SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ก
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS1(I30201) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โดยมีจุดประสงค์เพื่อ
การศึกษาความรู้ที่ได้จากปัญหาทางการศึกษา ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหาการศึกษาในต่างๆไม่ว่า
เป็นปัญหาเรื่องการเงิน ปัญหาในตัวเด็ก หรือ ปัญหาในตัวครูผู้สอนอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆที่ทาให้เกิด
ปัญหานี้
ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ รวมถึงเป็นการร่วมกัน
แก้ไขปัญหาในด้านนั้นๆ ผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณ อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ผู้ให้ความรู้ และแนวทาง
การศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และ
เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน
คณะผู้จัดทา
(14/09/2559)
กิตติกรรมประกำศ
รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคล
หลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณท่านแรกที่ผู้ศึกษาใคร่ขอขอบพระคุณคือ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วย
ความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์
ที่สุด
ขอขอบคุณคุณครูโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ทุก
สาขาวิชาที่ได้ฝึกสอน ได้คาแนะนาในการจัดทารายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้ที่ไม่ได้กล่าว
นาม
คณะผู้จัดทา
(14/09/2559)
ปัญหำกำรศึกษำ
จัดทำโดย
นำงสำวณัชชำ พรมมำ เลขที่ 15
นำงสำวประภำศิริ ปุริสพันธุ์ เลขที่ 16
นำงสำวศุภมณ รอดขำ เลขที่ 21
นำงสำวกันยำ เปล่งคำ เลขที่ 29
นำงสำวชนกชนม์ สุชลธำดำ เลขที่ 30
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/2
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำ IS1 (I30201)
ปีกำรศึกษำ 2559 ภำคเรียนที่ 1
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี
นางสาวณัชชา พรมมา เลขที่ 15
นางสาวประภาศิริ ปุสพันธุ์เลขที่ 16
นางสาวศุภมณ รอดขา เลขที่ 21
ผู้จัดทำ
นางสาวกันยา เปล่งคา เลขที่ 29
นางสาวชนกชนม์ สุชลธาดา เลขที่ 30
บรรณำนุกรม
thoedsak chaisomparn.ปีที่สืบค้น 2559.ปัญหาศึกษาในปัจจุบัน.
ที่มา http://technic.supreme.co.th/index.php/15-news/5-2015-02-17-04-29-10.html
นางวรนุช ตุนทกิจ.ปีที่สืบค้น 2559.ความหมายของการศึกษา.
ที่มา http://www.km.skn.go.th/?name=research&file=readresearch&id=17
บ้านสอบครู.ปีที่สืบค้น2559.วินัยของข้าราชการครู
ที่มา http://www.sobkroo.com/detail_room_index.php?nid=322
ไม่ปรากฏผู้แต่ง.ปีที่สืบค้น 2559 .ผลกระทบจากปัญหาการศึกษา
ที่มา http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=11&chap=8&page=t11-8-infodetail04.html
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คำนำ………………………………………………………………………………ก
กิตติกรรมประกำศ…………………………………………………………………ข
สำรบัญ……………………………………………………………………………..ค
สำรบัญรูปภำพ……………………………………………………………………..ง
ผู้จัดทำ……………………………………………………………………………..จ
1. บทที่1ควำมหมำยทำงกำรศึกษำ…………………………………………….....1
2. บทที่2ผลกระทบจำกกำรเกิดปัญหำกำรศึกษำ……………………………..…..2
3. บทที่3 สำเหตุในกำรเกิดปัญหำกำรศึกษำ……………………………..………..3
4. บทที่4 บทลงโทษ……………………………………………………………....5
5. บทที่ 5 แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ…………………………………………….....6
6. ภำคผนวก……………………………………………………………………...7
บรรณำนุกรม………………………………………………………………….ฉ
สำรบัญรูปภำพ
รูปการประชุมงานกลุ่ม..............................................................................................................7
รูปงาน ก#1.1.............................................................................................................................7
รูปงาน ก#1.2.............................................................................................................................7
รูปงาน ก#1.3.............................................................................................................................8
รูปงาน ก#1.4.............................................................................................................................8
