SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
ประวัติศาสตร์
ไทย
เวลาและวิธีการทางประวัติศาสตร์
- ประวัติศาสตร์คืออะไร ?
- ประวัติศาสตร์เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริงใช่
หรือไม่ ?
- หลักฐานทางประวัติศาสตร์เชื่อถือได้
แค่ไหน ?
- ประวัติศาสตร์มีประโยชน์อย่างไร ?
..............................................................
.......................................................
ความหมายของประวัติศาสตร์
“ประวัติศาสตร์” “
History ” “ Historia ”
เฮโรโดตัส
ประวัติศาสตร์ หมายถึง............
“ วิชาที่ว่าด้วยเหตุการณ์ที่เป็นมา หรือ
เรื่องราวของประเทศชาติตามที่บันทึกไว้เป็น
หลักฐาน ”
“ การศึกษาเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์
โดยอาศัยการวิเคราะห์การตีความจากหลัก
ฐาน ”
องค์ประกอบ ๔ ประการของคำาว่า
“ประวัติศาสตร์”
๑.พฤติกรรมของสังคมมนุษย์....ศึกษาทุกสิ่งที่
มนุษย์ คิด รู้สึก ทำา หวัง
๒.อดีตหรือเวลาที่ผ่านไปแล้ว.....ทุกสิ่งที่เกิด
ความสำาคัญของประวัติศาสตร์
โดยธรรมชาติ มนุษย์มีความสนใจใคร่รู้ใน
ทุกเรื่อง ประวัติศาสตร์สามารถ
ตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์ได้
คุณค่าของประวัติศาสตร์
๑. ประวัติศาสตร์สอนให้มนุษย์รู้จักตนเอง ผู้อื่น
สังคม ความคิด ความเชื่อ
ค่านิยม การกระทำา ““ประวัติศาสตร์ช่วยให้รู้ประวัติศาสตร์ช่วยให้รู้
เขา รู้เราเขา รู้เรา””
๒. ประวัติศาสตร์ช่วยให้รู้และเข้าใจใน
ความเจริญ ความเสื่อม ความ
ร่วมมือ ความขัดแย้ง ““ประวัติศาสตร์เป็นประวัติศาสตร์เป็น
วิธีการทางประวัติศาสตร์
- กระบวนการในการแสวงหาข้อเท็จจริงใน
อดีต
- วิธีการที่นักประวัติศาสตร์ใช้ในการไต่สวน
และสืบสาวเรื่องราวในอดีต
ขั้นที่ ๑....... กำาหนดประเด็น
ขั้นที่ ๒....... ค้นคว้ารวบรวมข้อมูล
+ขั้นที่ ๓....... ตรวจสอบข้อมูล
ขั้นที่ ๔......... สรุปข้อมูล
ขั้นที่ ๕........ นำาเสนอ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น สื่อกลางสื่อกลาง
ระหว่างเหตุการณ์ในอดีตกับการรับรู้ของ
คนในปัจจุบัน
““หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ กับ นักนัก
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์ ต้องพึงพาอาศัยกัน”
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
- แบ่งตามลำาดับความสำาคัญมี ๒ ประเภท
๑.หลักฐานชั้นต้น / หลักฐานปฐมภูมิ
หลักฐานที่เป็นต้นฉบับดั่งเดิม (น่า
เชื่อถือสูง)
- แบ่งตามลักษณะของหลักฐานมี ๒ ประเภท
๑.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร (หลักฐาน
สมัยประวัติศาสตร์)
- จารึก (เก่าแก่ที่สุด)
- ตำานาน
- พระราชพงศาวดาร
- จดหมายเหตุ
- หนังสือราชการ
๒.หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (หลักฐาน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์)
