SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
การลักขโมย
จัดทาโดย
นางสาวกานต์สินี สังเมียน เลขที่ 23
นางสาวสุวลักษณ์ พุทธมนต์ เลขที่ 26
นางสาวชลันทร สัตยชิติ เลขที่ 27
นางสาวบุษกร เรืองโรจน์ เลขที่ 28
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เสนอ
คุณครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานการศึกษาค้นคว้าและการสร้างความรู้(IS)นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
ก
คำนำ
รายงานเป็นส่วนหนึ่งของวิชาการศึกษาค้นคว้าและการสร้างความรู้(IS) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมี
จุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู้และปัญหาจากสังคมภายนอกที่อาจส่งผลกระทบต่อตัวเราเช่น ปัญหาการ
ลักขโมย ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การเลี้ยงดูบุตรหลานปลูกฝังให้เป็นคนดีของสังคม ความผิดทางกฎหมาย
สาเหตุของการลักขโมย ผลกระทบจากการลักขโมย และแนวทางการแก้ไขปัญหา ซึ่งสามารถนาปรับมาใช้
ในชีวิตประจาวันได้
คณะผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้มาทารายงานเนื่องจากเป็นยังเป็นปัญหาของสังคมที่เราสามารถร่วมกัน
แก้ไขปัญหานี้ได้อย่างถูกวิธี มาเรียบเรียงให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะมี
ประโยชน์ต่อผู้อ่านมามากก็น้อย ถ้ามีข้อผิดพลาดประการใดต้องขอภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
31 สิงหาคม 2559
ข
กิตติกรรมประกำศ
รายงานการศึกษาค้นคว้าและการสร้างความรู้(IS) เรื่อง การลักขโมย ซึ่งรายงานได้ดังกล่าวได้เสร็จ
สมบูรณ์แล้วโดยได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคลหลายท่าน ท่านแรก คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนที่
ให้ความรู้ คาแนะนาการตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน และเพื่อนๆ ม.
5/2 ที่แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้ให้สมบูรณ์
ที่สุด
ขอขอบคุณคุณครูทุกท่านที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาในการจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าและการ
สร้างความรู้(IS)ฉบับนี้
ขอขอบคุณบิดา มารดาของคณะผู้จัดทาที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จและได้ให้ความช่วยเหลือ
สนับสนุน อีกทั้งคอยให้กาลังใจเสมอมา
คณะผู้จัดทา
ค
สำรบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญรูปภาพ ง
บทที่1 1
บทที่2 4
บทที่3 7
บทที่4 8
บทที่5 10
บรรณานุกรม 11
ภาคผนวก 12
ชื่อและภาพผู้จัดทา 18
ง
สำรบัญรูปภำพ
แผนภาพ หน้า
1.1 ภาพการประชุมกลุ่ม 12
1.2 งาน #ก 12
1.3 งาน #ก 12
1.4 งาน #ก 13
1.5 งาน #ก 13
1.6 งาน #ก 13
1.7 งาน #ก 14
1.8 งาน #ก 14
1.9 งาน #ก 14
2.0 งาน #ก 15
2.1 งาน #ก 15
2.2 งานย่อย 4 16
2.3 งานย่อย 8 16
2.4 งานย่อย 8 16
2.5 งานย่อย 8 17
2.6 งานย่อย 8 17
1
บทที่ 1
ควำมหมำย
ความหมายของการลักขโมย
ผู้ที่นาเอาทรัพย์สินของผู้อื่นมาด้วยกับการกดขี่หรือบังคับขู่เข็ญ ซึ่งเขาไม่มีสิทธิเป็นเจ้าของสิ่งนั้น
เลยแม้แต่นิดเลย แต่เขาก็ได้ยึดเอาของสิ่งนั้นมาเป็นของตัวเอง หรือผู้ที่ได้ละเมิดทรัพย์สินของคนอื่นและ
ได้ตักตวงผลประโยชน์จากมัน แม้ว่าเขาจะไม่ได้ยึดของสิ่งนั้นมาเป็นของตัวเองก็ตาม ตามหลักชัรอียถือว่า
เป็นการขโมย
รวมไปถึงการหยิบฉวยของคนอื่นมาใช้โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าของ เช่น ของฝากที่คนหนึ่งได้
ฝากไว้กับเราและเรานาเอาสิ่งของเหล่านั้นมาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต หรือมิได้ขออนุญาต หรือแจ้งให้
เจ้าของทราบก่อนล่วงหน้า เหล่านี้ถือว่าอยู่ในกฎของการขโมยทั้งสิ้น
ฉะนั้น การขโมยจึงหมายถึง การเป็นเจ้าของหรือการปกครองทรัพย์สินของผู้อื่นด้วยมิชอบ หรือ
ได้ละเมิดสิทธิของเจ้าของเดิม
ลักษณะการกระทาที่เป็นความผิดทางขโมย
1. คาว่า “เอาไป” คือการเอาทรัพย์เคลื่อนที่ไปจากที่เดิมในลักษณะที่จะพาทรัพย์นั้นไปได้ และทรัพย์นั้นเข้า
มาอยู่ในความยึดถือครอบครองเพื่อตนแล้ว “แม้ทรัพย์นั้นเคลื่อนที่เพียงเล็กน้อยก็ถือว่าเป็นการเอาไป
แล้ว” ถึงแม้ผู้กระทาจะยังไม่เอาทรัพย์นั้นไปหรือถูกขัดขวางในภายหลังและเอาทรัพย์นั้นไปไม่ได้ก็ตาม
ต้องถือว่าเป็นความผิดฐานลักทรัพย์สาเร็จ
2. การเอาทรัพย์ของผู้อื่นไปนั้น “อาจกระทาโดยทางอ้อม โดยใช้ผู้อื่นเป็นเครื่องมือก็ได้”
3. เพียงแต่เอาทรัพย์เคลื่อนที่อย่างเดียว แต่ไม่อยู่ในลักษณะที่จะเอาทรัพย์นั้นไปได้ “คือยังไม่ได้มีการยึดถือ
เลย” เป็นเพียงความผิดฐานพยายามลักทรัพย์
4. การลักทรัพย์โดยใช้อุบายนั้นใกล้เคียงกับความผิดฐานฉ้อโกงมาก การลักทรัพย์โดยใช้อุบาย การ
หลอกลวง “เป็นวิธีการเพื่อทาให้การลักทรัพย์สะดวกขึ้นเท่านั้น”ส่วนความผิดฐานฉ้อโกงการหลอกลวง
นั้นทาให้ผู้ถูกหลอกหลงเชื่อและมอบทรัพย์ให้หรือยอมให้เอาทรัพย์นั้นไปด้วยความเต็มใจ
5. ทรัพย์นั้นต้องเป็นของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยและทรัพย์นั้นต้องอยู่ในความครอบครองของ
ผู้อื่นในขณะที่เอาทรัพย์นั้นไปถ้าทรัพย์นั้นอยู่ในความครอบครองของผู้กระทาเองในขณะที่เอาไปแล้วไม่
2
เป็นความผิดฐานลักทรัพย์แต่อาจเป็นความผิดฐานยักยอกทรัพย์“การเอาทรัพย์ของตนเองแต่ผู้เดียวไปไม่
เป็นความผิดฐานลักทรัพย์” แม้ทรัพย์นั้นจะอยู่ในความครอบครองของผู้อื่น
