ศาสนาอิสลาม

พัน พัน
พัน พันครูสอนคอมพิวเตอร์ à โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
เรื่องศาสนาสากล 
รายวิชาสังคมศึกษา 
ส33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 
สอนโดย...ครูรุ่งนภา คงเพช็รศักดิ์
ศาสนาอิสลาม
ประวัติความเป็นมา 
ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาที่ถือกาเนิดขึ้นในนครมักกะฮ์ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย หลังพุทธศักราชประมาณ ๑,๑๑๓ ปี ผู้ที่นับถือ ศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม แปลว่า ผู้แสวงหาสันติ หรือ ผู้นอบน้อมต่อประสงค์ของพระเจ้า 
มุสลิม นับถือพระผู้เป็นเจ้าที่ยิ่งใหญ่ ทรงพระนามว่า พระอัลลอฮ์ พระอัลลอฮ์ ทรงเลือกบุคคลที่พร้อมด้วยคุณธรรมอันสูงส่ง ในแต่ละยุคแต่ละสมัยให้เป็นศาสน ทูตของพระองค์ มีหน้าที่นาข้อบัญญัติทางศาสนามาเผยแพร่แก่มวลมนุษย์ ศาสนทูต องค์สุดท้าย คือ นบีมุฮัมมัด ท่านเป็นอาหรับ กาเนิดที่เมืองมักกะฮ์ มารดาชื่อ อามี นะฮ์ เป็นชนในเผ่ากุร็อยชฺ ท่านศาสดาเป็นกาพร้าตั้งแต่เยาว์วัย ในเวลาต่อมาจึงต้อง ไปอยู่ในความอุปการะของอาบูฏอลิบผู้เป็นลุง โดยช่วยลุงเลี้ยงปศุสัตว์ ค้าขาย และ ทางานอื่นๆในครอบครัว เมื่อโตเป็นหนุ่ม ได้ไปทางานกับนางคอดีญะฮ์ เศรษฐีม่าย โดยท่านทาหน้าที่ควบคุมกองคาราวานสินค้า ไปขายยังประเทศใกล้เคียง ซึ่งในเวลา ต่อมาทั้งสองก็ได้แต่งงานกัน มีบุตรธิดาด้วยกัน ๖ คน
ในสมัยที่ท่านศาสดาถือกาเนิดนั้น สังคมอาหรับอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมมาก ผู้คนมั่วสุมดื่มน้าเมาและเล่นการพนัน การละเมิดประเวณีเกิดขึ้นเป็นประจา มีการฝัง เด็กหญิงทั้งเป็นเพราะถือว่าเป็นสิ่งอัปมงคล การแก้แค้นด้วยการประหัตประหารเป็น เรื่องปกติผู้คนงมงายกับการบูชารูปเคารพ และการประกอบพีกรรมต่างๆ ที่สิ้นเปลือง และไร้สาระ ท่านศาสดาพยายามหาหนทางแก้ปัญหาในสังคมที่ท่านพบเห็นอยู่เสมอ จนกระทั่งวันหนึ่งขณะที่ท่านหลบไปหาความสงบวิเวกในถ้าบนภูเขาอิรอฮ์ เทวทูต ญิบรออีลก็ได้นาโองการของพระเจ้า (พระอัลลอฮ์) มาประทานแก่ท่าน ท่านศาสดา มุฮัมมัดจึงเริ่มประกาศศาสนา คนแรกที่เข้ารับนับถือ ศาสนาอิสลาม ก็คือ นางคอ ดีญะฮ์ ผู้เป็นภรรยา การประกาศศาสนาช่วงแรกเต็มไปด้วยความยากลาบากและถูก ต่อต้านเพราะ ศาสนาอิสลาม ทาให้ผู้มีอิทธิพลเสียผลประโยชน์ รวมทั้งให้คนทั่วไป ซึ่งนับถือรูปเคารพต่างๆ ขัดเคือง
หลังจากประกาศศาสนาได้ ๑๓ ปี ท่านศาสดา และสาวกได้ลี้ภัยจากการตามล้าง ผลาญของชาวเมืองมักกะฮ์ โดยไปอยู่ที่เมืองมะดีนะฮ์ ปีที่ท่านศาสดามุฮัมมัดอพยพมา อยู่เมืองมะดีนะฮ์นี้ ถือเป็นการเริ่มต้นนับศักราช อิสลาม เรียกว่า ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ. ศ.) จนกระทั่งถึงปี พ.ศ.๑๑๗๓ ท่านศาสดาก็สามารถรวบรวมผู้คนกลับไปยึดเมืองมัก กะฮ์ไว้ได้ โดยปราศจากการสู้รบให้เสียเลือดเนื้อ ท่านศาสดาให้ทาลายรูปเคารพต่างๆ และประกาศนิรโทษกรรมแก่ชาวเมืองที่เคยเป็นปฏิปักษ์ต่อท่าน หลังจากนั้นท่าน ศาสดามุฮัมมัดก็ได้กลับไปเมืองมะดีนะฮ์ ต่อมาภายหลังชนอาหรับเผ่าต่างๆ และ ประเทศข้างเคียงก็ได้ส่งทูตเข้ามาขอเป็นพันธมิตรบ้าง เพื่อขอรับนับถือ ศาสนา อิสลาม ศาสนาอิสลาม จึงได้แพร่ขยายไปทั่วดินแดนตะวันออกกลาง อินเดีย และที่ อื่นๆ นับตั้งแต่บัดนั้น
ประวัติศาสดาของศาสนาอิสลาม 