- หลักฐานทางโบราณคดี
จดหมายเหตุลาลูแบร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
ยุคหรือสมัยเป็นคำาที่ใช้บอกช่วงเวลาของ
เหตุการณ์
๑๑.. สมัยก่อนประวัติศาสตร์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (ไม่มีตัวอักษรใช้)
๑๑..๑ ยุคหิน๑ ยุคหิน (นำาหินมาปรับใช้เป็นเครื่องมือ
เครื่องใช้)
ยุคหินเก่ายุคหินเก่า (๒,๕๐๐,๐๐๐ - ๑๐,๐๐๐ ปี
มาแล้ว)
- อาศัยอยู่ในถำ้าหรือเพิงผา
- ดำารงชีวิตด้วยการล่าสัตว์ อพยพโยก
ย้ายตามแหล่งอาหาร
ยุคหินกลางยุคหินกลาง (๑๐,๐๐๐ - ๖,๐๐๐ ปีมาแล้ว)
- เครื่องมือเครื่องใช้(หิน)มีความประณีต
มากขึ้น (คมขึ้น)
- เครื่องมือเครื่องใช้เหมาะแก่การใช้งาน
มากขึ้น
- เริ่มมีการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ (เริ่มอยู่
กับที่มากขึ้น)
ยุคหินใหม่ยุคหินใหม่ (๖,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว)
- มีความเจริญทางวัตถุมากกว่ายุคหินกลาง
- เครื่องมือเครื่องใช้(หิน)มีประสิทธิภาพถึง
ขีดสุด
๑๑..๒๒.. ยุคโลหะยุคโลหะ (นำาโลหะมาทำาเป็นเครื่องมือ
เครื่องใช้)
ยุคสำาริดยุคสำาริด (๔,๐๐๐ ปีมาแล้ว)
- เป็นยุคเริ่มหลอม (ทองแดงผสมกับดีบุก)
(อุณหภูมิไม่สูง)
- เริ่มมีความเป็นชุมชนเมืองมากขึ้น (พัฒนา
จากชุมชนเกษตรกรรม)
- เริ่มแบ่งความสัมพันธ์ของคนในสังคม
ยุคเหล็กยุคเหล็ก (๓,๒๐๐ ปีมาแล้ว)
๒๒.. สมัยประวัติศาสตร์สมัยประวัติศาสตร์ (มีตัวอักษรใช้)
- สมัยสุโขทัย (พ.ศ.๑๗๙๒-๒๐๐๖)
เริ่มตั้งแต่พ่อขุน ศรีอินทราทิตย์ขึ้นครองราชย์
กระทั่งสิ้นสุดสุโขทัย
- สมัยอยุธยา (พ.ศ.๑๘๙๓-๒๓๑๐)
ตั้งแต่สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑(พระเจ้าอู่ทอง)ขึ้นครอง
ราชย์ กระทั่ง กรุงศรีอยุธยาล่มสลาย(พระเจ้าเอกทัศ)
- สมัยธนบุรี (พ.ศ.๒๓๑๐-๒๓๒๕)
พระเจ้าตากสินมหาราชขึ้นครองราชย์ จนสิ้นสุด
อาณาจักรธนบุรี
- สมัยรัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-ปัจจุบัน)
แว่นแคว้นโบราณในดินแดนไทย
อยู่ตรงกลางของ ๒ อารยธรรมยิ่งใหญ่
๑.อารยธรรมจีน
๒.อารยธรรมอินเดีย
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งถิ่นฐานในดินแดนบริเวณ
ประเทศไทย
๑. ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม
-ภาคเหนือ ที่ราบระหว่างภูเขา
-ภาคกลาง ที่ราบลุ่ม
-ภาคตะวันออก+ใต้ ที่ราบชายฝั่งทะเล
## ร้อนชื้นร้อนชื้น คือ ความสมดุลคือ ความสมดุล ##
(ร้อนผสมกับชุ่มชื้น)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
๒๒.. ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์
# นำ้า = ชีวิต #
(ปิงวังยมน่านเจ้าพระยาแม่กลองป่าสักบางปะกง
มูลชีโขงตาปีปัตตานี)
-แร่ธาตุ ของป่า เครื่องเทศ (หมู่เกาะ
โมลุกกะ)
๓๓.. ปัจจัยทางด้านการคมนาคมปัจจัยทางด้านการคมนาคม
-ทางผ่านของ ๒ อารยธรรมอินเดีย-จีน
-ทะเลคือทางเข้าและทางออกของทุกสิ่ง