6. ในกรณีที่ทรัพย์นั้นเป็นทรัพย์ที่มีเจ้าของร่วมกัน การเอาทรัพย์ชนิดนี้ไป“จะต้องอยู่ในความครอบครอง
ของเจ้าของร่วมโดยแท้จริง” ไม่ใช่เพียงมีสิทธิครอบครองร่วมกันเท่านั้น
7. ในเรื่องทรัพย์สินหาย หรือของตกหายนั้น ถือหลักว่าถ้าเก็บไปโดยรู้หรือมีเหตุอันควรรู้ว่าทรัพย์นั้นอยู่ใน
ระหว่างที่เจ้าของกาลังติดตาม หรือกาลังจะติดตามทรัพย์นั้นคืน ถ้าเอาทรัพย์ไปตอนนี้ “เป็นความผิดฐานลัก
ทรัพย์” แต่ถ้าเอาไปโดยไม่รู้หรือไม่มีเหตุอันควรรู้เช่นนั้นแล้ว ก็เป็นการได้ทรัพย์หาย “เป็นความผิดฐาน
ยักยอกทรัพย์”
8. การได้รับมอบหมายทรัพย์จากเจ้าของให้ดูแลแทนเพียงชั่วคราวหรือเจ้าของไปด้วย ถือว่าการครอบครอง
ทรัพย์นั้นยังอยู่กับเจ้าของ “ถ้าเอาไปขณะนี้เป็นความผิดฐานลักทรัพย์”
9. การลักทรัพย์นั้น การเอาทรัพย์ของผู้อื่นไปผู้กระทา “ต้องมีเจตนาทุจริตมาก่อนหรือในขณะที่เอาทรัพย์
นั้นไป” ถ้ามีเกิดขึ้นภายหลังไม่ผิดฐานลักทรัพย์แต่อาจเป็นความผิดฐานอื่น เช่น ยักยอกทรัพย์
10. การเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยมีเจตนาเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่โดยทุจริตคือ
ไม่ใช่เพื่อถือทรัพย์นั้นเป็นของตนเองหรือผู้อื่นแล้ว “ไม่เป็นความผิดฐานลักทรัพย์”
11. การลักทรัพย์นั้นถ้ากระทาโดยมีเจตนาทุจริตเพื่อกระทาการลักทรัพย์และได้ลงมือกระทาการลักทรัพย์
เช่นการเข้าไปในบ้านแต่ไม่มีสิ่งของหรือลงมืองัดแงะประตูแล้ว แม้จะมีเหตุมาขัดขวางทาให้การลักทรัพย์
ต่อไปไม่ได้“ก็ถือว่ามีความผิดฐานพยายามลักทรัพย์แล้ว”
12. ลักทรัพย์เสร็จแล้ว เอาทรัพย์นั้นมาทาลายภายหลัง “ไม่ผิดฐานทาให้เสียทรัพย์อีก”
13. ลักทรัพย์สาเร็จแล้ว มีผู้อื่นมาช่วยพาทรัพย์นั้นไป ไม่เป็นการสมคบลักทรัพย์แต่ถ้าผู้กระทารู้ว่าเป็น
ทรัพย์ที่ได้มาโดยการกระทาผิด “เป็นความผิดฐานรับของโจร”
14. สมคบกันลักทรัพย์ได้มาและได้แบ่งกันไปแล้ว ภายหลังผู้ลักคนหนึ่งได้รับทรัพย์นั้นไว้อีก “ไม่มี
ความผิดฐานรับของโจร”
15. การซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ได้กาหนดลงไว้แน่นอนแล้ว กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อทันทีแม้ยังไม่ได้
ชาระราคา ถ้ายังไม่ได้มอบการครอบครองให้ ถ้าผู้ขายเอาไปเสียก่อนที่จะส่งให้ “เป็นความผิดฐาน
ยักยอก” ไม่เป็นความผิดฐานลักทรัพย์เพราะการครอบครองยังอยู่กับผู้เอาไป
3
16. กระแสไฟฟ้า เป็นทรัพย์
17. “ศพ โดยปกติไม่ใช่ทรัพย์”แต่ถ้าศพนั้นได้ดองไว้เพื่อใช้ในการศึกษาหรือทาเป็นมัมมี่ไว้ก็อาจเป็น
ทรัพย์ได้เพราะเป็นสิ่งที่มีราคาและถือเอาได้
18. ฆ่าคนแล้วจึงลักทรัพย์ โดยมีเจตนาทุจริตเกิดขึ้นภายหลัง “เป็นความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาและ
ความผิดฐานลักทรัพย์” แต่ไม่ผิดฐานชิงทรัพย์ฯ
19. ทรัพย์ของผู้อื่นที่เอาไปนั้น เจ้าของต้องยังไม่ได้สละกรรมสิทธิ์ “ถ้าเจ้าของสละกรรมสิทธิ์เสียแล้ว ไม่
เป็นความผิดฐานลักทรัพย์”
20. ทรัพย์บางอย่างที่มีชีวิตซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงและไปไหนมาไหนได้นั้นแม้จะออกห่างไปจากบ้านของผู้เป็น
เจ้าของ “ก็ถือว่าการครอบครองยังไม่ขาด” เว้นแต่สัตว์นั้นทิ้งที่ไปเลย
21. ทรัพย์บางอย่างที่มีอยู่ตามธรรมชาติและได้รับการประมูลผูกขาด“ผู้นั้นจะต้องได้เข้ายึดถือครอบครอง
หรือทาให้เกิดผลนั้นขึ้นโดยแท้จริงแล้ว” ผู้เอาไปจึงมีความผิดฐานลักทรัพย์
22. ปลาในบ่อ สระ หลุมที่ขุดล่อไว้หรือในโป๊ ะชั้นนอก ถ้ายังว่ายเข้าออกไปสู่สาธารณะได้โดย
อิสระ “ถือว่ายังไม่มีกรรมสิทธิ์”
ความหมายของกฎหมาย
ได้มีผู้ให้ความหมายของกฏหมายไว้ดังนี้
- กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฏหมายไทย"กฏหมายคือ คาสั่งทั้งหลายของผู้ปกครองว่าการ
แผ่นดินต่อราษฏรทั้งหลาย เมื่อไม่ทาตาม ธรรมดาต้องลงโทษ"
- ดร.สายหยุด แสงอุทัย"กฏหมายคือข้อบังคับของรัฐที่กาหนดความประพฤติของมนุษย์ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับ
ผลร้ายหรือถูกลงโทษ"
กฏหมาย สามารถแยกได้เป็น 2 คาคือ คาว่ากฏซึ่งแผลงมาจากคาว่า กด หรือกาหนดความประพฤติของ
มนุษย์ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับผลร้ายและถูกลงโทษ
จากคาจากัดความของกฏหมายข้างต้น สามารถสรุปความหมายของกฏหมายได้ว่า หมายถึง ระเบียบ
ข้อบังคับ บทบัญญัติซึ่งผู้มีอานาจสูงสุดในรัฐหรือประเทศ ได้กาหนดมาเพื่อใช้ในการบริหารกิจการ
บ้านเมืองหรือบังคับความประพฤติของ ประชาชนในรัฐหรือประเทศนั้นให้ปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดความสงบ
สุขในสังคม หากผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับผลอย่างใดอย่างหนึ่งตามกฏหมาย
4
บทที่ 2
บทลงโทษทำงกฎหมำย
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
ความโลภการอยากได้ของของบุคคลอื่นเป็นสิ่งที่พบเห็นโดยทั่วไปโดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งมีความชอบ
และรสนิยมในสินค้าราคาแพง การเห็นเพื่อนมีของสวยๆ แพงๆ ใช้ก็เกิดการอยากได้มาครอบครองเป็นของ
ตนเอง ทาให้มีความคิดที่จะลงมือขโมยของของเพื่อมาเป็นของเรา วัยรุ่นหลายคนคิดว่าสิ่งเหล่านี้เป็นเรื่อง
เล็กน้อย ถ้าของของเพื่อนหายไปเดี๋ยวพ่อแม่ของเขาก็ซื้อใหม่ให้ และนอกจากนี้ การขโมยของเพื่อเอาไปขาย
โดยต้องการที่จะนาเงินไปเที่ยวมีให้พบเห็นอยู่บ่อยๆ ไม่แพ้กัน ถ้าหนักไปกว่านั้นวัยรุ่นที่ต้องการเงินมากไม่