พระมะหะหมัด หรือพระนบีมะหะหมัด หรือมุฮัมมัด ประสูติที่เมืองเมกกะ เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 570 บิดาชื่อ อับดุลเลาะห์ มารดาชื่อ อามีนะฮ์ บิดาถึงแก่กรรม ขณะที่มารดาตั้งครรภ์พระองค์ได้ 2 เดือน ภายหลังพระองค์ ประสูติได้ไม่นานมารดาของพระองค์ก็ถึงแก่กรรม พระองค์ ต้องอาศัยอยู่กับปู่ซึ่งชราอายุร่วม 100 ปี ไม่นานปู่ก็ถงแก่ กรรม พระองค์ต้องไปอาศัยอยู่กับลุง ซึ่งเป็นพ่อค้าที่ร่ารวย ลุงฝึกสอนให้พระมะหะหมัดทาการค้าขาย พระมะหะหมัดมี นิสับช่างนึกตรึกตรองมาแต่เด็ก บางครั้งจึงเหมือนเป็นคนใจ ลอย สนใจไปทางอื่น ไม่ใช่เรื่องการขาย ตลอดชีวิตไม่ได้ เรียนหนังสือ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แต่การท่องเที่ยวค้าขาย ก็ทาให้ได้ความรู้มาก
ครั้งหนึ่งพระมะหะหมัดขึ้นไปบนยอดเขาฮิรา และที่ยอดเขานี้เอง ความคิดเรื่องถือ พระเจ้าองค์เดียวได้เกิดขึ้นเช่นเดียวกับโมเสสได้รับบัญญัติ 10 ประการจากพระเจ้า ที่ ภูเขาซีนาย มีเรื่องเล่าว่า มีเทพองค์หนึ่งมาปรากฎตัวแก่พระมะหะหมัดโดยบอกให้รู้ว่า พระเจ้าที่แท้จริงมีอยู่องค์เดียว คือ พระอัลเลาะห์(อัลลอฮ์) และให้พระมะหะหมัดเผยแผ่ ศาสนา เรื่องพระอัลเลาะห์ เรื่องนี้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 1453 ขณะที่พระมะหะหมัดอายุ 40 ปี และภายหลังที่แต่งงานกับคาดียะห์ มีความเป็นอยู่อย่างสงบสุข มีทรัพย์สมบัติ มากมายแล้วถึง 15 ปี จึงมีเวลาพอที่จะสนใจใฝ่ศึกษาลัทธิศาสนาต่างๆ คือ ศาสนายิว และคริสต์ศาสนา 
พระมะหะหมัดไปสิ้นพระชนม์ที่เมืองเมดินา ในปี พ.ศ. 1175 เมื่ออายุได้ 61 ปี กว่า
คัมภีร์ศาสนาอิสลาม
คัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ คัมภีร์อัลกุรอาน เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคาสั่งของพระอัลเลาะห์ซึ่งมีเท วโองการผ่านมาทางพระมะหะหมัด ในคัมภีร์อัลกุรอาน มีหลักศรัทธา 6 ประการ และหลักการ ปฏิบัติ 5 ประการ ดังต่อไปนี้ 
หลักศรัทธาความเชื่อ 6 ประการ ดังนี้ 
1.ศรัทธาในพระอัลเลาะห์องค์เดียว 
2.ศรัทธาในศาสดาองค์ต่างๆ และมีศรัทธาเชื่อมั่นว่า พระมะหะหมัดเป็นศาสดาองค์สุดท้าย 
3.ศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอาน 
4.ศรัทธาเชื่อมั่นว่า เทพเป็นผู้นาคาสอนจากพระเจ้า มาสู่พระมะหะหมัด 
5.ศรัทธาเชื่อในวันพระเจ้าพิพากษาโลก หรือวันสิ้น โลกซึ่งเป็นวันที่วิญญาณจะต้องรับผลกรรมจาก การกระทาขณะเมื่อยังมีชีวิตอยู่ 6.ศรัทธาเชื่อว่าสภาวะของโลกและชีวิตเป็นไป ตามเจตจานงของพระอัลเลาะห์ 
หลักปฏิบัติ 5 ประการ 
1.ประกาศปฏิญาณ ชาวมุสลิมจะต้องปฏิญาณอย่าง น้อย 1 ครั้งในชีวิตต่อหน้าพยาน 2 คน ว่ามี ศรัทธาเชื่อมั่นในพระเจ้าอัลเลาะห์ และพระ มะหะหมัดเป็นศาสนทูตของพระอัลเลาะห์ 
2.การสวดมนต์ ชาวมุสลิมเรียกว่า ละหมาด ซึ่งใน คัมภีร์อัลกุรอาน กาหนดไว้ว่าจะต้องสวดมนต์วัน ละ 4 ครั้ง แต่พระมะหะหมัดสวดมนต์วันละ 5 ครั้ง ดังนั้นชาวมุสลิมจึงปฏิบัติตามพระมะหะหมัด คือ สวดมนต์ในเวลาก่อนพระอาทิตย์ขึ้น ก่อนเที่ยง วัน เวลาบ่าย ภายหลังตะวันตก และเมื่อตะวันตก แล้ว 2 ชั่วโมง
3.การบริจาคทาน การบริจาคทานของชาวมุสลิมเป็น ลักษณะสังคมสงเคราะห์ กล่าวคือ ตัวแทนของ ศาสนาจะเก็บเงินได้จากผู้บริจาคเพื่อไว้ใช้ ช่วยเหลือคนยากจน เป็นการทาให้สังคมของชาว มุสลิมอยู่อย่างพึ่งพากันได้ 