พัฒนาการของแว่นแคว้นโบราณในดินแดนประเทศไทย
เรื่องราวต่างๆ ไม่สามารถสืบสาวราวเรื่องได้โดยละเอียด
(บันทึกของพ่อค้า นักเดินเรือ พระภิกษุจีน)
๑. แว่นแคว้นโบราณในภาคกลางและภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
ทวารวดี
-หลวงจีนเฮียนจัง บันทึกไว้ว่า “โถโลโปติ”
-ทวารวดี น่าจะตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มแม่นำ้าเจ้าพระยา
-เป็นเมืองวงกลม ไข่ สี่เหลี่ยมมุมมน มีระบบ
ชลประทาน
-รอบเมืองเป็นคูนำ้า กำาแพงคือดินขุดคูนำ้าทำาเป็น
ทำานบ
-พบทวารวดีในทั่วทุกภูมิภาคของไทย
ละโว้หรือลพบุรี
-วัฒนธรรมต่อจากทวารวดี
-ละโว้เป็นเพียงชื่อเมืองศูนย์กลางเท่านั้น
-คล้ายวัฒนธรรมขอมหรือเขมร
-หลักฐานพบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-เอกลักษณ์สำาคัญ มีศาสนาสถานอยู่กลางเมือง มีสระ
นำ้า(บาราย)
-สถาปัตยกรรมตอนต้นเหมือนทวาวรดี ตอนหลังเน้น
หินทราย
(ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพนมวัน ปราสาทเมืองสิงห์
ปราสาทหินสด๊อกก๊อกธม)
๒. แว่นแคว้นโบราณในดินแดนภาคใต้ของไทย
ตามพรลิงค์
-เป็นแว่นแคว้นบนคาบสมุทรมลายู
-“ตามพลิงคม” “ตมพลิงคม” “ตันมาลิง” “ตมลิงคาม” “ศรีธรรม
ราช”
-หลักฐานเก่าแก่ที่พบ รูปเคารพ เช่น ศิวลึงค์ ฐานโยนี รูป
พระนารายณ์
ศรีวิชัย
-อาณาจักรศรีโพธิ์
-เป็นแว่นแคว้นครอบคลุมหมู่เกาะต่างๆ ขึ้นมาจนถึงตามพร
๓. แว่นแคว้นโบราณทางภาคเหนือของไทย
หริภุญชัย
-“เมืองลำาพูนเก่า”
-โบราณวัตถุคล้ายกับทวารวดีแสดงให้เห็นถึงความ
สัมพันธ์
-ลักษณะโบราณสถาน เป็นเจดีย์ทรงสี่เหลี่ยมหรือแปด
เหลี่ยม
(พระธาตุหริภุญชัยมหาวิหาร วัดจามเทวี)
บทที่ ๔ แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นมาของชนชาติ
ไทย
ชนชาติทุกชนชาติล้วนมีประวัติและความเป็นมา ยิ่งระยะ
เวลาของความเป็นมานานเท่าไร ก็ยิ่งภาคภูมิใจมากขึ้น
เท่านั้น
ปัญหาและอุปสรรคในการค้นคว้าที่มาและที่ไปของตัว
เอง
-ขาดแคลนหลักฐาน
ปัจจัยที่กระตุ้นการศึกษาค้นคว้าที่มาและที่ไปตัวเอง
๑.ภัยจากลัทธิล่าอาณานิคม “เข้ามาเพื่อพัฒนาประเทศที่ล้า
หลัง”
๒.ความตื่นตัวกระแสชาตินิยม รักชาติมาก(เกิน)
๓.การเปิดสัมพันธไมตรีกับจีน
-อังกฤษ พม่า+ลาว
-ฮอลันดา อินโดนีเซีย
-ฝรั่งเศส
เวียดนาม+เขมร
แนวความคิดถิ่นเดิมของชนชาติไทย
ความเป็นมาของชนชาติไทยแบ่งเป็น ๒ แนวคิด
๑.คนไทยอพยพมาจากจีน และทางตอนเหนือของ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-บริเวณเอเชียกลาง(อัลไต)
-บริเวณมลฑลเสฉวนของจีน
-บริเวณมณฑลกวางตุ้ง กวางสี รัฐอัสสัม
๒.คนไทยอยู่บริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-บริเวณคาบสมุทรอินโดจีน หรือ คาบสมุทร
มลายู หมู่เกาะชวา
-บริเวณประเทศไทยปัจจุบัน
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ทำำไมจึงเชื่อว่ำคนไทยมำจำกเอเชียกลำง.....