ว่าจะด้วยเหตุผลต้องการนาเงินไปเที่ยวหรือเสพยาก็อาจจะกระทาการที่รุนแรงขึ้นได้ เช่น การไถ่เงินจากรุ่น
น้อง การชิงทรัพย์ หรือปล้นทรัพย์ของผู้อื่น กฎหมายเล็งเน้นปัญหาข้อนี้ และเห็นว่าควรจะมีการลงโทษคน
ที่เอาของของผู้อื่นไป ทั้งนี้ เพื่อให้สังคมสงบสุขไม่วุ่นวายและป้องกันการติดตามเอาทรัพย์คืนจากเจ้าของที่
แท้จริงซึ่งอาจทาให้เกิดความรุนแรงตามมาได้
-การลักทรัพย์
การลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดยต้องการจะ
ครอบครองทรัพย์นั้นไว้ เพื่อตนเองเอาไปขายหรือให้กับบุคคลอื่นก็ตามแต่ ผู้ที่กระทาความผิดฐานลักทรัพย์
จะต้องถูกระวางโทษไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 6 พันบาทการลักทรัพย์นั้นถ้าผู้กระทาได้กระทาในเวลา
กลางคืนหรือในบริเวณที่มีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด หรือในบริเวณที่มีอุบัติเหตุผู้ที่เข้าไปลักทรัพย์ในบริเวณ
ดังกล่าวจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นกว่าการลักทรัพย์ในเวลาสถานที่หรือเหตุการณ์ปกติเหตุที่เป็นเช่นนี้
เพราะเหตุการณ์ หรือช่วงเวลาดังกล่าวเจ้าของทรัพย์กาลังได้รับความเดือดร้อนไม่สามารถที่จะดูแลทรัพย์
ของตนเองได้และการกระทาในเหตุการณ์หรือช่วงเวลาดังกล่าวเป็นการกระทาที่ซ้าเติมเจ้าของทรัพย์ที่กาลัง
ได้รับความเดือดร้อน
-ยักยอกทรัพย์
การยักยอกทรัพย์ เป็นกรณีที่ทรัพย์นั้นได้ตกมาอยู่ในความครอบครองของบุคคลหนึ่ง แล้วบุคคลนั้นได้
ยึดเพื่อไว้เป็นประโยชน์กับตนเอง ซึ่งทาให้เจ้าของทรัพย์ได้รับความเสียหาย เช่น นาย ก ยืมยางลบ นาย ข ไว้
ใช้ แต่เห็นว่าสวยดีจึงไม่คืน ในกรณีเช่นนี้ นาย ก มีความผิดฐานยักยอกทรัพย์ซึ่งจะต้องถูกระวางโทษไม่
เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 พันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ข้อควรระวังสาหรับผู้ที่เก็บกระเป๋ าตังค์ตกได้หรือ
ของที่มีคนมาลืมไว้(โดยที่เจ้าของยังติดตามทรัพย์นั้นอยู่) หากนากลับไปเพราะต้องการยึดถือไว้เองแล้วก็มี
ความผิดฐานลักทรัพย์ได้
5
-การวิ่งราวทรัพย์
เป็นการลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า หมายถึง เป็นการขโมยเจ้าของรู้ตัวและทรัพย์จะต้องอยู่ใกล้ชิด
ตัวเจ้าทรัพย์ ผู้กระทาการวิ่งราวทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท
อย่างไรก็ตามถ้าการวิ่งราวทรัพย์ทาให้ผู้อื่นได้รับอันตรายหรือเสียชีวิตเช่น กระชากสร้อยจากเจ้าของแล้ว
สร้อยบาดคอเจ้าของสร้อย ผู้ที่กระทาจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นด้วย
-การกรรโชกทรัพย์
การกรรโชกทรัพย์ หากจะยกตัวอย่างให้เห็นได้อย่างชัดเจนคงต้องยกตัวอย่าง กรณีที่พบเห็นได้บ่อย คือ
ก า ร ที่ รุ่ น ที่ บั ง คั บ เ อ า เ งิ น จ า ก รุ่ น น้ อ ง ห รื อ ที่ เ รี ย ก กั น ว่ า " แ ก็ ง ค์ ด า ว ไ ถ่ "
พวกแก็งดาวไถ่มักจะบังคับขู่เข็ญให้รุ่นน้องเอาเงินหรือสิ่งของที่มีค่ามาให้ถ้าไม่เอามาให้ก็มักจะถูกขู่หรือ
ถูกทาร้ายทาให้ต้องยอมตามที่แก็งค์ดาวไถ่บังคับผู้ที่กระทาความผิดในเรื่องนี้นั้นกฎหมายได้กาหนดโทษ
ให้ต้องจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท แต่ถ้าผู้ที่กระทาการกรรโชกขู่ว่าจะฆ่า ทาให้ได้รับ
อันตรายอย่างสาหัสหรือมีอาวุธมาขู่ด้วยก็จะได้รับโทษหนักขึ้น
-รีดเอาทรัพย์
การรีดเอาทรัพย์มีลักษณะการกระทาความผิดเหมือนการกรรโชกทรัพย์แต่ต่างกันเฉพาะวิธีการ
บังคับ กล่าวคือ การกรรโชกทรัพย์จะเป็นการขู่ว่าจะทาร้ายทาอันตราย แต่การรีดเอาทรัพย์จะเป็นกรณีที่
ผู้กระทาขู่ว่าจะเปิดเผยความลับซึ่งจะทาให้เกิดความเสียหายต่อผู้ที่ถูกขู่หรือบุคคลอื่น จนผู้ที่ถูกขู่ยินยอม
มอบเงินหรือทรัพย์สินให้ผู้ที่กระทาความผิดฐานนี้จะต้องถูกลงโทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้ง
แต่ 2 พันบาท ถึง 2 หมื่นบาท
-ชิงทรัพย์
ชิงทรัพย์คือ การลักทรัพย์ที่ประกอบด้วยการใช้กาลังเข้าทาร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กาลังเข้าทาร้าย
ในทันที ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ที่ครอบครองทรัพย์นั้นอยู่ยินยอมให้ทรัพย์ไป หรือกระทาไปเพื่อให้เกิดความสะดวก
ในการนาทรัพย์นั้นไป เช่น ขณะที่นายเอกกาลังเดินเล่นอยู่ นาย โท ก็เข้ามาบอกให้สร้อยทองให้ถ้าไม่ให้จะ
ทาร้ายหรือจะเอาปืนยิงให้ตายจนนายเอกต้องยอมถอดสร้อยของตนให้ เป็นต้น
6
- ปล้นทรัพย์
การปล้นทรัพย์มีลักษณะเช่นเดียวกับการชิงทรัพย์ต่างกันเพียงว่ามีผู้ร่วมชิงทรัพย์ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป
ผู้ที่กระทาความผิดฐานปล้นทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษตั้งแต่ 10 ปี ถึง 15 ปี และปรับตั้งแต่ 2 หมื่นบาท ถึง
3 หมื่นบาท หากการปล้นทรัพย์ผู้ปล้นคนใดคนหนึ่งมีอาวุธติดตัวไปด้วย หรือในการปล้นเป็นเหตุให้เจ้า
ทรัพย์หรือบุคคลอื่นได้รับถูกทาร้ายหรือเสียชีวิต ผู้กระทาความผิดทุกคนแม้จะไม่ได้พกอาวุธหรือร่วมทา
ร้ายเจ้าทรัพย์หรือบุคคลอื่นกฎหมายก็ถือว่าทุกคนมีส่วนร่วมในการกระทาความผิดด้วยซึ่งมีผลให้จะต้อง
รับโทษหนักขึ้นกว่าการปล้นทรัพย์โดยไม่มีอาวุธหรือไม่ได้มีการทาร้ายผู้ใด
-ทาให้เสียทรัพย์
การทาให้เสียทรัพย์ เป็นกรณีที่ผู้กระทาตั้งใจที่จะทาร้ายหรือทาให้ทรัพย์สินของผู้อื่นได้รับความ
เสียหาย เช่น ไม่พอใจอาจารย์ฝ่ายปกครองจึงเอาเหรียญไปขูดรถของอาจารย์ หรืออิจฉาเพื่อนที่มีโทรศัพท์จึง