รูปงาน ก#1.6..............................................................................................................................8
รูปงาน ก#1.7..............................................................................................................................8
รูปงาน ก#1.8..............................................................................................................................8
รูปงาน ก#1.9..............................................................................................................................8
รูปงาน ก#1.10............................................................................................................................9
รูปงาน ก#1.11............................................................................................................................9
รูปงานย่อย3.1.............................................................................................................................9
รูปงานย่อย3.2.............................................................................................................................10
รูปงานย่อย3.3.............................................................................................................................10
รูปงานย่อย3.4.............................................................................................................................11
รูปงานย่อย3.5.............................................................................................................................11
รูปงานก#2.1...............................................................................................................................12
รูปงานก#2.2...............................................................................................................................12
รูปงานก#2.3...............................................................................................................................13
รูปงานก#2.4...............................................................................................................................13
รูปงานก#2.5...............................................................................................................................14
1
บทที่ 1 ความหมายของการศึกษา
ยัง ยัคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) ได้ให้ความหมายของการศึกษาไว้ว่า การศึกษา
คือ การปรับปรุงคนให้เหมาะกับโอกาสและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปหรืออาจกล่าวได้ว่าการศึกษา คือ
การนาความสามารถในตัวบุคคลมาใช้ให้เกิดประโยชน์
โจฮัน เฟรดเดอริค แฮร์บาร์ต (John Friedich Herbart) ให้ความหมายของการศึกษาว่า
การศึกษาคือ การทาพลเมืองให้มีความประพฤติดี และมีอุปนิสัยที่ดีงาม
เฟรด ดเอริค เฟรอเบล (FriedrichFroebel) การศึกษา หมายถึง การพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก
เพื่อให้เด็กพัฒนาตนเอง
จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ได้ให้ความหมายของการศึกษาไว้หลายความหมาย คือ
1. การศึกษาคือชีวิต ไม่ใช่เตรียมตัวเพื่อชีวิต
2. การศึกษาคือความเจริญงอกงาม
3. การศึกษาคือกระบวนการทางสังคม
4. การศึกษาคือการสร้างประสบการณ์แก่ชีวิต
คาร์เตอร์ วี. กู๊ด (Carter V. Good) ได้ให้ความหมายของการศึกษาไว้ 3 ความหมาย คือ
1.การศึกษาหมายถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่บุคคลนามาใช้ในการพัฒนาความรู้ความสามารถ เจตคติ
ความประพฤติที่ดีมีคุณค่า และมีคุณธรรมเป็นที่ยอมรับนับถือของสังคม
2. การศึกษาเป็นกระบวนการทางสังคม ที่ทาให้บุคคลได้รับความรู้ ความสามารถจาก
สิ่งแวดล้อมที่โรงเรียนจัดขึ้น
3. การศึกษาหมายถึงการถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ที่รวบรวมไว้อย่างเป็นระเบียบให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา
ม.ล.ปิ่น มาลากุล การศึกษาเป็นเครื่องหมายที่ทาให้เกิดความเจริญงอกงามในตัวบุคคล
ดร. สาโช บัวศรี การศึกษา หมายถึง การพัฒนาบุคคลและสังคมที่ทาให้คนได้มีการเรียนรู้และ