4.การถือศีลอด ชาวมุสลิมต้องถือศีลอดเป็นเวลา 1 เดือน ในช่วงเวลา 1 ปี โดยจะเริ่มในเดือน รอมฎอน หรือเราะมะฎอน คือเดือนที่ตามปฏิทิน ศาสนาอิสลามในช่วงนี้ชาวมุสลิมจะสวดมนต์วัน ละ 5 ครั้ง อดอาหารและน้า สารวมกายใจ ตั้งแต่ พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตก ในขณะที่ถือศีล อด ห้ามพูดคาหยาบ คาไร้สาระ ละความชั่วทั้งมวล ไม่วิวาท เป็นการบาเพ็ญศีล เพื่อสร้างขันติธรรม และเมตตาธรรมให้เกิดกับใจ ผู้ไม่ถือศีลอดจะถูก ลงโทษ ด้วยการให้ทาละหมาดเพิ่ม หรือถือศีลอด เพิ่ม การที่ชาวมุสลิมถือศีลอดในเดือนรอมฎอน เพราะเชื่อว่าเป็นเดือนที่พระอัลเลาะห์ส่งคัมภีร์อัลกุ รอานมาให้มนุษยชาติ 
5.การทาพิธีฮัจญ์ คือการไปแสวงบุญที่นครเมกกะ ในประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งเริ่มพิธีในเดือน 12 ของปฏิทินศาสนาอิสลาม การไปบาเพ็ญพิธีฮัจญ์ ไม่ได้กาหนดให้ชาวมุสลิมต้องปฏิบัติ แต่ใน คัมภีร์อัลกุรอานกล่าวว่า เป็นความประสงค์ของ พระอัลเลาะห์ ให้มนุษย์ไปบาเพ็ญพิธีฮัจญ์ ผู้เข้าพิธี ฮัจญ์ต้องเป็นมุสลิม เป็นผู้บรรลุนิติภาวะ มี สติสัมปชัญญะสมบูรณ์ มีความสามารถทั้งกาลัง กาย กาลังทรัพย์ การเดินทางต้องปลอดภัย ผู้เข้าพิธี ฮัจญ์ต้องแต่งชุดขาว
นิกาย 
ศาสนาอิสลามมีนิกายที่สาคัญ 6 นิกาย คือ 1.นิกายซุนนี(Sunni) เป็นนิกายที่ชาวมุสลิมยึดถืออัลกุรอานและจริยาวัฒนของพระ มะหะหมัดเป็นหลัก 2.นิกายชีอะห์(Sheite) เป็นนิกายที่มีความเชื่อมั่นในเอกภาพของพระเจ้าในศาสนาทั้งหลาย และในอีหม่าม ซึ่งสืบเนื่องจากศาสดาเหล่านั้น 3.นิกายซูฟี(Sufi) เป็นนิกายที่เริ่มขึ้นในเปอร์เซีย ปฏิเสธความหรูหราฟุ่มเฟือย เน้นความ ศรัทธาต่อพระเจ้า ควรจะเป็นผู้เคร่งครัดไม่ไยดีต่อทรัพย์สมบัติและต่อโลก ควรบาเพ็ญตบะ และพรตอย่างสงบ 4.นิกายวาฮาบี(Wahabi) เป็นนิกายที่ถือว่าอัลกุรอานเป็นใหญ่และสาคัญที่สุด ไม่เชื่อว่ามีผู้ อยู่ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์และประณามการขอพร ณ สุสานของศาสดามะหะหมัด 5.นิกายอิสมาอีลียะห์(Ismailia) เดิมนิกายนี้มีทัศนะเช่นเดียวกับนิกายชีอะห์ทุกอย่าง แต่ ต่อมาได้ขัดแย้งกันเรื่องอิหม่าม 6.นิกายคอวาริจ(Khawarij) นิกายนี้แยกตัวออกเพราะไม่พอใจในการสิ้นชีวิตของอุสมาน อิหม่ามองค์ที่ 3
สัญลักษณ์ศาสนาอิสลาม
ในศาสนาอิสลาม เคารพบูชาเฉพาะพระอัลเลาะห์องค์เดียวเท่านั้น ไม่นิยม การบูชารูปเคารพอื่น ศาสนาอิสลามจึงไม่มีสัญลักษณ์ใดๆให้ศาสนิกเคารพบูชา แต่ ที่เห็นรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและมีดาวอยู่ข้างบน พบอยู่ในสุเหร่าทั่วไปในประเทศ ที่นับถือศาสนาอิสลามนั้น ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา เป็นเครื่องหมายของ อาณาจักรออตโตมานเติร์ก ซึ่งเป็นอาณาจักรยิ่งใหญ่รุ่งเรืองมากในอดีต มีอานาจ ครอบงายุโรป ตะวันออกกลางทั้งหมด ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมาจนถึง ศตวรรษที่ 20 บรรดาประเทศมุสลิมที่เคยอยู่ในอานาจของอาณาจักรออตโตมาน เติร์กจึงยึดถือเอาเครื่องหมายนั้นเป็นสัญลักษณ์ของตนในฐานะเป็นชนชาติมุสลิม เหมือนกันสืบมา แต่อาจถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามได้โดยอนุโลม หรือถ้าจะพูดว่ารูปพระจันทร์และดาวนี้เป็นเครื่องหมายของศาสนาอิสลามก็น่าจะ เหมาะกว่า
ศาสนาอิสลาม
1 sur 14

