้าของซีรี เบลลัมติดกับสมองส่วนกลาง ทาหน้าที่ควบคุม การทางานบางอย่าง เช่น การเคี้ยวอาหาร การ หลั่งน้าลาย การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อบริเวณ ใบหน้า ควบคุมการหายใจ การฟัง
ส่วนประกอบของสมอง 
การทาหน้าที่ 
-เมดัลลา ออบลองกาตา 
-เป็นสมองส่วนท้ายสุด ซึ่งตอนปลายของสมอง ส่วนนี้ต่อกับไขสันหลัง จึงเป็นทางผ่านของกระแส ประสาทระหว่างสมองกับไขสันหลัง นอกจากนี้ เมดัลลา ออบลองกาตายังทาหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุม กิจกรรมของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การเต้น ของหัวใจ การหายใจ การหมุนเวียนเลือด การกลืน การไอ การจาม เป็นต้น 
สมองส่วนกลาง พอนส์และ เมดัลลา ออบลองกาตา สมองทั้ง 3 ส่วนนี้รวมเรียกว่า ก้านสมอง (brain stem)
ไขสันหลังเป็นส่วนที่ต่อจากสมองลงไป ตามแนวช่องกระดูกสันหลัง โดยเริ่มจากกระดูก สันหลังข้อแรกไปจนถึงกระดูกบั้นเอวข้อที่2 ซึ่งมี ความยาวประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวของ กระดูกสันหลัง และมีแขนงเส้นประสาทแตกออก จากข้อสันหลังมากมาย ไขสันหลังจะมีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น และมีของเหลวบรรจุอยู่ในเยื่อหุ้มสมอง ดังนั้นเมื่อมีการเจาะน้าเลี้ยงสมองและไขสันหลัง หรือการฉีดเข้าเส้นสันหลัง แพทย์จะฉีดต่ากว่า กระดูกบั้นเอวข้อที่ 2 ลงไปเพราะบริเวณที่ต่อลง ไปจะเป็นมัดของเส้นประสาทไขสันหลัง จะไม่มี ไขสันหลังปรากฏอยู่โอกาสที่จะเกิดอันตรายกับ ไขสันหลังมีน้อยกว่าการฉีดเข้าไปบริเวณอื่น
2.ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system) 
ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง และประสาทระบบอัตโนมัติ ระบบประสาทส่วน ปลายจะทาหน้าที่นาความรู้สึกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่ระบบ ประสาทส่วนกลางไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน 
•เส้นประสาทสมอง มีอยู่ 12 คู่ ทอดมาจากสมองผ่านรูต่าง ๆ ของ กะโหลกศีรษะไปเลี้ยงบริเวณศีรษะและลาคอเป็นส่วนใหญ่ 
•เส้นประสาทไขสันหลัง มีอยู่ 31 คู่ ออกจากไขสันหลังเป็นช่วง ๆ ผ่านรู ระหว่างกระดูกสันหลังไปสู่ร่างกาย แขน และขา
โดยปกติแล้วเส้นประสาทสมอง และเส้นประสาทไขสันหลังจะประกอบด้วยใย 
ประสาท 2 จาพวก คือ ใยประสาทรับ ซึ่งจะนาสัญญาณจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยังสมองหรือไขสันหลังพวกหนึ่ง อีกพวกจะนาคาสั่งจากระบบประสาท ส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลายต่าง ๆ ที่ยึดติดกับกระดูกให้ทางาน ซึ่งทาให้เรา แสดงอิริยาบถต่าง ๆ ได้ 