พัฒนาขึ้นไปสู่ความเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
สรุปการศึกษาเป็นกระบวนการให้ส่งเสริมให้บุคคลเจริญเติบโตและมีความเจริญงอกงามทาง
กาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาจนเป็นสมาชิกของสังคมที่มีคุณธรรมสูง
2
บทที่ 2 ผลกระทบจากปัญหาการศึกษา
ผลกระทบทางด้านการศึกษา
1.ทาให้เด็กรู้จักการคอรัปชั่นมากยิ่งขึ้น
2.ทาให้นักเรียนไม่ค่อยได้ความรู้ในการเรียนเนื่องจากครูจบมาไม่ตรงตามที่สอน
3.เกิดปัญหาเด็กท้องในวัยเรียนมากขึ้นทาให้อัตราการท้องก่อนวัยเรียนในประเทศไทยมากเพิ่มขึ้น
4.ทาให้เกิดการค้ามนุษย์มากขึ้นเนื่องมาจากผลกระทบในข้อ 3
5.เกิดปัญหาเด็กมีปัญหาในครอบครัวมากยิ่งขึ้น
6.เกิดเสียคนมีสามารถที่ไม่มีเงินทุนเรียนแต่มีความสามารถในการเรียน
3
บทที่ 3 สาเหตุในการเกิดปัญหาการศึกษา
การศึกษาในปัจจุบันมีปัญหา จึงทาให้เกิดวิกฤตทางปัญญา แล้วพาให้เกิดวิกฤตชาติ การแก้
วิกฤตต้องทาหลายอย่าง รวมทั้งการรักษาด้วยยุทธศาสตร์ทางปัญญา และการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ
ความเข้มแข็งทางปัญญาโดยรอบด้านโดยเร็ว การปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นวาระเร่งด่วนของชาติ และ
ประเด็นสาคัญที่จาเป็นต้องมีการปฏิรูปการศึกษา คือ การบริหารจัดการศึกษาขาดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล คือ ในปัจจุบันมีการบริหารรวมศูนย์อานาจสู่ส่วนกลาง, มีการจัดองค์กรซ้าซ้อน ไม่มี
เอกภาพด้านนโยบาย และมาตรฐานประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรต่า, ขาดการเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมี
ส่วนร่วม, จึงไม่ได้คนดีคนเก่งมาเป็นครู, สังคมขาดศรัทธาและความเชื่อมั่นในวิชาชีพครู, ขาดการ
พัฒนานโยบายอย่างต่อเนื่อง, ขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเข้าถึง
แหล่งเรียนรู้ และขาดความเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนการเข้ารับการศึกษา
ไม่กว้างขวาง ไม่ทั่วถึง และไม่เป็นธรรม, เกิดความเหลื่อมล้าในโอกาสการเข้ารับการศึกษา และ
คุณภาพการศึกษาที่ได้รับ ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่จาเป็นต้องมีการปฏิรูป การศึกษาขึ้น รวมถึงการเรียน
การสอนไม่ได้เน้นความสามารถสากลเท่าที่ควร ขาดการอบรมบ่มนิสัย ไม่ได้ปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรมและภูมิปัญญาไทยอย่างเพียงพอ. ทั้งนี้เพราะคุณภาพครูส่วนใหญ่ไม่ได้มาตรฐาน และ
หลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผลผู้เรียน เน้นวิชาและครูเป็นตัวตั้ง ไม่ได้ให้ความสาคัญ
แก่ผู้เรียน, การเรียนการสอนไม่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เน้นการท่องจา แต่ไม่เน้นการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทาให้เด็กนักเรียนสมัยใหม่คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ไม่เป็น
รวมทั้งการศึกษาแปลกแยกจากสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม การศึกษาที่จัดอยู่ในปัจจุบันเป็น
การศึกษาแบบแยกส่วน ไม่สอดคล้องกับการดารงชีวิตในสังคม อีกทั้งการศึกษาขาดการบูรณาการ
เชื่อมโยงกับด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเข้าไว้ในกระบวนการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ทาให้
ผู้สาเร็จการศึกษาอ่อนด้อยทางคุณภาพ และจริยธรรม และขาดความภูมิใจในศิลปะ และภูมิปัญญา
ไทย ซึ่งเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการดารงอยู่ และความมั่นคงสถาพรของชาติไทยพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2542 เป็นต้นมา ถือได้ว่าเป็น
กฎหมายแม่บท ที่เป็นเสมือนธรรมนูญการศึกษาของประเทศ, กล่าวคือ การจัดการศึกษาทุกระดับ ทุก
ประเภท ทุกรูปแบบต้องดาเนินการโดยยึดพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้เป็น
หลัก พระราชบัญญัติฉบับนี้ถือเป็นกฎหมายปฏิรูปการศึกษา เพราะได้กาหนดประเด็นเรื่องสาคัญ
ครอบคลุมการศึกษา ทั้งระบบที่ต้องปฏิรูปและกาหนดเงื่อนเวลาด้วย เช่น เรื่องส่วนใหญ่จะต้อง
ปฏิบัติ 3 ปี คือ ภายในวันที่ 20 สิงหาคม 2545, บางเรื่องก็ให้เวลามากกว่านั้น คือ เรื่องการประกัน
คุณภาพการศึกษาจากภายนอก ซึ่งให้เวลาไว้ถึง 6 ปี. ในการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ได้
กาหนดหน่วยงานรับผิดชอบไว้ด้วย ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการทบวงมหาวิทยาลัย สานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ และองค์การมหาชนเฉพาะกิจในเรื่องสาระที่สาคัญต้องถือว่าการ