Recommandé

ศาสนาซิกข์ par
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
36.2K vues34 diapositives
ศาสนาอิสลาม par
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามนายวินิตย์ ศรีทวี
12.2K vues76 diapositives
ศาสนาคริสต์ par
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์นายวินิตย์ ศรีทวี
20.7K vues55 diapositives
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา par
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
26.1K vues56 diapositives
ศาสนาเปรียบเทียบ par
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
16.3K vues5 diapositives
ศาสนายิว par
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
38.9K vues49 diapositives

Contenu connexe

Tendances

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย) par
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
11.8K vues33 diapositives
พระไตรปิฎก par
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพัน พัน
2.9K vues16 diapositives
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1 par
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
17.9K vues47 diapositives
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา par
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
14.9K vues43 diapositives
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี par
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
89.9K vues17 diapositives
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี par
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
807.3K vues27 diapositives

Tendances(20)

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย) par พัน พัน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน11.8K vues
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1 par prayut2516
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut251617.9K vues
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี par Blackrab Chiba
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
Blackrab Chiba89.9K vues
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี par Warodom Techasrisutee
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee807.3K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ 1 par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn99939.5K vues
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์ par พัน พัน
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
พัน พัน194.1K vues
ศาสนาเปรียบเทียบ par thnaporn999
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn99954.5K vues
ศาสนาชินโต par Padvee Academy
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
Padvee Academy26.5K vues
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1 par montira
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira48.6K vues
พระพุทธศาสนา par Padvee Academy
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy20.6K vues
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 par suchinmam
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam160.3K vues
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม par niralai
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai75.2K vues
คู่มือสภานักเรียน par krupornpana55
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
krupornpana55113.7K vues

En vedette

ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ par
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
5.2K vues2 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
3.9K vues48 diapositives
ศาสนาพราหมณ์ par
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์นายวินิตย์ ศรีทวี
9.3K vues46 diapositives
แผ่นพับวันมาฆบูชา par
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
11.9K vues2 diapositives
ความหมายและประเภทของศาสนา par
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนานายวินิตย์ ศรีทวี
24.3K vues48 diapositives
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ par
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
21.3K vues47 diapositives