ประสาทระบบอัตโนมัติ (autonomic nervous system) ประสาท ระบบอัตโนมัติ เป็นระบบประสามที่ควบคุมการทางานของอวัยวะที่อยู่ภายนอก อานาจของจิตใจโดยไม่รู้สึกตัว เช่น การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหวของอวัยวะ ภายใน ผนังของหลอดเลือด และต่อมต่าง ๆ ศูนย์กลางการควบคุมของระบบ ประสาทอัตโนมัติจะอยู่ในก้านสมอง และส่วนที่อยู่ลึกลงไปในสมองที่เรียกว่า ไฮ โพทาลามัสระบบประสาทอัตโนมัติทางานโดยการประสานของเส้นประสาทคู่ หนึ่งซึ่งมีการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับฮอร์โมนจากระบบต่อมไร้ท่อ
การทางานของระบบประสาท 
ระบบประสาทเป็นระบบที่ทางานประสานกันกับระบบกล้ามเนื้อ เช่น ขณะที่ นักเรียนอ่านเนื้อหาของบทเรียนนี้อยู่นั้น ระบบประสาทในร่างกายของนักเรียนกาลัง แยกการทางานอย่างหลากหลาย โดยใช้เวลาเพียงเสี้ยววินาที เริ่มจากการควบคุม กล้ามเนื้อตาให้กลอกไปมา ซ้าย-ขวา จอภาพของตาก็จะส่งข้อมูลไปเรียบเรียงที่ สมองและเก็บบางส่วนไว้ในหน่วยความจา พร้อมทั้งสมองยังสามารถเรียกความทรง จาเก่า ๆ ออกมาใช้ เพื่อให้รับรู้ข้อมูลใหม่ ๆ ได้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันระบบประสาทจะ ส่งคาสั่งไปยังกล้ามเนื้อลายที่ยึดกระดูกให้เรานั่งตัวตรงหรือยกหนังสือขึ้นอ่านได้ และ ยังควบคุมกล้ามเนื้อตาให้กะพริบราว 25 ครั้งต่อนาทีด้วย นอกจากนั้นระบบประสาท ยังรับกระแสประสาทจากอวัยวะภายในต่าง ๆ และส่งคาสั่งกลับไปควบคุมการเต้น ของหัวใจ ความดันเลือด อัตราการหายใจ อุณหภูมิในร่างกาย การย่อยอาหาร และ ระบบอื่น ๆ ให้ทางานตามปกติ การที่นักเรียนสามารถเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อทา กิจกรรมหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกันได้นั้น เพราะมีการประสานงานกันอย่างดี ระหว่างกล้ามเนื้อกับประสาทที่เกี่ยวข้อง
การบารุงรักษาระบบประสาท 
•ระวังไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ 
•ระมัดระวังป้องกันไม่ให้เกิดโรคทางสมอง 
•หลีกเลี่ยงยาชนิดต่าง ๆ ที่มีผลต่อสมอง รวมทั้งยาเสพติดและเครื่องดื่ม ที่มีแอลกฮอล์ 
•พยายามผ่อนคลายความเครียด หากปล่อยให้ความเครียดสะสมเป็น เวลานาน 
•รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะอาหารที่ให้ วิตามินบี 1 สูง ได้แก่อาหารพวกข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ถั่วลิสง เครื่อง ในสัตว์ เมล็ดทานตะวัน เป็นต้น