ปฏิรูปการเรียนรู้ใน หมวด 4 ที่เป็นหัวใจการปฏิรูปการศึกษา เพราะระบบการศึกษาที่ผ่านมาไม่
4
เอื้ออานวยต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หรือคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนเท่าที่ควร ทาให้คุณภาพ
ของไทยไม่สามารถแข่งขันได้ แต่จะทาเฉพาะปฏิรูปการเรียนรู้ ก็จะไม่บังเกิดผลเท่าที่ควรจาเป็นต้อง
ปฏิรูปเรื่องอื่นๆ ที่เชื่อมโยงกันกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยเฉพาะการปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนรู้
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การประกันคุณภาพสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา และปฏิรูปครู และบุคลากร
ทางการศึกษา นอกจากนี้เพื่อให้การปฏิรูปการเรียนเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์ และได้ผลยั่งยืน จึง
จาเป็นต้องปฏิรูปทรัพยากร และการลงทุนทางการศึกษา และการปฏิรูปโครงสร้างและการบริหาร
การจัดการศึกษา เพื่อมุ่งเน้นการปฏิรูปการเรียนรู้ที่มุ่งผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาเป็น
คนไทยที่มีคุณภาพและคุณธรรมเข้มแข็ง และแข่งขันได้
ปัญหาการจัดการเรียนการสอน เป็นส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากคุณภาพและประสิทธิภาพในการ
ดาเนินงานของครู ซึ่งหากพิจารณาในภาพรวมจะพบว่าปัจจุบันครูมีปัญหาหลักใน 3 ด้าน คือ เรื่อง
คุณภาพการจัดการเรียนการสอน การมีหนี้สินล้นพ้นตัว และภาวการณ์ขาดแคลนครูสะสม
โดยเฉพาะในสาขาที่สาคัญ
โดยสรุปรายละเอียดของประเด็นปัญหา ดังนี้
1. ปัญหาด้านคุณภาพของครู
2. ปัญหาหนี้สินครู
3. ปัญหาการขาดแคลนครูสะสม
4. ปัญหาครูจบมาไม่ตรงหลักสูตร
5. ปัญหาเด็กตีกันในโรงเรียน
6. ปัญหาท้องในวัยเรียน
7. ปัญหาไม่มีทุนการศึกษา
8. ปัญหาการโดดเรียน
9. ปัญหาชู้สาวภายในโรงเรียน
10. ปัญหาคอรัปชั่นรับเงินใต้โต๊ะในโรงเรียน
5
บทที่ 4 บทลงโทษ
บทลงโทษสาหรับนักเรียน
 บทลงโทษก็จะตามระเบียบกฎในโรงเรียน
บทลงโทษสาหรับครูหรือบุคลากรทางการศึกษา
 ลงโทษตามที่กฎหมายได้กาหนดในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ.2547
6
บทที่5 แนวทางการแก้ไขปัญหาการศึกษา
1.ประเมิน ตรวจสอบสถานการศึกษาหรือบุคลากรทางการศึกษา
2.ปรับหลักสูตรการศึกษา
3.ทบทวนการเลื่อนวิทยฐานะของบุคลากร
4.ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักรักการเรียนไม่มั่วสุมอบายมุข
5. พัฒนาส่งเสริมกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต ( กรอ. )
6.การสนับสนุนชุมชนร่วมจัดการศึกษาของโรงเรียน
การดาเนินงาน
1.รณรงค์เกี่ยวกับการคอรัปชั่นในการศึกษา
2.มีการส่งคาร้องไปยังกระทรวงศึกษาธิการในการตรวจสอบบุคลากรที่เข้ามาทาการสอนให้แต่ละ
โรงเรียน
3.จัดกิจกรรมกีฬาสร้างความสามัคคี
7
ภาคผนวก
การประชุมงานกลุ่ม
รูปที่ 1.1 การประชุมกลุ่ม
งาน ก#1.
รูปงาน ก#1.1 รูปงาน ก#1.2
8
รูปงาน ก#1.3
รูปงาน ก#1.4
รูปงาน ก#1.5 รูปงาน ก#1.6
รูปงาน ก#1.7 รูปงาน ก#1.8
9
งานย่อยที่ 3
รูปงาน ก#1.9 รูปงาน ก#1.10
รูปงานย่อย3.1
10
รูปงานย่อย3.2
รูปงานย่อย3.3
11
รูปงานย่อย3.4
รูปงานย่อย3.5
12
งาน ก#2
รูปงานก#2.1
รูปงานก#2.2
13
รูปงานก#2.3
รูปงานก#2.4
14
รูปงานก#2.5

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพวSircom Smarnbua
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 

Viewers also liked

บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยบทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยณรงค์ พร้อมบัวป่า
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันFang Malinee
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 

Viewers also liked (6)

บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทยบทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
บทความ สภาพปัญหาวิกฤตการณ์ การศึกษาไทย
 
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
IsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบันIsการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
Isการสำรวจปัญหาการศึกษาไทยในปัจจุบัน
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similar to ปัญหาการศึกษา

รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)Darunpob Srisombut
 
โครงการ Give-to-you-1-3