เอาโทรศัพท์เพื่อนไปทิ้ง เป็นต้น ผู้กระทาความผิดฐานนี้จะต้องถูกระวางโทษไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6
พันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ นอกจากการที่ผู้กระทาจะต้องรับในทางกฎหมายอาญาแล้ว ก็มีความผิดทาง
กฎหมายแพ่งด้วยกล่าวคือผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้นอาจใช้สิทธิฟ้องให้ผู้กระทาผิดให้ชดใช้ค่าเสียหายได้
อีกด้วย
7
บทที่ 3
สำเหตุกำรลักขโมย
3.1 การว่างงาน ผู้ที่ว่างงานทาย่อมขาดรายได้สาหรับดารงชีวิต ทาให้สภาพจิตใจและอารมณ์ไม่ปกติ ส่วนผู้
ที่ว่างงานที่อยู่ในชนบท มักใช้เวลาว่างไปในทางอบายมุขเที่ยวเตร่ ดื่มสุรา เล่นการพนัน การว่างงงานจึงทา
ให้ขาดรายได้เลี้ยงชีพเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นชนวนให้เกิดการลักขโมย
3.2 พวกติดสิ่งเสพย์ติด ประสาทหลอน ควบคุมสติไม่ได้ ครั้นตกเป็นทาสคิดทาอะไรง่ายๆยาเสพย์ติดจึง
มักจะเป็นสะพานเกิดการลักขโมยได้ยาเสพติดความคิดสร้างสรรค์การทางานสมองและจิตใจที่บริสุทธิ์จะ
ถูกบั่นทอนลง ขาดความยั้ง
3.3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในปัจจุบันสังคมไทยได้รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาปฏิบัติในการดาเนิน
ชีวิต เช่น การแต่งกาย ความสัมพันธ์ทางเพศ สิ่งของล่อตาล่อใจ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการลักขโมย
3.4 ความเสื่อมทรามทางศีลธรรม ปัจจุบันสังคมไทยมีวัฒนธรรมทางวัตถุเจริญล้าหน้ากว่าวัฒนธรรมทาง
จิตใจ ฉะนั้นผู้ที่ขาดการอบรมทางจิตใจจึงประกอบการลักขโมยเพื่อแสวงหาวัตถุอันเป็นสิ่งปรารถนา
3.5 ค่านิยมที่ผิด เช่น การเป็นนักเลงโตสร้างกลุ่มอิทธิพลอานาจการขัดแย้งในค่านิยม ของมีค่ามีอยู่จากัด
แต่มีผู้ต้องการมากจึงต้องแข่งขันต่อสู้ช่วงชิงกันเมื่อมีความต้องการรุนแรงไม่มีความชอบธรรมจะได้มา ก็
ฉ้อโกง ลัก ปล้น
3.6 สภาพครอบครัว เป็นสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลกระตุ้นให้บุคคลกลายเป็นบุคคลมีปัญหาได้เช่น ครอบครัว
ที่ยากจน ครอบครัวที่บิดามารดายั่วยุให้เด็กกระทาผิด
3.7 สภาวะเศรษฐกิจฝืดเคือง ปัจจุบันค่าครองชีพสูงขึ้นเรื่อยๆ และจะเป็นปฏิภาคกลับกับค่าของเงิน คือ ค่า
ของเงินลดลงทาให้สินค้ามีราคาสูงขึ้นรายได้ไม่พอกับรายจ่าย บุคคลบางประเภทจาต้องดิ้นรนต่อสู้ด้วยการ
ลักขโมยหาเงินโดยทางผิดกฎหมาย1.การว่างงาน ผู้ที่ว่างงานทาย่อมขาดรายได้สาหรับดารงชีวิต ทาให้
สภาพจิตใจและอารมณ์ไม่ปกติ ส่วนผู้ที่ว่างงานที่อยู่ในชนบท มักใช้เวลาว่างไปในทางอบายมุขเที่ยวเตร่ ดื่ม
สุรา เล่นการพนัน การว่างงงานจึงทาให้ขาดรายได้เลี้ยงชีพเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นชนวนให้เกิดการลักขโมย
8
บทที่4
ผลกระทบจำกกำรลักขโมย
4.1ผลกระทบต่อบุคคล
- ถูกทาร้ายร่างกายทาให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต
- สภาพของจิตใจถูกกระทบกระเทือน มีความวิตกกังวล ซึมเศร้า เหม่อลอย ขาดสมาธิ
- เกิดความสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร
- เกิดการเลียนแบบผู้กระทาความรุนแรง
- สูญเสียทรัพย์สิน
- ไม่มีเงินในการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น จ่าค่ารถ ซื้อของ
- อาจทาให้โดนฉ้อโกง เนื่องจากหลักฐานโดนขโมย จึงทาให้ผู้ไม่หวังดีใช้ช่องโหว่นี้ในการทามาหา
กินอีก
- โดนหลอกให้กู้หนี้ยืมสิน ต้องจ่ายดอกเบี้ยราคาโหด
4.2ผลกระทบต่อครอบครัว
- ครอบครัวแตกแยก มีปัญหาความสัมพันธ์ภายในครอบครัว เกิดการเป็นม่าย หรือกาพร้าขาดบิดา
มารดา
- เกิดความยากจนและว่างงาน เพราะบิดามารดาต้องหยุดงานหรือไม่มีงานทา ทาให้ครอบครัวขาด
รายได้
- สูญเสียเครื่องมือในการประกอบอาชีพที่สาคัญ
- ทาให้อาจโดนฉ้อโกง เนื่องจากโดนขโมยหลักฐานหรือทรัพย์สินไป
- ต้องกู้หนี้ยืมสิน เพื่อมาใช้สอยในชีวิตประจาวัน
4.3ผลกระทบต่อสังคม
- สังคมเดือดร้อน เกิดความหวาดระแวง ขาดความสงบสุข ประเทศขาดความมั่นคงและความ
ปลอดภัย
- สิ่งแวดล้อมในสังคมไม่ปลอดภัย มีปัญหาอาชญากรรม การจลาจล การลอบทาร้าย การก่อการ
ร้าย โดนลูกหลง เป็นต้น
- เกิดการลักขโมยในโรงเรียน เพราะวัตถุนิยม อยากได้อยากมีในสิ่งที่เราไม่มี
- มีปัญหาเศรษฐกิจ รวมทั้งมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศ
9
- ทาให้บุคคลในประเทศ เกิดความวิตกกังวลในการดาเนินชีวิตประจาวัน
10
บทที่ 5
แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ
1) รู้ซึ้งถึงบทลงโทษของการลักขโมย
2) รณรงค์ให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด
3) ไม่หลงไปกับวัตถุนิยมต่าง ๆ
4) ปลูกฝังความคิดให้เด็กว่าการลักขโมยมันไม่ดี
5) สอนให้เด็กรู้จักความพอดีไม่ โลภมาก
6) ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
7) อยู่อย่างพอเพียง
8) ติดป้ายรณรงค์ห้ามเรื่องการลักขโมย
9) สอนให้ทุกคนอยู่ในศีล ๕
10) ทาอาชีพสุจริต ไม่ไปลักขโมย
11) ใช้ของให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าที่สุด
12) รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
11
บรรณำนุกรม
สถาบันเผยแผ่ข้อมูลอาลุลบัยตุ(อ.).2559.การขโมย.(ออนไลน์).แหล่งที่มา. :
http://quran.al-shia.org/th/ahlulbayt-quran/065.htm. 15 กันยายน 2559
ไม่ปรากฏชื่อ.2559.ลักษณะการกระทาอย่างไร เป็นความผิดฐานลักทรัพย์.(ออนไลน์).