More Related Content

What's hot

พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อsukanya petin
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 

What's hot (20)

พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 

Similar to ระบบประสาท (Nervous system)

บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทKPainapa
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxminhNguynnh15
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayamaปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - PranayamaPragasit Thitaram
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทkonnycandy4
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 

Similar to ระบบประสาท (Nervous system) (20)

บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayamaปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
ปราณายามะ ขั้นพื้นฐาน - Pranayama
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Nervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาทNervous system ระบบประสาท
Nervous system ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ระบบประสาท (Nervous system)

  • 1. วิชาสุขศึกษา เรื่อง เรียนรู้รอบตัวเรา อาจารย์รังสรรค์ คงเพ็ชรศักดิ์....ผู้สอน
  • 2. สาระสาคัญ อวัยวะทุกส่วนในร่างกายของคนเราทางานสัมพันธ์กันเป็นระบบ ทุกระบบ ต่างมีความสาคัญต่อร่างกายทั้งสิ้น หากระบบใดทางานผิดปกติก็จะส่งผลกระทบ ต่อระบบอื่น ๆ ด้วย เราจึงควรรู้จักป้องกัน บารุงรักษาอวัยวะต่าง ๆในทุกระบบ ให้สมบูรณ์แข็งแรง ทางานได้ตามปกติอยู่เสมอ จะช่วยให้เรามีสุขภาพดี ระบบ ประสาท ระบบสืบพันธุ์ และระบบต่อมไร้ท่อ ต่างก็มีความสาคัญต่อร่างกาย โดย ระบบประสาทช่วยควบคุมการทางานและรับความรู้สึกของอวัยวะทุกส่วน ช่วยให้ ร่างกายทางานได้ตามที่ต้องการ ระบบสืบพันธุ์ช่วยในการสืบทอดเผ่าพันธุ์ให้คง อยู่ต่อไป และระบบต่อมไร้ท่อผลิตฮอร์โมนไปตามกระแสเลือดสู่อวัยวะเป้าหมาย เพื่อทาหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบต่าง ๆ
  • 3. ร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ มีรูปร่างและขนาดที่แตกต่างกันเป็นจานวนมากนับ ล้าน ๆ เซลล์ กลุ่มเซลล์ที่ร่วมกันทาหน้าที่เฉพาะอย่าง เรียกว่า เนื้อเยื่อเนื้อเยื่อชนิด เดียวกันหรือต่างชนิดกัน เมื่อร่วมกันทาหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกว่า อวัยวะอวัยวะ หลาย ๆ อวัยวะทางานประสานกันเกิดเป็น ระบบที่สาคัญต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ระบบ ขับถ่ายปัสสาวะ ประกอบด้วยไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ เป็นต้น ระบบต่าง ๆ ในร่างกายทาหน้าที่แตกต่าง แต่ต้องทางานสอดคล้องสัมพันธ์กับร่างกายจึง จะสามารถดารงอยู่ได้อย่างปกติ ดังนั้นเราจึงควรดูแลรักษาสุขภาพร่างกายเพื่อให้อวัยวะ แต่ละระบบทาหน้าที่ได้ตามปกติจะช่วยให้เรามีสุขภาพที่ดี
  • 4. ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาท คือ ระบบที่ประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และ เส้นประสาททั่วร่างกาย ซึ่งจะทาหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมการ ทางานและการรับความรู้สึกของอวัยวะทุกส่วน รวมถึงความรู้สึก นึกคิด อารมณ์ และความทรงจาต่าง ๆ
  • 5. องค์ประกอบของระบบประสาท แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1.ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วยสมอง (brain) และไข สันหลัง (spinal card)ซึ่งเป็น ศูนย์กลางควบคุมและประสานการ ทางานของร่างกายทั้งหมด 2.ระบบประสาทส่วนปลาย ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง และประสาท ระบบอัตโนมัติ ระบบประสาทส่วน ปลายจะทาหน้าที่นาความรู้สึกจาก ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่ระบบ ประสาทส่วนกลางไปยังอวัยวะ ปฏิบัติงาน