โครงการ Give-to-you-1-3โครงการ Give-to-you-1-3
โครงการ Give-to-you-1-3พัน พัน
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
ใบงานที่ 2 8 gookie
ใบงานที่ 2   8 gookieใบงานที่ 2   8 gookie
ใบงานที่ 2 8 gookienoputa3366
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1Trai Traiphop
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2   8ใบงานที่ 2   8
ใบงานที่ 2 8noputa3366
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนนnoputa3366
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 

Similar to ปัญหาการศึกษา (14)

แผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียงแผนเศรษฐกิจพอเพียง
แผนเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
โครงการ Give-to-you-1-3
โครงการ Give-to-you-1-3โครงการ Give-to-you-1-3
โครงการ Give-to-you-1-3
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
ใบงานที่ 2 8 gookie
ใบงานที่ 2   8 gookieใบงานที่ 2   8 gookie
ใบงานที่ 2 8 gookie
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
 
ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1ช่วงชั้นที่1
ช่วงชั้นที่1
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2   8ใบงานที่ 2   8
ใบงานที่ 2 8
 
Kruraktin
KruraktinKruraktin
Kruraktin
 
ใบงานที่ 2 8 แนน
ใบงานที่ 2   8 แนนใบงานที่ 2   8 แนน
ใบงานที่ 2 8 แนน
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ปัญหาการศึกษา

  • 1. ก คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา IS1(I30201) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โดยมีจุดประสงค์เพื่อ การศึกษาความรู้ที่ได้จากปัญหาทางการศึกษา ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับปัญหาการศึกษาในต่างๆไม่ว่า เป็นปัญหาเรื่องการเงิน ปัญหาในตัวเด็ก หรือ ปัญหาในตัวครูผู้สอนอันเนื่องมาจากปัจจัยต่างๆที่ทาให้เกิด ปัญหานี้ ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ รวมถึงเป็นการร่วมกัน แก้ไขปัญหาในด้านนั้นๆ ผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณ อาจารย์ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ผู้ให้ความรู้ และแนวทาง การศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และ เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน คณะผู้จัดทา (14/09/2559)
  • 2. กิตติกรรมประกำศ รายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคล หลายท่าน ซึ่งไม่อาจจะนามากล่าวได้ทั้งหมด ซึ่งผู้มีพระคุณท่านแรกที่ผู้ศึกษาใคร่ขอขอบพระคุณคือ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วย ความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้สมบูรณ์ ที่สุด ขอขอบคุณคุณครูโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ทุก สาขาวิชาที่ได้ฝึกสอน ได้คาแนะนาในการจัดทารายงานจากการศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระฉบับนี้ที่ไม่ได้กล่าว นาม คณะผู้จัดทา (14/09/2559)
  • 3. ปัญหำกำรศึกษำ จัดทำโดย นำงสำวณัชชำ พรมมำ เลขที่ 15 นำงสำวประภำศิริ ปุริสพันธุ์ เลขที่ 16 นำงสำวศุภมณ รอดขำ เลขที่ 21 นำงสำวกันยำ เปล่งคำ เลขที่ 29 นำงสำวชนกชนม์ สุชลธำดำ เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/2 เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำ IS1 (I30201) ปีกำรศึกษำ 2559 ภำคเรียนที่ 1 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี
  • 4. นางสาวณัชชา พรมมา เลขที่ 15 นางสาวประภาศิริ ปุสพันธุ์เลขที่ 16 นางสาวศุภมณ รอดขา เลขที่ 21 ผู้จัดทำ
  • 5. นางสาวกันยา เปล่งคา เลขที่ 29 นางสาวชนกชนม์ สุชลธาดา เลขที่ 30
  • 6. บรรณำนุกรม thoedsak chaisomparn.ปีที่สืบค้น 2559.ปัญหาศึกษาในปัจจุบัน. ที่มา http://technic.supreme.co.th/index.php/15-news/5-2015-02-17-04-29-10.html นางวรนุช ตุนทกิจ.ปีที่สืบค้น 2559.ความหมายของการศึกษา. ที่มา http://www.km.skn.go.th/?name=research&file=readresearch&id=17 บ้านสอบครู.ปีที่สืบค้น2559.วินัยของข้าราชการครู ที่มา http://www.sobkroo.com/detail_room_index.php?nid=322 ไม่ปรากฏผู้แต่ง.ปีที่สืบค้น 2559 .ผลกระทบจากปัญหาการศึกษา ที่มา http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=11&chap=8&page=t11-8-infodetail04.html