แหล่งที่มา. : http://www.lawyerthai.com/articles/law/012.php. 15 กันยายน 2559
ตารวจมวลชนสัมพันธ์.2559.กฎหมายความผิดเกี่ยวกับทรัพย์.(ออนไลน์).แหล่งที่มา. :
http://masspolicenews.com/index. 15 กันยายน 2559
นางสาว เกษร อิ่มสุข และคณะ.2559.สาเหตุการลักทรัพย์.(ออนไลน์).แหล่งที่มา. :
https://sites.google.com/site/bv540402/home/pag. 15 กันยายน 2559
12
ภำคผนวก
ภาพที่1.1 ภาพการประชุมกลุ่ม
ภาพที่ 1.2 งาน#ก
ภาพที่ 1.3 งาน#ก
13
ภาพที่1.4 งาน #ก
ภาพที่ 1.5 งาน#ก
ภาพที่ 1.6 งาน #ก
14
ภาพที่ 1.7 งาน #ก
ภาพที่ 1.8 งาน #ก
ภาพที่ 1.9 งาน #ก
15
ภาพที่ 2.0 งาน #ก
ภาพที่ 2.1 งาน #ก
ภาพที่ 2.2 งานย่อย 4
16
ภาพที่ 2.3 งานย่อย 8
ภาพที่ 2.4 งานย่อย 8
17
ภาพที่ 2.5 งานย่อย 8
ภาพที่ 2.6 งานย่อย 8
18
ชื่อและภำพผู้จัดทำ
1. นางสาว กานต์สินี สังเมียน ม.5/2 เลขที่ 23
2. นางสาวสุวลักษณ์ พุธมนต์ม.5/2 เลขที่ 26
19
3. นางสาวชลันทร สัตยชิติ
4. นางสาวบุษกร เรืองโรจน์ ม.5/2 เลขที่ 28

More Related Content

What's hot

ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นNutdanai Dt
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักพัน พัน
 
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีโครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีTanyaporn Puttawan
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีKrittamook Sansumdang
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 

What's hot (20)

ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่นเรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
เรื่อง ปัญหาการติดเกมในหมู่วัยรุ่น
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีโครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 

Viewers also liked

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4page
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4pageเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4page
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมRatchasin Poomchor
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7Pear Pimnipa
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัยkrutitirut
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (11)

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4page
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4pageเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4page
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน+512+54his p01 f01-4page
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
Office
OfficeOffice
Office
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัยแผนการจัดประสบการณ์  ระดับปฐมวัย
แผนการจัดประสบการณ์ ระดับปฐมวัย
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

More from พัน พัน

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนพัน พัน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อนเรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
เรื่องปัญหาภาวะโลกร้อน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 

การลักขโมย

  • 1. การลักขโมย จัดทาโดย นางสาวกานต์สินี สังเมียน เลขที่ 23 นางสาวสุวลักษณ์ พุทธมนต์ เลขที่ 26 นางสาวชลันทร สัตยชิติ เลขที่ 27 นางสาวบุษกร เรืองโรจน์ เลขที่ 28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เสนอ คุณครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานการศึกษาค้นคว้าและการสร้างความรู้(IS)นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8
  • 2. ก คำนำ รายงานเป็นส่วนหนึ่งของวิชาการศึกษาค้นคว้าและการสร้างความรู้(IS) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมี จุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู้และปัญหาจากสังคมภายนอกที่อาจส่งผลกระทบต่อตัวเราเช่น ปัญหาการ ลักขโมย ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การเลี้ยงดูบุตรหลานปลูกฝังให้เป็นคนดีของสังคม ความผิดทางกฎหมาย สาเหตุของการลักขโมย ผลกระทบจากการลักขโมย และแนวทางการแก้ไขปัญหา ซึ่งสามารถนาปรับมาใช้ ในชีวิตประจาวันได้ คณะผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้มาทารายงานเนื่องจากเป็นยังเป็นปัญหาของสังคมที่เราสามารถร่วมกัน แก้ไขปัญหานี้ได้อย่างถูกวิธี มาเรียบเรียงให้ผู้อ่านเข้าใจได้ง่ายมากขึ้น คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะมี ประโยชน์ต่อผู้อ่านมามากก็น้อย ถ้ามีข้อผิดพลาดประการใดต้องขอภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา 31 สิงหาคม 2559