En vedette(7)

ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ par niralai
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
niralai5.2K vues
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Jani Kp
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp3.9K vues
แผ่นพับวันมาฆบูชา par thanaetch
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
thanaetch11.9K vues
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ par Anchalee BuddhaBucha
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
ภูมิศาสตร์ par koorimkhong
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
koorimkhong76.7K vues

Similaire à ศาสนาอิสลาม

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
5.8K vues48 diapositives
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว par
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว590806 บทที่-5-แก้ไขแล้ว
590806 บทที่-5-แก้ไขแล้วเตชะชิน เก้าเดือนยี่
1.2K vues17 diapositives
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง par
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงMuttakeen Che-leah
728 vues24 diapositives
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ par
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
2.4K vues61 diapositives
Mazhab par
MazhabMazhab
Mazhabsunnahstudent
1.6K vues52 diapositives
การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่ par
การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่
การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่Imron Daeror
3.4K vues52 diapositives

Similaire à ศาสนาอิสลาม(20)

ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู par Jani Kp
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp5.8K vues
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง par Muttakeen Che-leah
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ par Islamic Invitation
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
Islamic Invitation2.4K vues
การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่ par Imron Daeror
การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่
การสังกัดมัซฮับสลัฟทั้งสี่
Imron Daeror3.4K vues
อาณาจักรตามพรลิงค์ par sangworn
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn3.3K vues
วัฒนธรรมไทย par babyoam
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
babyoam663 vues
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร par ampy48
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy4812.1K vues
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง par พัน พัน
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง

Plus de พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ par
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
10K vues26 diapositives
เรื่องภาษาซี par
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
14.8K vues18 diapositives
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ par
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
3.5K vues22 diapositives
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร par
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
1.5K vues2 diapositives
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ par
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
2K vues30 diapositives
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ par
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
27.3K vues14 diapositives

Plus de พัน พัน(20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ par พัน พัน
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร par พัน พัน
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน27.3K vues
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย par พัน พัน
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ par พัน พัน
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน19.7K vues
ประเภทของคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น par พัน พัน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น par พัน พัน
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ par พัน พัน
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ par พัน พัน
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน15.4K vues