  • 7. สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คำนำ………………………………………………………………………………ก กิตติกรรมประกำศ…………………………………………………………………ข สำรบัญ……………………………………………………………………………..ค สำรบัญรูปภำพ……………………………………………………………………..ง ผู้จัดทำ……………………………………………………………………………..จ 1. บทที่1ควำมหมำยทำงกำรศึกษำ…………………………………………….....1 2. บทที่2ผลกระทบจำกกำรเกิดปัญหำกำรศึกษำ……………………………..…..2 3. บทที่3 สำเหตุในกำรเกิดปัญหำกำรศึกษำ……………………………..………..3 4. บทที่4 บทลงโทษ……………………………………………………………....5 5. บทที่ 5 แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ…………………………………………….....6 6. ภำคผนวก……………………………………………………………………...7 บรรณำนุกรม………………………………………………………………….ฉ
  • 8. สำรบัญรูปภำพ รูปการประชุมงานกลุ่ม..............................................................................................................7 รูปงาน ก#1.1.............................................................................................................................7 รูปงาน ก#1.2.............................................................................................................................7 รูปงาน ก#1.3.............................................................................................................................8 รูปงาน ก#1.4.............................................................................................................................8 รูปงาน ก#1.6..............................................................................................................................8 รูปงาน ก#1.7..............................................................................................................................8 รูปงาน ก#1.8..............................................................................................................................8 รูปงาน ก#1.9..............................................................................................................................8 รูปงาน ก#1.10............................................................................................................................9 รูปงาน ก#1.11............................................................................................................................9 รูปงานย่อย3.1.............................................................................................................................9 รูปงานย่อย3.2.............................................................................................................................10 รูปงานย่อย3.3.............................................................................................................................10 รูปงานย่อย3.4.............................................................................................................................11 รูปงานย่อย3.5.............................................................................................................................11 รูปงานก#2.1...............................................................................................................................12 รูปงานก#2.2...............................................................................................................................12 รูปงานก#2.3...............................................................................................................................13 รูปงานก#2.4...............................................................................................................................13 รูปงานก#2.5...............................................................................................................................14