(เทือกเขำอัลไต)
“เอเชียกลำง” ตอนกลำงของทวีปเอเชีย บริเวณทำง
ตอนใต้ของเทือกเขำอัลไต ซึ่งคือประเทศมองโกเลียใน
ปัจจุบัน
-เป็นพวกมองโกลอยด์เหมือนกัน(ผิวเหลือง)
-คำำว่ำ “อัลไต” เพี้ยนมำจำกคำำว่ำ “แอ่งไทย”
-แล้วอพยพลงมำที่แม่นำ้ำหวงเหอ (แม่นำ้ำเหลือง)
-เรียกชื่อตัวเองว่ำ “อ้ำยลำว” หรือ “มุง”
-อพยพอีกครั้งมำที่ มณฑลกุ้ยโจว ยูนนำน กว่ำงซี
จ้วง(กวำงสี) กวำงตุ้ง
-แล้วตั้งอำณำจักรน่ำนเจ้ำ ที่ยูนนำน (กุบไลข่ำนตี
แตก)
คอเคซอยร์นิกรอยด์
“ควำมเชื่อใหม่เกี่ยวกับ เทือกเขำอัลไต”
ปัจจุบันแนวคิดนี้ไม่ได้รับกำรยอมรับแล้ว
-กำรอพยพของคนไทยจำกเทือกเขำอัลไตไปจีนตอน
ใต้(ไม่น่ำเป็นไปได้)
๑.ไกลมำก
๒.สภำพภูมิประเทศ(ภูเขำ,ทะเลทรำย) ภูมิ
อำกำศ(หนำว,แห้งแล้ง)
-“ ”อัลไต มำจำก “ ”แอ่งไทย เป็นเพียงเสียงของภำษำ
ที่คล้ำยกัน
-ไม่มีหลักฐำนที่เกี่ยวข้องกับชนชำติไทยอยู่เลย
ถิ่นเดิมของคนไทยอยู่บริเวณมลฑลเสฉวน
สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระยำดำำรงรำชำนุ
ภำพ
-หนังสือ “ ”พงศำวดำรสยำม
-คนไทยน่ำจะอยู่บริเวณทิเบตติดกับจีน(มณฑล
เสฉวน)
-ประมำณ พ.ศ.๕๐๐ ถูกจีนรุกรำน
-สุดท้ำยหนีมำ สิบสองจุไทย ล้ำนนำ ล้ำนช้ำง
แตร์รีออง เออ ลำกูเปอรี
-นักภำษำศำสตร์ ชำวฝรั่งเศส
-ชนชำติไทยอยู่ในมณฑลเสฉวน และได้ปกครอง
อำณำจักร “ ”ต้ำมุง
-ถูกจีนรุกรำน จึงอพยพสู่ตอนเหนือของคำบสมุทรอินโด
จีน
ไทยอยู่บริเวณมณฑลกวำงตุ้ง กวำงสี รัฐอัส
สัมของอินเดีย
-มีภำษำและมีวัฒนธรรมคล้ำยคลึงกัน
-ประเพณีบำงอย่ำงมีควำมเหมือนกัน “งำนบุญพยำนำค
ของชำวไต”
-เป็นบริเวณที่อุดมสมบูรณ์ เหมำะทำงด้ำนเกษตรกรรม
-“ซือหม่ำเชียน” บันทึกในประวัติศำสตร์จีนว่ำ“ไต”
-ในสมัยรำชวงศ์ฮั่น เรียกบรรพบุรุษของชำวไต
ว่ำ“ชำน”หรือ“สยำม”
-โดยมีอำณำจักรแถน หรือ อำณำจักรเทียน เป็น
อำณำจักรของคนไต
-ต่อมำถูกจีนรุกรำนจึงอพยพลงมำเรื่อยๆ
คนไทยอยู่บริเวณคำบสมุทรมลำยู แถบหมู่
เกำะชวำ
-คนในแถบนั้นมีหน้ำตำ มีภำษำที่คล้ำยกับคนไทย
-“ตำย” ฟิลิปปินส์ใช้ “ ”ปะตำย
-“กู” ฟิลิปปินส์ใช้ “อำกู”
-“แมว” ฟิลิปปินส์ใช้ “แม่ว”
-จำกกำรวิเครำห์ตัวอย่ำงเลือด(DNA) คนไทยกับคน
อินโดนีเซียคล้ำยกัน
-เชื่อว่ำคนไทยอยู่ตรงนั้นก่อนแล้วจึงอพยพขึ้นไป
อยู่ผืนแผ่นดินใหญ่
เพระเหตุใด แนวคิดนี้ถึงไม่ได้รับกำรยอมรับ
-“ ”คำำพ้องเสียง เป็นสิ่งที่อ้ำงอิงถึงควำมเกี่ยวข้อง
คนไทยอยู่ที่นี้......มำนำนแล้ว
-พบเครื่องมือเครื่องใช้ อำยุมำกว่ำ ๑๘๐,๐๐๐ ปีมำแล้ว