ศาสนาอิสลาม

  • 1. เรื่องศาสนาสากล รายวิชาสังคมศึกษา ส33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 สอนโดย...ครูรุ่งนภา คงเพช็รศักดิ์
  • 3. ประวัติความเป็นมา ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาที่ถือกาเนิดขึ้นในนครมักกะฮ์ ประเทศ ซาอุดิอาระเบีย หลังพุทธศักราชประมาณ ๑,๑๑๓ ปี ผู้ที่นับถือ ศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม แปลว่า ผู้แสวงหาสันติ หรือ ผู้นอบน้อมต่อประสงค์ของพระเจ้า มุสลิม นับถือพระผู้เป็นเจ้าที่ยิ่งใหญ่ ทรงพระนามว่า พระอัลลอฮ์ พระอัลลอฮ์ ทรงเลือกบุคคลที่พร้อมด้วยคุณธรรมอันสูงส่ง ในแต่ละยุคแต่ละสมัยให้เป็นศาสน ทูตของพระองค์ มีหน้าที่นาข้อบัญญัติทางศาสนามาเผยแพร่แก่มวลมนุษย์ ศาสนทูต องค์สุดท้าย คือ นบีมุฮัมมัด ท่านเป็นอาหรับ กาเนิดที่เมืองมักกะฮ์ มารดาชื่อ อามี นะฮ์ เป็นชนในเผ่ากุร็อยชฺ ท่านศาสดาเป็นกาพร้าตั้งแต่เยาว์วัย ในเวลาต่อมาจึงต้อง ไปอยู่ในความอุปการะของอาบูฏอลิบผู้เป็นลุง โดยช่วยลุงเลี้ยงปศุสัตว์ ค้าขาย และ ทางานอื่นๆในครอบครัว เมื่อโตเป็นหนุ่ม ได้ไปทางานกับนางคอดีญะฮ์ เศรษฐีม่าย โดยท่านทาหน้าที่ควบคุมกองคาราวานสินค้า ไปขายยังประเทศใกล้เคียง ซึ่งในเวลา ต่อมาทั้งสองก็ได้แต่งงานกัน มีบุตรธิดาด้วยกัน ๖ คน
  • 4. ในสมัยที่ท่านศาสดาถือกาเนิดนั้น สังคมอาหรับอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมมาก ผู้คนมั่วสุมดื่มน้าเมาและเล่นการพนัน การละเมิดประเวณีเกิดขึ้นเป็นประจา มีการฝัง เด็กหญิงทั้งเป็นเพราะถือว่าเป็นสิ่งอัปมงคล การแก้แค้นด้วยการประหัตประหารเป็น เรื่องปกติผู้คนงมงายกับการบูชารูปเคารพ และการประกอบพีกรรมต่างๆ ที่สิ้นเปลือง และไร้สาระ ท่านศาสดาพยายามหาหนทางแก้ปัญหาในสังคมที่ท่านพบเห็นอยู่เสมอ จนกระทั่งวันหนึ่งขณะที่ท่านหลบไปหาความสงบวิเวกในถ้าบนภูเขาอิรอฮ์ เทวทูต ญิบรออีลก็ได้นาโองการของพระเจ้า (พระอัลลอฮ์) มาประทานแก่ท่าน ท่านศาสดา มุฮัมมัดจึงเริ่มประกาศศาสนา คนแรกที่เข้ารับนับถือ ศาสนาอิสลาม ก็คือ นางคอ ดีญะฮ์ ผู้เป็นภรรยา การประกาศศาสนาช่วงแรกเต็มไปด้วยความยากลาบากและถูก ต่อต้านเพราะ ศาสนาอิสลาม ทาให้ผู้มีอิทธิพลเสียผลประโยชน์ รวมทั้งให้คนทั่วไป ซึ่งนับถือรูปเคารพต่างๆ ขัดเคือง
  • 5. หลังจากประกาศศาสนาได้ ๑๓ ปี ท่านศาสดา และสาวกได้ลี้ภัยจากการตามล้าง ผลาญของชาวเมืองมักกะฮ์ โดยไปอยู่ที่เมืองมะดีนะฮ์ ปีที่ท่านศาสดามุฮัมมัดอพยพมา อยู่เมืองมะดีนะฮ์นี้ ถือเป็นการเริ่มต้นนับศักราช อิสลาม เรียกว่า ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ. ศ.) จนกระทั่งถึงปี พ.ศ.๑๑๗๓ ท่านศาสดาก็สามารถรวบรวมผู้คนกลับไปยึดเมืองมัก กะฮ์ไว้ได้ โดยปราศจากการสู้รบให้เสียเลือดเนื้อ ท่านศาสดาให้ทาลายรูปเคารพต่างๆ และประกาศนิรโทษกรรมแก่ชาวเมืองที่เคยเป็นปฏิปักษ์ต่อท่าน หลังจากนั้นท่าน ศาสดามุฮัมมัดก็ได้กลับไปเมืองมะดีนะฮ์ ต่อมาภายหลังชนอาหรับเผ่าต่างๆ และ ประเทศข้างเคียงก็ได้ส่งทูตเข้ามาขอเป็นพันธมิตรบ้าง เพื่อขอรับนับถือ ศาสนา อิสลาม ศาสนาอิสลาม จึงได้แพร่ขยายไปทั่วดินแดนตะวันออกกลาง อินเดีย และที่ อื่นๆ นับตั้งแต่บัดนั้น