  • 9. 1 บทที่ 1 ความหมายของการศึกษา ยัง ยัคส์ รุสโซ (Jean Jacques Rousseau) ได้ให้ความหมายของการศึกษาไว้ว่า การศึกษา คือ การปรับปรุงคนให้เหมาะกับโอกาสและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปหรืออาจกล่าวได้ว่าการศึกษา คือ การนาความสามารถในตัวบุคคลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โจฮัน เฟรดเดอริค แฮร์บาร์ต (John Friedich Herbart) ให้ความหมายของการศึกษาว่า การศึกษาคือ การทาพลเมืองให้มีความประพฤติดี และมีอุปนิสัยที่ดีงาม เฟรด ดเอริค เฟรอเบล (FriedrichFroebel) การศึกษา หมายถึง การพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก เพื่อให้เด็กพัฒนาตนเอง จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ได้ให้ความหมายของการศึกษาไว้หลายความหมาย คือ 1. การศึกษาคือชีวิต ไม่ใช่เตรียมตัวเพื่อชีวิต 2. การศึกษาคือความเจริญงอกงาม 3. การศึกษาคือกระบวนการทางสังคม 4. การศึกษาคือการสร้างประสบการณ์แก่ชีวิต คาร์เตอร์ วี. กู๊ด (Carter V. Good) ได้ให้ความหมายของการศึกษาไว้ 3 ความหมาย คือ 1.การศึกษาหมายถึงกระบวนการต่าง ๆ ที่บุคคลนามาใช้ในการพัฒนาความรู้ความสามารถ เจตคติ ความประพฤติที่ดีมีคุณค่า และมีคุณธรรมเป็นที่ยอมรับนับถือของสังคม 2. การศึกษาเป็นกระบวนการทางสังคม ที่ทาให้บุคคลได้รับความรู้ ความสามารถจาก สิ่งแวดล้อมที่โรงเรียนจัดขึ้น 3. การศึกษาหมายถึงการถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ที่รวบรวมไว้อย่างเป็นระเบียบให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษา ม.ล.ปิ่น มาลากุล การศึกษาเป็นเครื่องหมายที่ทาให้เกิดความเจริญงอกงามในตัวบุคคล ดร. สาโช บัวศรี การศึกษา หมายถึง การพัฒนาบุคคลและสังคมที่ทาให้คนได้มีการเรียนรู้และ พัฒนาขึ้นไปสู่ความเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม สรุปการศึกษาเป็นกระบวนการให้ส่งเสริมให้บุคคลเจริญเติบโตและมีความเจริญงอกงามทาง กาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาจนเป็นสมาชิกของสังคมที่มีคุณธรรมสูง
  • 10. 2 บทที่ 2 ผลกระทบจากปัญหาการศึกษา ผลกระทบทางด้านการศึกษา 1.ทาให้เด็กรู้จักการคอรัปชั่นมากยิ่งขึ้น 2.ทาให้นักเรียนไม่ค่อยได้ความรู้ในการเรียนเนื่องจากครูจบมาไม่ตรงตามที่สอน 3.เกิดปัญหาเด็กท้องในวัยเรียนมากขึ้นทาให้อัตราการท้องก่อนวัยเรียนในประเทศไทยมากเพิ่มขึ้น 4.ทาให้เกิดการค้ามนุษย์มากขึ้นเนื่องมาจากผลกระทบในข้อ 3 5.เกิดปัญหาเด็กมีปัญหาในครอบครัวมากยิ่งขึ้น 6.เกิดเสียคนมีสามารถที่ไม่มีเงินทุนเรียนแต่มีความสามารถในการเรียน
  • 11. 3 บทที่ 3 สาเหตุในการเกิดปัญหาการศึกษา การศึกษาในปัจจุบันมีปัญหา จึงทาให้เกิดวิกฤตทางปัญญา แล้วพาให้เกิดวิกฤตชาติ การแก้ วิกฤตต้องทาหลายอย่าง รวมทั้งการรักษาด้วยยุทธศาสตร์ทางปัญญา และการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ ความเข้มแข็งทางปัญญาโดยรอบด้านโดยเร็ว การปฏิรูปการศึกษาจึงเป็นวาระเร่งด่วนของชาติ และ ประเด็นสาคัญที่จาเป็นต้องมีการปฏิรูปการศึกษา คือ การบริหารจัดการศึกษาขาดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล คือ ในปัจจุบันมีการบริหารรวมศูนย์อานาจสู่ส่วนกลาง, มีการจัดองค์กรซ้าซ้อน ไม่มี เอกภาพด้านนโยบาย และมาตรฐานประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรต่า, ขาดการเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมี ส่วนร่วม, จึงไม่ได้คนดีคนเก่งมาเป็นครู, สังคมขาดศรัทธาและความเชื่อมั่นในวิชาชีพครู, ขาดการ พัฒนานโยบายอย่างต่อเนื่อง, ขาดแคลนโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเข้าถึง แหล่งเรียนรู้ และขาดความเชื่อมโยงกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนการเข้ารับการศึกษา ไม่กว้างขวาง ไม่ทั่วถึง และไม่เป็นธรรม, เกิดความเหลื่อมล้าในโอกาสการเข้ารับการศึกษา และ คุณภาพการศึกษาที่ได้รับ ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่จาเป็นต้องมีการปฏิรูป การศึกษาขึ้น รวมถึงการเรียน การสอนไม่ได้เน้นความสามารถสากลเท่าที่ควร ขาดการอบรมบ่มนิสัย ไม่ได้ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและภูมิปัญญาไทยอย่างเพียงพอ. ทั้งนี้เพราะคุณภาพครูส่วนใหญ่ไม่ได้มาตรฐาน และ หลักสูตรการเรียนการสอนและการประเมินผลผู้เรียน เน้นวิชาและครูเป็นตัวตั้ง ไม่ได้ให้ความสาคัญ แก่ผู้เรียน, การเรียนการสอนไม่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เน้นการท่องจา แต่ไม่เน้นการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทาให้เด็กนักเรียนสมัยใหม่คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ไม่เป็น รวมทั้งการศึกษาแปลกแยกจากสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม การศึกษาที่จัดอยู่ในปัจจุบันเป็น การศึกษาแบบแยกส่วน ไม่สอดคล้องกับการดารงชีวิตในสังคม อีกทั้งการศึกษาขาดการบูรณาการ เชื่อมโยงกับด้านศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมเข้าไว้ในกระบวนการเรียนรู้อย่างเหมาะสม ทาให้ ผู้สาเร็จการศึกษาอ่อนด้อยทางคุณภาพ และจริยธรรม และขาดความภูมิใจในศิลปะ และภูมิปัญญา ไทย ซึ่งเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการดารงอยู่ และความมั่นคงสถาพรของชาติไทยพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 สิงหาคม 2542 เป็นต้นมา ถือได้ว่าเป็น กฎหมายแม่บท ที่เป็นเสมือนธรรมนูญการศึกษาของประเทศ, กล่าวคือ การจัดการศึกษาทุกระดับ ทุก ประเภท ทุกรูปแบบต้องดาเนินการโดยยึดพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับนี้เป็น หลัก พระราชบัญญัติฉบับนี้ถือเป็นกฎหมายปฏิรูปการศึกษา เพราะได้กาหนดประเด็นเรื่องสาคัญ ครอบคลุมการศึกษา ทั้งระบบที่ต้องปฏิรูปและกาหนดเงื่อนเวลาด้วย เช่น เรื่องส่วนใหญ่จะต้อง ปฏิบัติ 3 ปี คือ ภายในวันที่ 20 สิงหาคม 2545, บางเรื่องก็ให้เวลามากกว่านั้น คือ เรื่องการประกัน คุณภาพการศึกษาจากภายนอก ซึ่งให้เวลาไว้ถึง 6 ปี. ในการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัตินี้ได้ กาหนดหน่วยงานรับผิดชอบไว้ด้วย ได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการทบวงมหาวิทยาลัย สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ และองค์การมหาชนเฉพาะกิจในเรื่องสาระที่สาคัญต้องถือว่าการ ปฏิรูปการเรียนรู้ใน หมวด 4 ที่เป็นหัวใจการปฏิรูปการศึกษา เพราะระบบการศึกษาที่ผ่านมาไม่
  • 12. 4 เอื้ออานวยต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา หรือคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนเท่าที่ควร ทาให้คุณภาพ ของไทยไม่สามารถแข่งขันได้ แต่จะทาเฉพาะปฏิรูปการเรียนรู้ ก็จะไม่บังเกิดผลเท่าที่ควรจาเป็นต้อง ปฏิรูปเรื่องอื่นๆ ที่เชื่อมโยงกันกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยเฉพาะการปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การประกันคุณภาพสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา และปฏิรูปครู และบุคลากร ทางการศึกษา นอกจากนี้เพื่อให้การปฏิรูปการเรียนเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์ และได้ผลยั่งยืน จึง จาเป็นต้องปฏิรูปทรัพยากร และการลงทุนทางการศึกษา และการปฏิรูปโครงสร้างและการบริหาร การจัดการศึกษา เพื่อมุ่งเน้นการปฏิรูปการเรียนรู้ที่มุ่งผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้สาเร็จการศึกษาเป็น คนไทยที่มีคุณภาพและคุณธรรมเข้มแข็ง และแข่งขันได้ ปัญหาการจัดการเรียนการสอน เป็นส่วนหนึ่งมีสาเหตุจากคุณภาพและประสิทธิภาพในการ ดาเนินงานของครู ซึ่งหากพิจารณาในภาพรวมจะพบว่าปัจจุบันครูมีปัญหาหลักใน 3 ด้าน คือ เรื่อง คุณภาพการจัดการเรียนการสอน การมีหนี้สินล้นพ้นตัว และภาวการณ์ขาดแคลนครูสะสม โดยเฉพาะในสาขาที่สาคัญ โดยสรุปรายละเอียดของประเด็นปัญหา ดังนี้ 1. ปัญหาด้านคุณภาพของครู 2. ปัญหาหนี้สินครู 3. ปัญหาการขาดแคลนครูสะสม 4. ปัญหาครูจบมาไม่ตรงหลักสูตร 5. ปัญหาเด็กตีกันในโรงเรียน 6. ปัญหาท้องในวัยเรียน 7. ปัญหาไม่มีทุนการศึกษา 8. ปัญหาการโดดเรียน 9. ปัญหาชู้สาวภายในโรงเรียน 10. ปัญหาคอรัปชั่นรับเงินใต้โต๊ะในโรงเรียน
  • 13. 5 บทที่ 4 บทลงโทษ บทลงโทษสาหรับนักเรียน  บทลงโทษก็จะตามระเบียบกฎในโรงเรียน บทลงโทษสาหรับครูหรือบุคลากรทางการศึกษา  ลงโทษตามที่กฎหมายได้กาหนดในพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ.2547
  • 14. 6 บทที่5 แนวทางการแก้ไขปัญหาการศึกษา 1.ประเมิน ตรวจสอบสถานการศึกษาหรือบุคลากรทางการศึกษา 2.ปรับหลักสูตรการศึกษา 3.ทบทวนการเลื่อนวิทยฐานะของบุคลากร 4.ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักรักการเรียนไม่มั่วสุมอบายมุข 5. พัฒนาส่งเสริมกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต ( กรอ. ) 6.การสนับสนุนชุมชนร่วมจัดการศึกษาของโรงเรียน การดาเนินงาน 1.รณรงค์เกี่ยวกับการคอรัปชั่นในการศึกษา 2.มีการส่งคาร้องไปยังกระทรวงศึกษาธิการในการตรวจสอบบุคลากรที่เข้ามาทาการสอนให้แต่ละ โรงเรียน 3.จัดกิจกรรมกีฬาสร้างความสามัคคี
  • 16. 8 รูปงาน ก#1.3 รูปงาน ก#1.4 รูปงาน ก#1.5 รูปงาน ก#1.6 รูปงาน ก#1.7 รูปงาน ก#1.8
  • 17. 9 งานย่อยที่ 3 รูปงาน ก#1.9 รูปงาน ก#1.10 รูปงานย่อย3.1