-อุดรธำนี แหล่งโบรำณคดีบ้ำนเชียง
-พบโครงกระดูกอำยุประมำณ ๑๐,๐๐๐ ปีมำแล้ว
-กำญจนบุรี ถำ้ำพระ(มีลักษณะเหมือนคนไทยในปัจจุบัน)
-แม่ฮ่องสอน ถำ้ำผี
คนไทย.....(ไม่ได้)อยู่ที่นี้
-นักวิชำกำรส่วนใหญ่ยังไม่ยอมรับ(หลักฐำนน้อย)
-โครงกระดูกวิเครำะห์ควำมคล้ำยหรือเหมือนไม่ได้
-หลักฐำนที่เจอแถบนี้ ระบุว่ำคนไทยไม่ได้เริ่มต้นที่นี้
-ภำพสลักนูนตำ่ำขบวนทหำรชำวสยำมที่ปรำสำทนครวัด
-จำรึกของอำณำจักรจำมปำ
สรุปว่ำ.........คนไทยอยู่ที่ไหนกันแน่
-จำกแนวคิดทั้งหมดยังไม่สำมำรถสรุปได้ (ข้อมูล
น้อย,หลักฐำนน้อย)
-แต่แนวคิดที่ว่ำ “บริเวณมณฑลกวำงตุ้ง กวำงสี
รัฐอัสสัมของอินเดีย”
-แนวคิดดังกล่ำว เป็นแนวควำมคิดที่น่ำเชื่อถือมำก
ที่สุด(ไม่มีใครค้ำน)
-พวกไต ,พวกจ้วง (หน้ำตำ รูปร่ำง ผิว
พรรณ วัฒนธรรม)
-กำรทำำนำดำำ , กำรสร้ำงบ้ำนใต้ถุนสูง ,
กำรสักตำมร่ำงกำย
-คนไทยค่อยๆ อพยพลงมำเรื่อยๆ
-เริ่มตัวกันเป็นอำณำจักร มีควำมเข้มแข็ง
อำณำจักรสุโขทัย
อำณำจักรสุโขทัย
อำณำจักรสุโขทัยถูกบรรจุอยู่ใน
ประวัติศำสตร์ไทยตั้งแต่เมื่อใด....?
-พ.ศ.๒๓๗๖ รัชกำลที่ ๔ ได้ทรงค้นพบศิลำจำรึก
พ่อขุนรำมคำำแหงและศิลำจำรึกสมัยพระยำลิ
ไท(พระมหำธรรมรำชำที่ ๑)
กรุงสุโขทัยเดิมเป็นเมืองหน้ำด่ำน...........
-เดิมเป็นเมืองหน้ำด่ำนทำงภำคเหนือของ
อำณำจักรขอม
-ต่อมำอำณำจักรขอมหมดอำำนำจ(เสร็จเรำ)
-พ่อขุนบำงกลำงหำว+พ่อขุนผำเมือง ยึดเอำมำ
ได้ พ.ศ.๑๗๐๐-๑๘๐๐
-ตั้งพ่อขุนบำงกลำงหำว(ขุนศรีอินทรำทิตย์)
ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักร
สุโขทัย.....
-การรู้รักสามัคคีระหว่างเมืองต่างๆ ของไทยในขณะนั้น
-การเมืองระหว่างแคว้นต่างๆ มีความมั่นคง ไม่มีการแย่ง
ชิงอำานาจ
-ขวัญและกำาลังใจของทหารขอมอ่อนล้า เหนื่อย เบื่อ
หน่ายในการรบ
-พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ (กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ของขอม)
สิ้นพระชนม์
-กษัตริย์องค์ต่อมาขาดความเข้มแข็ง
-ไม่สามารถควบคุมอาณาจักรที่กว้างขวางสุดๆ ได้
การปกครองในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์
-พ่อปกครองลูก(ยุคเริ่มต้น)
อาณาเขตของสุโขทัยในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์
-ทิศเหนือ จรดเมืองแพร่
-ทิศใต้ จรดเมืองนครสวรรค์
-ทิศตะวันออก จรดแม่นำ้าโขง(แถบจังหวัดทาง
ภาคอีสาน)
-ทิศตะวันตก จรดเมืองแม่สอด
เมืองสำาคัญในเวลานั้น.....