  • 6. ประวัติศาสดาของศาสนาอิสลาม พระมะหะหมัด หรือพระนบีมะหะหมัด หรือมุฮัมมัด ประสูติที่เมืองเมกกะ เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 570 บิดาชื่อ อับดุลเลาะห์ มารดาชื่อ อามีนะฮ์ บิดาถึงแก่กรรม ขณะที่มารดาตั้งครรภ์พระองค์ได้ 2 เดือน ภายหลังพระองค์ ประสูติได้ไม่นานมารดาของพระองค์ก็ถึงแก่กรรม พระองค์ ต้องอาศัยอยู่กับปู่ซึ่งชราอายุร่วม 100 ปี ไม่นานปู่ก็ถงแก่ กรรม พระองค์ต้องไปอาศัยอยู่กับลุง ซึ่งเป็นพ่อค้าที่ร่ารวย ลุงฝึกสอนให้พระมะหะหมัดทาการค้าขาย พระมะหะหมัดมี นิสับช่างนึกตรึกตรองมาแต่เด็ก บางครั้งจึงเหมือนเป็นคนใจ ลอย สนใจไปทางอื่น ไม่ใช่เรื่องการขาย ตลอดชีวิตไม่ได้ เรียนหนังสือ อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แต่การท่องเที่ยวค้าขาย ก็ทาให้ได้ความรู้มาก
  • 7. ครั้งหนึ่งพระมะหะหมัดขึ้นไปบนยอดเขาฮิรา และที่ยอดเขานี้เอง ความคิดเรื่องถือ พระเจ้าองค์เดียวได้เกิดขึ้นเช่นเดียวกับโมเสสได้รับบัญญัติ 10 ประการจากพระเจ้า ที่ ภูเขาซีนาย มีเรื่องเล่าว่า มีเทพองค์หนึ่งมาปรากฎตัวแก่พระมะหะหมัดโดยบอกให้รู้ว่า พระเจ้าที่แท้จริงมีอยู่องค์เดียว คือ พระอัลเลาะห์(อัลลอฮ์) และให้พระมะหะหมัดเผยแผ่ ศาสนา เรื่องพระอัลเลาะห์ เรื่องนี้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 1453 ขณะที่พระมะหะหมัดอายุ 40 ปี และภายหลังที่แต่งงานกับคาดียะห์ มีความเป็นอยู่อย่างสงบสุข มีทรัพย์สมบัติ มากมายแล้วถึง 15 ปี จึงมีเวลาพอที่จะสนใจใฝ่ศึกษาลัทธิศาสนาต่างๆ คือ ศาสนายิว และคริสต์ศาสนา พระมะหะหมัดไปสิ้นพระชนม์ที่เมืองเมดินา ในปี พ.ศ. 1175 เมื่ออายุได้ 61 ปี กว่า
  • 9. คัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ คัมภีร์อัลกุรอาน เป็นคัมภีร์ที่บันทึกคาสั่งของพระอัลเลาะห์ซึ่งมีเท วโองการผ่านมาทางพระมะหะหมัด ในคัมภีร์อัลกุรอาน มีหลักศรัทธา 6 ประการ และหลักการ ปฏิบัติ 5 ประการ ดังต่อไปนี้ หลักศรัทธาความเชื่อ 6 ประการ ดังนี้ 1.ศรัทธาในพระอัลเลาะห์องค์เดียว 2.ศรัทธาในศาสดาองค์ต่างๆ และมีศรัทธาเชื่อมั่นว่า พระมะหะหมัดเป็นศาสดาองค์สุดท้าย 3.ศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอาน 4.ศรัทธาเชื่อมั่นว่า เทพเป็นผู้นาคาสอนจากพระเจ้า มาสู่พระมะหะหมัด 5.ศรัทธาเชื่อในวันพระเจ้าพิพากษาโลก หรือวันสิ้น โลกซึ่งเป็นวันที่วิญญาณจะต้องรับผลกรรมจาก การกระทาขณะเมื่อยังมีชีวิตอยู่ 6.ศรัทธาเชื่อว่าสภาวะของโลกและชีวิตเป็นไป ตามเจตจานงของพระอัลเลาะห์ หลักปฏิบัติ 5 ประการ 1.ประกาศปฏิญาณ ชาวมุสลิมจะต้องปฏิญาณอย่าง น้อย 1 ครั้งในชีวิตต่อหน้าพยาน 2 คน ว่ามี ศรัทธาเชื่อมั่นในพระเจ้าอัลเลาะห์ และพระ มะหะหมัดเป็นศาสนทูตของพระอัลเลาะห์ 2.การสวดมนต์ ชาวมุสลิมเรียกว่า ละหมาด ซึ่งใน คัมภีร์อัลกุรอาน กาหนดไว้ว่าจะต้องสวดมนต์วัน ละ 4 ครั้ง แต่พระมะหะหมัดสวดมนต์วันละ 5 ครั้ง ดังนั้นชาวมุสลิมจึงปฏิบัติตามพระมะหะหมัด คือ สวดมนต์ในเวลาก่อนพระอาทิตย์ขึ้น ก่อนเที่ยง วัน เวลาบ่าย ภายหลังตะวันตก และเมื่อตะวันตก แล้ว 2 ชั่วโมง