  • 6. ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วยสมอง (brain) และไขสัน หลัง (spinal card)ซึ่งเป็นศูนย์กลางควบคุมและประสานการ ทางานของร่างกายทั้งหมด
  • 7. สมอง สมองเป็นอวัยวะที่สาคัญและมีขนาดใหญ่กว่าส่วนอื่น ๆ ของ ระบบประสาท บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะมีน้าหนักโดยเฉลี่ย ประมาณ 1.4 กิโลกรัม หรือ 3 ปอนด์ สมองแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นนอกมีสีเทา เรียกว่า เกรย์แมตเตอร์ซึ่งเป็นที่รวมของเซลล์ประสาท และแอกซอนชนิดที่ไม่มีเยื่อหุ้ม ส่วนชั้นในมีสีขาว เรียกว่า ไวท์ แมต เตอร์เป็นส่วนของใยประสาทที่ออกจากเซลล์ประสาท สมองของสัตว์ชั้นสูงจะเป็นที่รวมของใยประสาทควบคุมอวัยวะต่าง ๆ ที่ บริเวณศีรษะทาหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความจา ความฉลาด นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางควบคุมระบบประสาททั้งหมด
  • 8. ส่วนประกอบของสมอง การทาหน้าที่ 1.สมองส่วนหน้า (forebrain) ประกอบด้วย -ซีรีบรัม(cerebrum) -เป็นสมองส่วนหน้าสุดที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ทา หน้าที่เกี่ยวกับความจา ความนึกคิด ไหวพริบ และ ความรู้สึกผิดชอบ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลาง ควบคุมการทางานของส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ อยู่ใต้อานาจจิตใจ เช่น ศูนย์ควบคุมการทางาน ของกล้ามเนื้อ การรับสัมผัส การพูด การมองเห็น เป็นต้น -ทาลามัส (thalamus) -เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้าของสมองส่วนกลางหรือ อยู่ข้าง ๆ โพรงสมอง ทาหน้าที่เป็นสถานีถ่อย ทอดกระแสประสาทที่รับความรู้สึก ก่อนที่จะ ส่งไปยังสมองที่เกี่ยวข้องกับกระแสประสาทนั้น
  • 9. ส่วนประกอบของสมอง การทาหน้าที่ -ไฮโพทาลามัส(hypothalamus) -สมองส่วนนี้อยู่ใต้ส่วนทาลามัสซึ่งอยู่ด้าน ล่างสุดของสมองส่วนหน้า ทาหน้าที่เป็น ศูนย์กลางควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้น ของหัวใจ การนอนหลับ ความดันเลือด ความหิว ฯลฯ นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์และ ความรู้สึกต่าง ๆ เช่น อารมณ์เศร้าโศกเสียใจ เป็น ต้น 2.สมองส่วนกลาง (Midbrain) -เป็นส่วนที่ต่อจากสมองส่วนหน้า ทาหน้าที่ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลูกตาและม่านตา เช่น ทาให้ลูกตากลอกไปมาได้ ปิดเปิดม่านตา ขณะที่มีแสงเข้ามามากหรือน้อย
  • 10. ส่วนประกอบของสมอง การทาหน้าที่ 3. สมองส่วนท้าย (hindbrain) ประกอบด้วย -ซีรีเบลลัม(cerebellum) -อยู่ใต้ส่วนล่างของซีรีบรัมทาหน้าที่ในการดูแล การทางานของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และระบบ กล้ามเนื้อต่าง ๆ ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่าง เหมาะสมและราบรื่น อีกทั้งยังเป็นตัวรับกระแส ประสาทจากอวัยวะควบคุมการทรงตัว ซึ่งอยู่ในหู ชั้นใน และจากข้อต่อและกล้ามเนื้อต่าง ๆ ซีรี เบลลัมจึงเป็นส่วนสาคัญในการควบคุมการทรงตัว ของร่างกาย -พอนส์(pons) -เป็นส่วนของก้านสมองที่อยู่ด้านหน้าของซีรี เบลลัมติดกับสมองส่วนกลาง ทาหน้าที่ควบคุม การทางานบางอย่าง เช่น การเคี้ยวอาหาร การ หลั่งน้าลาย การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อบริเวณ ใบหน้า ควบคุมการหายใจ การฟัง
  • 11. ส่วนประกอบของสมอง การทาหน้าที่ -เมดัลลา ออบลองกาตา -เป็นสมองส่วนท้ายสุด ซึ่งตอนปลายของสมอง ส่วนนี้ต่อกับไขสันหลัง จึงเป็นทางผ่านของกระแส ประสาทระหว่างสมองกับไขสันหลัง นอกจากนี้ เมดัลลา ออบลองกาตายังทาหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุม กิจกรรมของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การเต้น ของหัวใจ การหายใจ การหมุนเวียนเลือด การกลืน การไอ การจาม เป็นต้น สมองส่วนกลาง พอนส์และ เมดัลลา ออบลองกาตา สมองทั้ง 3 ส่วนนี้รวมเรียกว่า ก้านสมอง (brain stem)