  • 3. ข กิตติกรรมประกำศ รายงานการศึกษาค้นคว้าและการสร้างความรู้(IS) เรื่อง การลักขโมย ซึ่งรายงานได้ดังกล่าวได้เสร็จ สมบูรณ์แล้วโดยได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคลหลายท่าน ท่านแรก คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ครูผู้สอนที่ ให้ความรู้ คาแนะนาการตรวจทาน และแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่ทุกขั้นตอน และเพื่อนๆ ม. 5/2 ที่แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด เพื่อให้การเขียนรายงานค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ฉบับนี้ให้สมบูรณ์ ที่สุด ขอขอบคุณคุณครูทุกท่านที่ได้ให้ความรู้ คาแนะนาในการจัดทารายงานการศึกษาค้นคว้าและการ สร้างความรู้(IS)ฉบับนี้ ขอขอบคุณบิดา มารดาของคณะผู้จัดทาที่อยู่เบื้องหลังในความสาเร็จและได้ให้ความช่วยเหลือ สนับสนุน อีกทั้งคอยให้กาลังใจเสมอมา คณะผู้จัดทา
  • 4. ค สำรบัญ เรื่อง หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญรูปภาพ ง บทที่1 1 บทที่2 4 บทที่3 7 บทที่4 8 บทที่5 10 บรรณานุกรม 11 ภาคผนวก 12 ชื่อและภาพผู้จัดทา 18
  • 5. ง สำรบัญรูปภำพ แผนภาพ หน้า 1.1 ภาพการประชุมกลุ่ม 12 1.2 งาน #ก 12 1.3 งาน #ก 12 1.4 งาน #ก 13 1.5 งาน #ก 13 1.6 งาน #ก 13 1.7 งาน #ก 14 1.8 งาน #ก 14 1.9 งาน #ก 14 2.0 งาน #ก 15 2.1 งาน #ก 15 2.2 งานย่อย 4 16 2.3 งานย่อย 8 16 2.4 งานย่อย 8 16 2.5 งานย่อย 8 17 2.6 งานย่อย 8 17
  • 6. 1 บทที่ 1 ควำมหมำย ความหมายของการลักขโมย ผู้ที่นาเอาทรัพย์สินของผู้อื่นมาด้วยกับการกดขี่หรือบังคับขู่เข็ญ ซึ่งเขาไม่มีสิทธิเป็นเจ้าของสิ่งนั้น เลยแม้แต่นิดเลย แต่เขาก็ได้ยึดเอาของสิ่งนั้นมาเป็นของตัวเอง หรือผู้ที่ได้ละเมิดทรัพย์สินของคนอื่นและ ได้ตักตวงผลประโยชน์จากมัน แม้ว่าเขาจะไม่ได้ยึดของสิ่งนั้นมาเป็นของตัวเองก็ตาม ตามหลักชัรอียถือว่า เป็นการขโมย รวมไปถึงการหยิบฉวยของคนอื่นมาใช้โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าของ เช่น ของฝากที่คนหนึ่งได้ ฝากไว้กับเราและเรานาเอาสิ่งของเหล่านั้นมาใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต หรือมิได้ขออนุญาต หรือแจ้งให้ เจ้าของทราบก่อนล่วงหน้า เหล่านี้ถือว่าอยู่ในกฎของการขโมยทั้งสิ้น ฉะนั้น การขโมยจึงหมายถึง การเป็นเจ้าของหรือการปกครองทรัพย์สินของผู้อื่นด้วยมิชอบ หรือ ได้ละเมิดสิทธิของเจ้าของเดิม ลักษณะการกระทาที่เป็นความผิดทางขโมย 1. คาว่า “เอาไป” คือการเอาทรัพย์เคลื่อนที่ไปจากที่เดิมในลักษณะที่จะพาทรัพย์นั้นไปได้ และทรัพย์นั้นเข้า มาอยู่ในความยึดถือครอบครองเพื่อตนแล้ว “แม้ทรัพย์นั้นเคลื่อนที่เพียงเล็กน้อยก็ถือว่าเป็นการเอาไป แล้ว” ถึงแม้ผู้กระทาจะยังไม่เอาทรัพย์นั้นไปหรือถูกขัดขวางในภายหลังและเอาทรัพย์นั้นไปไม่ได้ก็ตาม ต้องถือว่าเป็นความผิดฐานลักทรัพย์สาเร็จ 2. การเอาทรัพย์ของผู้อื่นไปนั้น “อาจกระทาโดยทางอ้อม โดยใช้ผู้อื่นเป็นเครื่องมือก็ได้” 3. เพียงแต่เอาทรัพย์เคลื่อนที่อย่างเดียว แต่ไม่อยู่ในลักษณะที่จะเอาทรัพย์นั้นไปได้ “คือยังไม่ได้มีการยึดถือ เลย” เป็นเพียงความผิดฐานพยายามลักทรัพย์ 4. การลักทรัพย์โดยใช้อุบายนั้นใกล้เคียงกับความผิดฐานฉ้อโกงมาก การลักทรัพย์โดยใช้อุบาย การ หลอกลวง “เป็นวิธีการเพื่อทาให้การลักทรัพย์สะดวกขึ้นเท่านั้น”ส่วนความผิดฐานฉ้อโกงการหลอกลวง นั้นทาให้ผู้ถูกหลอกหลงเชื่อและมอบทรัพย์ให้หรือยอมให้เอาทรัพย์นั้นไปด้วยความเต็มใจ 5. ทรัพย์นั้นต้องเป็นของผู้อื่นหรือผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยและทรัพย์นั้นต้องอยู่ในความครอบครองของ ผู้อื่นในขณะที่เอาทรัพย์นั้นไปถ้าทรัพย์นั้นอยู่ในความครอบครองของผู้กระทาเองในขณะที่เอาไปแล้วไม่
  • 7. 2 เป็นความผิดฐานลักทรัพย์แต่อาจเป็นความผิดฐานยักยอกทรัพย์“การเอาทรัพย์ของตนเองแต่ผู้เดียวไปไม่ เป็นความผิดฐานลักทรัพย์” แม้ทรัพย์นั้นจะอยู่ในความครอบครองของผู้อื่น 6. ในกรณีที่ทรัพย์นั้นเป็นทรัพย์ที่มีเจ้าของร่วมกัน การเอาทรัพย์ชนิดนี้ไป“จะต้องอยู่ในความครอบครอง ของเจ้าของร่วมโดยแท้จริง” ไม่ใช่เพียงมีสิทธิครอบครองร่วมกันเท่านั้น 7. ในเรื่องทรัพย์สินหาย หรือของตกหายนั้น ถือหลักว่าถ้าเก็บไปโดยรู้หรือมีเหตุอันควรรู้ว่าทรัพย์นั้นอยู่ใน ระหว่างที่เจ้าของกาลังติดตาม หรือกาลังจะติดตามทรัพย์นั้นคืน ถ้าเอาทรัพย์ไปตอนนี้ “เป็นความผิดฐานลัก ทรัพย์” แต่ถ้าเอาไปโดยไม่รู้หรือไม่มีเหตุอันควรรู้เช่นนั้นแล้ว ก็เป็นการได้ทรัพย์หาย “เป็นความผิดฐาน ยักยอกทรัพย์” 8. การได้รับมอบหมายทรัพย์จากเจ้าของให้ดูแลแทนเพียงชั่วคราวหรือเจ้าของไปด้วย ถือว่าการครอบครอง ทรัพย์นั้นยังอยู่กับเจ้าของ “ถ้าเอาไปขณะนี้เป็นความผิดฐานลักทรัพย์” 9. การลักทรัพย์นั้น การเอาทรัพย์ของผู้อื่นไปผู้กระทา “ต้องมีเจตนาทุจริตมาก่อนหรือในขณะที่เอาทรัพย์ นั้นไป” ถ้ามีเกิดขึ้นภายหลังไม่ผิดฐานลักทรัพย์แต่อาจเป็นความผิดฐานอื่น เช่น ยักยอกทรัพย์ 10. การเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไปโดยมีเจตนาเป็นอย่างอื่น ไม่ใช่โดยทุจริตคือ ไม่ใช่เพื่อถือทรัพย์นั้นเป็นของตนเองหรือผู้อื่นแล้ว “ไม่เป็นความผิดฐานลักทรัพย์” 11. การลักทรัพย์นั้นถ้ากระทาโดยมีเจตนาทุจริตเพื่อกระทาการลักทรัพย์และได้ลงมือกระทาการลักทรัพย์ เช่นการเข้าไปในบ้านแต่ไม่มีสิ่งของหรือลงมืองัดแงะประตูแล้ว แม้จะมีเหตุมาขัดขวางทาให้การลักทรัพย์ ต่อไปไม่ได้“ก็ถือว่ามีความผิดฐานพยายามลักทรัพย์แล้ว” 12. ลักทรัพย์เสร็จแล้ว เอาทรัพย์นั้นมาทาลายภายหลัง “ไม่ผิดฐานทาให้เสียทรัพย์อีก” 13. ลักทรัพย์สาเร็จแล้ว มีผู้อื่นมาช่วยพาทรัพย์นั้นไป ไม่เป็นการสมคบลักทรัพย์แต่ถ้าผู้กระทารู้ว่าเป็น ทรัพย์ที่ได้มาโดยการกระทาผิด “เป็นความผิดฐานรับของโจร” 14. สมคบกันลักทรัพย์ได้มาและได้แบ่งกันไปแล้ว ภายหลังผู้ลักคนหนึ่งได้รับทรัพย์นั้นไว้อีก “ไม่มี ความผิดฐานรับของโจร” 15. การซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ได้กาหนดลงไว้แน่นอนแล้ว กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อทันทีแม้ยังไม่ได้ ชาระราคา ถ้ายังไม่ได้มอบการครอบครองให้ ถ้าผู้ขายเอาไปเสียก่อนที่จะส่งให้ “เป็นความผิดฐาน ยักยอก” ไม่เป็นความผิดฐานลักทรัพย์เพราะการครอบครองยังอยู่กับผู้เอาไป
  • 8. 3 16. กระแสไฟฟ้า เป็นทรัพย์ 17. “ศพ โดยปกติไม่ใช่ทรัพย์”แต่ถ้าศพนั้นได้ดองไว้เพื่อใช้ในการศึกษาหรือทาเป็นมัมมี่ไว้ก็อาจเป็น ทรัพย์ได้เพราะเป็นสิ่งที่มีราคาและถือเอาได้ 18. ฆ่าคนแล้วจึงลักทรัพย์ โดยมีเจตนาทุจริตเกิดขึ้นภายหลัง “เป็นความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาและ ความผิดฐานลักทรัพย์” แต่ไม่ผิดฐานชิงทรัพย์ฯ 19. ทรัพย์ของผู้อื่นที่เอาไปนั้น เจ้าของต้องยังไม่ได้สละกรรมสิทธิ์ “ถ้าเจ้าของสละกรรมสิทธิ์เสียแล้ว ไม่ เป็นความผิดฐานลักทรัพย์” 20. ทรัพย์บางอย่างที่มีชีวิตซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงและไปไหนมาไหนได้นั้นแม้จะออกห่างไปจากบ้านของผู้เป็น เจ้าของ “ก็ถือว่าการครอบครองยังไม่ขาด” เว้นแต่สัตว์นั้นทิ้งที่ไปเลย 21. ทรัพย์บางอย่างที่มีอยู่ตามธรรมชาติและได้รับการประมูลผูกขาด“ผู้นั้นจะต้องได้เข้ายึดถือครอบครอง หรือทาให้เกิดผลนั้นขึ้นโดยแท้จริงแล้ว” ผู้เอาไปจึงมีความผิดฐานลักทรัพย์ 22. ปลาในบ่อ สระ หลุมที่ขุดล่อไว้หรือในโป๊ ะชั้นนอก ถ้ายังว่ายเข้าออกไปสู่สาธารณะได้โดย อิสระ “ถือว่ายังไม่มีกรรมสิทธิ์” ความหมายของกฎหมาย ได้มีผู้ให้ความหมายของกฏหมายไว้ดังนี้ - กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฏหมายไทย"กฏหมายคือ คาสั่งทั้งหลายของผู้ปกครองว่าการ แผ่นดินต่อราษฏรทั้งหลาย เมื่อไม่ทาตาม ธรรมดาต้องลงโทษ" - ดร.สายหยุด แสงอุทัย"กฏหมายคือข้อบังคับของรัฐที่กาหนดความประพฤติของมนุษย์ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับ ผลร้ายหรือถูกลงโทษ" กฏหมาย สามารถแยกได้เป็น 2 คาคือ คาว่ากฏซึ่งแผลงมาจากคาว่า กด หรือกาหนดความประพฤติของ มนุษย์ถ้าฝ่าฝืนจะได้รับผลร้ายและถูกลงโทษ จากคาจากัดความของกฏหมายข้างต้น สามารถสรุปความหมายของกฏหมายได้ว่า หมายถึง ระเบียบ ข้อบังคับ บทบัญญัติซึ่งผู้มีอานาจสูงสุดในรัฐหรือประเทศ ได้กาหนดมาเพื่อใช้ในการบริหารกิจการ บ้านเมืองหรือบังคับความประพฤติของ ประชาชนในรัฐหรือประเทศนั้นให้ปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดความสงบ สุขในสังคม หากผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับผลอย่างใดอย่างหนึ่งตามกฏหมาย
  • 9. 4 บทที่ 2 บทลงโทษทำงกฎหมำย ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ความโลภการอยากได้ของของบุคคลอื่นเป็นสิ่งที่พบเห็นโดยทั่วไปโดยเฉพาะวัยรุ่นซึ่งมีความชอบ และรสนิยมในสินค้าราคาแพง การเห็นเพื่อนมีของสวยๆ แพงๆ ใช้ก็เกิดการอยากได้มาครอบครองเป็นของ ตนเอง ทาให้มีความคิดที่จะลงมือขโมยของของเพื่อมาเป็นของเรา วัยรุ่นหลายคนคิดว่าสิ่งเหล่านี้เป็นเรื่อง เล็กน้อย ถ้าของของเพื่อนหายไปเดี๋ยวพ่อแม่ของเขาก็ซื้อใหม่ให้ และนอกจากนี้ การขโมยของเพื่อเอาไปขาย โดยต้องการที่จะนาเงินไปเที่ยวมีให้พบเห็นอยู่บ่อยๆ ไม่แพ้กัน ถ้าหนักไปกว่านั้นวัยรุ่นที่ต้องการเงินมากไม่ ว่าจะด้วยเหตุผลต้องการนาเงินไปเที่ยวหรือเสพยาก็อาจจะกระทาการที่รุนแรงขึ้นได้ เช่น การไถ่เงินจากรุ่น น้อง การชิงทรัพย์ หรือปล้นทรัพย์ของผู้อื่น กฎหมายเล็งเน้นปัญหาข้อนี้ และเห็นว่าควรจะมีการลงโทษคน ที่เอาของของผู้อื่นไป ทั้งนี้ เพื่อให้สังคมสงบสุขไม่วุ่นวายและป้องกันการติดตามเอาทรัพย์คืนจากเจ้าของที่ แท้จริงซึ่งอาจทาให้เกิดความรุนแรงตามมาได้ -การลักทรัพย์ การลักทรัพย์ คือ การเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดยต้องการจะ ครอบครองทรัพย์นั้นไว้ เพื่อตนเองเอาไปขายหรือให้กับบุคคลอื่นก็ตามแต่ ผู้ที่กระทาความผิดฐานลักทรัพย์ จะต้องถูกระวางโทษไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 6 พันบาทการลักทรัพย์นั้นถ้าผู้กระทาได้กระทาในเวลา กลางคืนหรือในบริเวณที่มีเหตุเพลิงไหม้ การระเบิด หรือในบริเวณที่มีอุบัติเหตุผู้ที่เข้าไปลักทรัพย์ในบริเวณ ดังกล่าวจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นกว่าการลักทรัพย์ในเวลาสถานที่หรือเหตุการณ์ปกติเหตุที่เป็นเช่นนี้ เพราะเหตุการณ์ หรือช่วงเวลาดังกล่าวเจ้าของทรัพย์กาลังได้รับความเดือดร้อนไม่สามารถที่จะดูแลทรัพย์ ของตนเองได้และการกระทาในเหตุการณ์หรือช่วงเวลาดังกล่าวเป็นการกระทาที่ซ้าเติมเจ้าของทรัพย์ที่กาลัง ได้รับความเดือดร้อน -ยักยอกทรัพย์ การยักยอกทรัพย์ เป็นกรณีที่ทรัพย์นั้นได้ตกมาอยู่ในความครอบครองของบุคคลหนึ่ง แล้วบุคคลนั้นได้ ยึดเพื่อไว้เป็นประโยชน์กับตนเอง ซึ่งทาให้เจ้าของทรัพย์ได้รับความเสียหาย เช่น นาย ก ยืมยางลบ นาย ข ไว้ ใช้ แต่เห็นว่าสวยดีจึงไม่คืน ในกรณีเช่นนี้ นาย ก มีความผิดฐานยักยอกทรัพย์ซึ่งจะต้องถูกระวางโทษไม่ เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 2 พันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ข้อควรระวังสาหรับผู้ที่เก็บกระเป๋ าตังค์ตกได้หรือ ของที่มีคนมาลืมไว้(โดยที่เจ้าของยังติดตามทรัพย์นั้นอยู่) หากนากลับไปเพราะต้องการยึดถือไว้เองแล้วก็มี ความผิดฐานลักทรัพย์ได้