  • 10. 3.การบริจาคทาน การบริจาคทานของชาวมุสลิมเป็น ลักษณะสังคมสงเคราะห์ กล่าวคือ ตัวแทนของ ศาสนาจะเก็บเงินได้จากผู้บริจาคเพื่อไว้ใช้ ช่วยเหลือคนยากจน เป็นการทาให้สังคมของชาว มุสลิมอยู่อย่างพึ่งพากันได้ 4.การถือศีลอด ชาวมุสลิมต้องถือศีลอดเป็นเวลา 1 เดือน ในช่วงเวลา 1 ปี โดยจะเริ่มในเดือน รอมฎอน หรือเราะมะฎอน คือเดือนที่ตามปฏิทิน ศาสนาอิสลามในช่วงนี้ชาวมุสลิมจะสวดมนต์วัน ละ 5 ครั้ง อดอาหารและน้า สารวมกายใจ ตั้งแต่ พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตก ในขณะที่ถือศีล อด ห้ามพูดคาหยาบ คาไร้สาระ ละความชั่วทั้งมวล ไม่วิวาท เป็นการบาเพ็ญศีล เพื่อสร้างขันติธรรม และเมตตาธรรมให้เกิดกับใจ ผู้ไม่ถือศีลอดจะถูก ลงโทษ ด้วยการให้ทาละหมาดเพิ่ม หรือถือศีลอด เพิ่ม การที่ชาวมุสลิมถือศีลอดในเดือนรอมฎอน เพราะเชื่อว่าเป็นเดือนที่พระอัลเลาะห์ส่งคัมภีร์อัลกุ รอานมาให้มนุษยชาติ 5.การทาพิธีฮัจญ์ คือการไปแสวงบุญที่นครเมกกะ ในประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งเริ่มพิธีในเดือน 12 ของปฏิทินศาสนาอิสลาม การไปบาเพ็ญพิธีฮัจญ์ ไม่ได้กาหนดให้ชาวมุสลิมต้องปฏิบัติ แต่ใน คัมภีร์อัลกุรอานกล่าวว่า เป็นความประสงค์ของ พระอัลเลาะห์ ให้มนุษย์ไปบาเพ็ญพิธีฮัจญ์ ผู้เข้าพิธี ฮัจญ์ต้องเป็นมุสลิม เป็นผู้บรรลุนิติภาวะ มี สติสัมปชัญญะสมบูรณ์ มีความสามารถทั้งกาลัง กาย กาลังทรัพย์ การเดินทางต้องปลอดภัย ผู้เข้าพิธี ฮัจญ์ต้องแต่งชุดขาว
  • 11. นิกาย ศาสนาอิสลามมีนิกายที่สาคัญ 6 นิกาย คือ 1.นิกายซุนนี(Sunni) เป็นนิกายที่ชาวมุสลิมยึดถืออัลกุรอานและจริยาวัฒนของพระ มะหะหมัดเป็นหลัก 2.นิกายชีอะห์(Sheite) เป็นนิกายที่มีความเชื่อมั่นในเอกภาพของพระเจ้าในศาสนาทั้งหลาย และในอีหม่าม ซึ่งสืบเนื่องจากศาสดาเหล่านั้น 3.นิกายซูฟี(Sufi) เป็นนิกายที่เริ่มขึ้นในเปอร์เซีย ปฏิเสธความหรูหราฟุ่มเฟือย เน้นความ ศรัทธาต่อพระเจ้า ควรจะเป็นผู้เคร่งครัดไม่ไยดีต่อทรัพย์สมบัติและต่อโลก ควรบาเพ็ญตบะ และพรตอย่างสงบ 4.นิกายวาฮาบี(Wahabi) เป็นนิกายที่ถือว่าอัลกุรอานเป็นใหญ่และสาคัญที่สุด ไม่เชื่อว่ามีผู้ อยู่ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์และประณามการขอพร ณ สุสานของศาสดามะหะหมัด 5.นิกายอิสมาอีลียะห์(Ismailia) เดิมนิกายนี้มีทัศนะเช่นเดียวกับนิกายชีอะห์ทุกอย่าง แต่ ต่อมาได้ขัดแย้งกันเรื่องอิหม่าม 6.นิกายคอวาริจ(Khawarij) นิกายนี้แยกตัวออกเพราะไม่พอใจในการสิ้นชีวิตของอุสมาน อิหม่ามองค์ที่ 3
  • 13. ในศาสนาอิสลาม เคารพบูชาเฉพาะพระอัลเลาะห์องค์เดียวเท่านั้น ไม่นิยม การบูชารูปเคารพอื่น ศาสนาอิสลามจึงไม่มีสัญลักษณ์ใดๆให้ศาสนิกเคารพบูชา แต่ ที่เห็นรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและมีดาวอยู่ข้างบน พบอยู่ในสุเหร่าทั่วไปในประเทศ ที่นับถือศาสนาอิสลามนั้น ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา เป็นเครื่องหมายของ อาณาจักรออตโตมานเติร์ก ซึ่งเป็นอาณาจักรยิ่งใหญ่รุ่งเรืองมากในอดีต มีอานาจ ครอบงายุโรป ตะวันออกกลางทั้งหมด ตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมาจนถึง ศตวรรษที่ 20 บรรดาประเทศมุสลิมที่เคยอยู่ในอานาจของอาณาจักรออตโตมาน เติร์กจึงยึดถือเอาเครื่องหมายนั้นเป็นสัญลักษณ์ของตนในฐานะเป็นชนชาติมุสลิม เหมือนกันสืบมา แต่อาจถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามได้โดยอนุโลม หรือถ้าจะพูดว่ารูปพระจันทร์และดาวนี้เป็นเครื่องหมายของศาสนาอิสลามก็น่าจะ เหมาะกว่า