-เมืองสุโขทัย เป็นศูนย์กลางทางอำานาจของ
อาณาจักร
-เมืองเฉลียง เมืองตาก เมืองชากังราว เมืองสอง
ระบบการปกครองของไทยตั้งแต่อดีตถึงระบบการปกครองของไทยตั้งแต่อดีตถึง
ปัจจุบันปัจจุบัน
-ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันแบ่งออกได้ ๓ ลักษณะ
๑.ระบบการปกครองแบบผู้นำามีความใกล้ชิดกับราษฎ
“พ่อปกครองลูก”
๒.ระบบการปกครองแบบผู้นำาเปรียบเสมือนสมมุติเทพ
“สมบูรณาญาสิทธิราชย์”
๓.ระบบการปกครองแบบประชาชนเป็นเจ้าของประเ
“ประชาธิปไตย”
พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ครองราชย์สมบัตินานเท่าใด....
-พ่อขุนศรีอินทราทิตย์สถาปนาอาณาจักรสุโขทัย ประมาณ
พ.ศ.๑๗๐๐-๑๘๐๐
-พ่อขุนศรีอินทราทิตย์สวรรคตในประมาณ พ.ศ.๑๘๑๑
กษัตริย์องค์ถัดมาของอาณาจักรสุโขทัย
-กษัตริย์องค์ที่ ๒ ของอาณาจักรสุโขทัยคือ “พ่อขุนบาน
”เมือง
-พ่อขุนบานเมือง ครองราชย์ได้ประมาณ ๙ ปี สวรรคตใน
ประมาณปี พ.ศ.๑๘๒๒
สมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช สมัยแห่งความเจริญ
สูงสุด
-พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช เป็นน้องชายของ “พ่อขุนบาน
เมือง”
ลูกของพ่อขุนศรีอินทราทิต
พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยในสมัยพ่อขุน
รามคำาแหงมหาราช
-อาณาจักรกว้างขว้างกว่าเดิม (ใช้
สงคราม+ผูกมิตร)
-ทิศเหนือ จรดเมืองแพร่ (เท่าเดิม)
-ทิศใต้ สุดแหลมมลายู (เดิมแค่
นครสวรรค์)
-ทิศตะวันออก จรดเมืองเวียงจันทร์ (เดิมแค่
แม่นำ้าโขงฝั่งไทย)
-ทิศตะวันตก จรดเมืองหงสาวดี ทวาย (เดิม
แค่แม่สอด)
-การเมืองการปกครอง
พยายามใช้ทั้ง ๓ รูปแบบ ดังนี้
๑. การปกครองแบบพ่อปกครองลูก
-แขวนกระดิ่งที่ประตูวัง
-อบรมสั่งสอนราชวงศ์ ข้าราชการและประชาชน
ด้วยพระองค์เอง
-เหมือนเป็นคนที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน
๒. การปกครองแบบกระจายอำานาจ
-แบ่งการปกครองออกเป็น ๓ ระดับ
๑.ระดับศูนย์กลาง (เมืองหลวง)
๒.ระดับปฏิบัติตามนโยบาย (เมือง
ลูกหลวง,เมืองพระยามหานคร)
๓.ระดับส่งเครื่องราชบรรณาการ (เมือง
ประเทศราช)
๓. การปกครองคล้ายประชาธิปไตย
-ด้านเศรษฐกิจ
๑.ประชาชนประกอบอาชีพได้ตามแต่ถนัด
๒.การค้าขายระหว่างเมืองไม่มีการเก็บภาษี
พ่อขุนรามคำาแหง ส่งเสริมสนับสนุนด้านอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน
-เครื่องสังคโลก (นำาช่างชาวจีนเข้ามาสอน) (ราชวงศ์ซ้อง)
-เตาทุเรียง,เตาป่ายาง,เตาเกาะน้อย
-ด้านการศึกษา
๑.เป็นการศึกษาตามระบบชนชั้น (วังและวัดคือสถานที่เรียน)
๒.ไม่มีหลักสูตรชัดเจน ไม่มีแบบเรียน เรียนแบบปฏิบัติจริง
๓.ผู้หญิงเรียนเกี่ยวกับการบ้านการเรือน
๔.ทรงประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้น พ.ศ.๑๘๒๖ (อักษรขอมผสม
มอญ)
-เพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวร่วม เอกลักษณ์ สัญญาลักษณ์
ประจำาอาณาจักร
เหตุการณ์หลังสมัยพ่อขุนรามคำาแหงมหาราช
-พ.ศ.๑๘๔๒ พ่อขุนรามคำาแหงมหาราชสวรรคต
-พระยาไสสงครามขึ้นครองราชย์ต่อ...เป็นกษัตริย์ (ช่วงสั้นๆ)
(ไม่นับ)
-กระทั่งในปี พ.ศ.๑๘๖๒ พระยาเลอไท ขึ้นครองราชย์ต่อ