  • 12. ไขสันหลังเป็นส่วนที่ต่อจากสมองลงไป ตามแนวช่องกระดูกสันหลัง โดยเริ่มจากกระดูก สันหลังข้อแรกไปจนถึงกระดูกบั้นเอวข้อที่2 ซึ่งมี ความยาวประมาณ 2 ใน 3 ของความยาวของ กระดูกสันหลัง และมีแขนงเส้นประสาทแตกออก จากข้อสันหลังมากมาย ไขสันหลังจะมีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น และมีของเหลวบรรจุอยู่ในเยื่อหุ้มสมอง ดังนั้นเมื่อมีการเจาะน้าเลี้ยงสมองและไขสันหลัง หรือการฉีดเข้าเส้นสันหลัง แพทย์จะฉีดต่ากว่า กระดูกบั้นเอวข้อที่ 2 ลงไปเพราะบริเวณที่ต่อลง ไปจะเป็นมัดของเส้นประสาทไขสันหลัง จะไม่มี ไขสันหลังปรากฏอยู่โอกาสที่จะเกิดอันตรายกับ ไขสันหลังมีน้อยกว่าการฉีดเข้าไปบริเวณอื่น
  • 13. 2.ระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system) ระบบประสาทส่วนปลาย ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง เส้นประสาทไขสันหลัง และประสาทระบบอัตโนมัติ ระบบประสาทส่วน ปลายจะทาหน้าที่นาความรู้สึกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเข้าสู่ระบบ ประสาทส่วนกลางไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน •เส้นประสาทสมอง มีอยู่ 12 คู่ ทอดมาจากสมองผ่านรูต่าง ๆ ของ กะโหลกศีรษะไปเลี้ยงบริเวณศีรษะและลาคอเป็นส่วนใหญ่ •เส้นประสาทไขสันหลัง มีอยู่ 31 คู่ ออกจากไขสันหลังเป็นช่วง ๆ ผ่านรู ระหว่างกระดูกสันหลังไปสู่ร่างกาย แขน และขา
  • 14. โดยปกติแล้วเส้นประสาทสมอง และเส้นประสาทไขสันหลังจะประกอบด้วยใย ประสาท 2 จาพวก คือ ใยประสาทรับ ซึ่งจะนาสัญญาณจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยังสมองหรือไขสันหลังพวกหนึ่ง อีกพวกจะนาคาสั่งจากระบบประสาท ส่วนกลางไปยังกล้ามเนื้อลายต่าง ๆ ที่ยึดติดกับกระดูกให้ทางาน ซึ่งทาให้เรา แสดงอิริยาบถต่าง ๆ ได้ ประสาทระบบอัตโนมัติ (autonomic nervous system) ประสาท ระบบอัตโนมัติ เป็นระบบประสามที่ควบคุมการทางานของอวัยวะที่อยู่ภายนอก อานาจของจิตใจโดยไม่รู้สึกตัว เช่น การเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหวของอวัยวะ ภายใน ผนังของหลอดเลือด และต่อมต่าง ๆ ศูนย์กลางการควบคุมของระบบ ประสาทอัตโนมัติจะอยู่ในก้านสมอง และส่วนที่อยู่ลึกลงไปในสมองที่เรียกว่า ไฮ โพทาลามัสระบบประสาทอัตโนมัติทางานโดยการประสานของเส้นประสาทคู่ หนึ่งซึ่งมีการประสานงานอย่างใกล้ชิดกับฮอร์โมนจากระบบต่อมไร้ท่อ
  • 15. การทางานของระบบประสาท ระบบประสาทเป็นระบบที่ทางานประสานกันกับระบบกล้ามเนื้อ เช่น ขณะที่ นักเรียนอ่านเนื้อหาของบทเรียนนี้อยู่นั้น ระบบประสาทในร่างกายของนักเรียนกาลัง แยกการทางานอย่างหลากหลาย โดยใช้เวลาเพียงเสี้ยววินาที เริ่มจากการควบคุม กล้ามเนื้อตาให้กลอกไปมา ซ้าย-ขวา จอภาพของตาก็จะส่งข้อมูลไปเรียบเรียงที่ สมองและเก็บบางส่วนไว้ในหน่วยความจา พร้อมทั้งสมองยังสามารถเรียกความทรง จาเก่า ๆ ออกมาใช้ เพื่อให้รับรู้ข้อมูลใหม่ ๆ ได้ดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันระบบประสาทจะ ส่งคาสั่งไปยังกล้ามเนื้อลายที่ยึดกระดูกให้เรานั่งตัวตรงหรือยกหนังสือขึ้นอ่านได้ และ ยังควบคุมกล้ามเนื้อตาให้กะพริบราว 25 ครั้งต่อนาทีด้วย นอกจากนั้นระบบประสาท ยังรับกระแสประสาทจากอวัยวะภายในต่าง ๆ และส่งคาสั่งกลับไปควบคุมการเต้น ของหัวใจ ความดันเลือด อัตราการหายใจ อุณหภูมิในร่างกาย การย่อยอาหาร และ ระบบอื่น ๆ ให้ทางานตามปกติ การที่นักเรียนสามารถเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อทา กิจกรรมหลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกันได้นั้น เพราะมีการประสานงานกันอย่างดี ระหว่างกล้ามเนื้อกับประสาทที่เกี่ยวข้อง
  • 16. การบารุงรักษาระบบประสาท •ระวังไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ •ระมัดระวังป้องกันไม่ให้เกิดโรคทางสมอง •หลีกเลี่ยงยาชนิดต่าง ๆ ที่มีผลต่อสมอง รวมทั้งยาเสพติดและเครื่องดื่ม ที่มีแอลกฮอล์ •พยายามผ่อนคลายความเครียด หากปล่อยให้ความเครียดสะสมเป็น เวลานาน •รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะอาหารที่ให้ วิตามินบี 1 สูง ได้แก่อาหารพวกข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ ถั่วลิสง เครื่อง ในสัตว์ เมล็ดทานตะวัน เป็นต้น