-พ.ศ.๑๘๘๔ พระยางั่วนำาถม ขึ้นเป็นกษัตริย์
-กษัตริย์องค์ต่อมาที่ครองราชย์ คือพระมหาธรรมราชาที่ ๑
(พระยาลิไท/ลือไท)
-พระมหาธรรมราชาที่ ๒ (ลูกของพระยาลิไท)
-พระมหาธรรมราชาที่ ๓ (ไสลือไท) (ลูกของพระมหาธรรม
ราชาที่ ๒)
-พระมหาธรรมราชาที่ ๔ (บรมปาล) (กษัตริย์องค์สุดท้าย)
-รวมพระมหากษัตริย์ราชวงศ์พระร่วงที่ปกครองสุโขทัย
ลูกของพ่อขุนราม
ความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรสุโขทัย
-การชลประทาน
-“ ”สรีดภงส์ = ทำานบ = เขื่อน
-“ ”ตระพัง = สระนำ้า
-ระบบแลกเปลี่ยนเงินตรา
-“ ”เงินพดด้วง (พัฒนาขึ้นมาจากเปลือกหอย)
-วรรณกรรม
- หลักศิลาจารึก , หนังสือไตรภูมิพระร่วง
ความเปลี่ยนแปลงของอาณาจักรสุโขทัย
-ระบอบการปกครอง(เริ่มเปลี่ยนแนว)
-พ่อปกครองลูกมีเฉพาะในระยะแรก เท่านั้น
-สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (กษัตริย์เป็นเทพ)
ค่อยๆ เข้ามาแทนที่
สมัยพระยาลิไท
อิทธิพลจากขอม
สมัยพระยาลิไท
ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย
เจริญสูงสุดโดยพ่อขุนราม หลังจากนั้นอ่อนแอลงเรื่อยๆ
-ขนาดของอาณาจักร (ใหญ่เกิน)
-สถานที่ตั้งเมืองหลวง (ทำาเลไม่เหมาะ)(ด้านล่างมี
อยุธยา ด้านบนมีล้านนา)
-การกระจายของประชากร (ระดมพลยาก)
-การปกครองแบบกระจายอำานาจ
-การแย่งชิงราชสมบัติของกษัตริย์ (พระยางั่วนำาถม
+พระยาเลอไท)
-ความอ่อนแอของกษัตริย์(บางพระองค์)(สมัยพระยาลิ
ไทถูกอยุธยายึดชัยนาท)
-การฝักใฝ่ในพระพุทธศาสนา (พระยาลิไท)
-การถูกปิดล้อมทางเศรษฐกิจ (อยุธยา+เมาะตะมะ)
ปัจจัย
ภายใน
ปัจจัย
ภายนอก

More Related Content

What's hot

7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 

Viewers also liked

Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์kulrisa777_999
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย4lifesecret
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์พัน พัน
 

Viewers also liked (8)

Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย
 
รัฐโบราณ
รัฐโบราณรัฐโบราณ
รัฐโบราณ
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 

Similar to ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมthammanoon laohpiyavisut
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมthammanoon laohpiyavisut
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxthammanoon laohpiyavisut
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxthammanoon laohpiyavisut
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxthammanoon laohpiyavisut
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.chickyshare
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ HistoryDraftfykung U'cslkam
 

Similar to ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย) (13)

หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 005 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ History
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)