  • 10. 5 -การวิ่งราวทรัพย์ เป็นการลักทรัพย์โดยฉกฉวยเอาซึ่งหน้า หมายถึง เป็นการขโมยเจ้าของรู้ตัวและทรัพย์จะต้องอยู่ใกล้ชิด ตัวเจ้าทรัพย์ ผู้กระทาการวิ่งราวทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท อย่างไรก็ตามถ้าการวิ่งราวทรัพย์ทาให้ผู้อื่นได้รับอันตรายหรือเสียชีวิตเช่น กระชากสร้อยจากเจ้าของแล้ว สร้อยบาดคอเจ้าของสร้อย ผู้ที่กระทาจะต้องถูกระวางโทษหนักขึ้นด้วย -การกรรโชกทรัพย์ การกรรโชกทรัพย์ หากจะยกตัวอย่างให้เห็นได้อย่างชัดเจนคงต้องยกตัวอย่าง กรณีที่พบเห็นได้บ่อย คือ ก า ร ที่ รุ่ น ที่ บั ง คั บ เ อ า เ งิ น จ า ก รุ่ น น้ อ ง ห รื อ ที่ เ รี ย ก กั น ว่ า " แ ก็ ง ค์ ด า ว ไ ถ่ " พวกแก็งดาวไถ่มักจะบังคับขู่เข็ญให้รุ่นน้องเอาเงินหรือสิ่งของที่มีค่ามาให้ถ้าไม่เอามาให้ก็มักจะถูกขู่หรือ ถูกทาร้ายทาให้ต้องยอมตามที่แก็งค์ดาวไถ่บังคับผู้ที่กระทาความผิดในเรื่องนี้นั้นกฎหมายได้กาหนดโทษ ให้ต้องจาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 1 หมื่นบาท แต่ถ้าผู้ที่กระทาการกรรโชกขู่ว่าจะฆ่า ทาให้ได้รับ อันตรายอย่างสาหัสหรือมีอาวุธมาขู่ด้วยก็จะได้รับโทษหนักขึ้น -รีดเอาทรัพย์ การรีดเอาทรัพย์มีลักษณะการกระทาความผิดเหมือนการกรรโชกทรัพย์แต่ต่างกันเฉพาะวิธีการ บังคับ กล่าวคือ การกรรโชกทรัพย์จะเป็นการขู่ว่าจะทาร้ายทาอันตราย แต่การรีดเอาทรัพย์จะเป็นกรณีที่ ผู้กระทาขู่ว่าจะเปิดเผยความลับซึ่งจะทาให้เกิดความเสียหายต่อผู้ที่ถูกขู่หรือบุคคลอื่น จนผู้ที่ถูกขู่ยินยอม มอบเงินหรือทรัพย์สินให้ผู้ที่กระทาความผิดฐานนี้จะต้องถูกลงโทษจาคุกตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับตั้ง แต่ 2 พันบาท ถึง 2 หมื่นบาท -ชิงทรัพย์ ชิงทรัพย์คือ การลักทรัพย์ที่ประกอบด้วยการใช้กาลังเข้าทาร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กาลังเข้าทาร้าย ในทันที ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ที่ครอบครองทรัพย์นั้นอยู่ยินยอมให้ทรัพย์ไป หรือกระทาไปเพื่อให้เกิดความสะดวก ในการนาทรัพย์นั้นไป เช่น ขณะที่นายเอกกาลังเดินเล่นอยู่ นาย โท ก็เข้ามาบอกให้สร้อยทองให้ถ้าไม่ให้จะ ทาร้ายหรือจะเอาปืนยิงให้ตายจนนายเอกต้องยอมถอดสร้อยของตนให้ เป็นต้น
  • 11. 6 - ปล้นทรัพย์ การปล้นทรัพย์มีลักษณะเช่นเดียวกับการชิงทรัพย์ต่างกันเพียงว่ามีผู้ร่วมชิงทรัพย์ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป ผู้ที่กระทาความผิดฐานปล้นทรัพย์จะต้องถูกระวางโทษตั้งแต่ 10 ปี ถึง 15 ปี และปรับตั้งแต่ 2 หมื่นบาท ถึง 3 หมื่นบาท หากการปล้นทรัพย์ผู้ปล้นคนใดคนหนึ่งมีอาวุธติดตัวไปด้วย หรือในการปล้นเป็นเหตุให้เจ้า ทรัพย์หรือบุคคลอื่นได้รับถูกทาร้ายหรือเสียชีวิต ผู้กระทาความผิดทุกคนแม้จะไม่ได้พกอาวุธหรือร่วมทา ร้ายเจ้าทรัพย์หรือบุคคลอื่นกฎหมายก็ถือว่าทุกคนมีส่วนร่วมในการกระทาความผิดด้วยซึ่งมีผลให้จะต้อง รับโทษหนักขึ้นกว่าการปล้นทรัพย์โดยไม่มีอาวุธหรือไม่ได้มีการทาร้ายผู้ใด -ทาให้เสียทรัพย์ การทาให้เสียทรัพย์ เป็นกรณีที่ผู้กระทาตั้งใจที่จะทาร้ายหรือทาให้ทรัพย์สินของผู้อื่นได้รับความ เสียหาย เช่น ไม่พอใจอาจารย์ฝ่ายปกครองจึงเอาเหรียญไปขูดรถของอาจารย์ หรืออิจฉาเพื่อนที่มีโทรศัพท์จึง เอาโทรศัพท์เพื่อนไปทิ้ง เป็นต้น ผู้กระทาความผิดฐานนี้จะต้องถูกระวางโทษไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6 พันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ นอกจากการที่ผู้กระทาจะต้องรับในทางกฎหมายอาญาแล้ว ก็มีความผิดทาง กฎหมายแพ่งด้วยกล่าวคือผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้นอาจใช้สิทธิฟ้องให้ผู้กระทาผิดให้ชดใช้ค่าเสียหายได้ อีกด้วย
  • 12. 7 บทที่ 3 สำเหตุกำรลักขโมย 3.1 การว่างงาน ผู้ที่ว่างงานทาย่อมขาดรายได้สาหรับดารงชีวิต ทาให้สภาพจิตใจและอารมณ์ไม่ปกติ ส่วนผู้ ที่ว่างงานที่อยู่ในชนบท มักใช้เวลาว่างไปในทางอบายมุขเที่ยวเตร่ ดื่มสุรา เล่นการพนัน การว่างงงานจึงทา ให้ขาดรายได้เลี้ยงชีพเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นชนวนให้เกิดการลักขโมย 3.2 พวกติดสิ่งเสพย์ติด ประสาทหลอน ควบคุมสติไม่ได้ ครั้นตกเป็นทาสคิดทาอะไรง่ายๆยาเสพย์ติดจึง มักจะเป็นสะพานเกิดการลักขโมยได้ยาเสพติดความคิดสร้างสรรค์การทางานสมองและจิตใจที่บริสุทธิ์จะ ถูกบั่นทอนลง ขาดความยั้ง 3.3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในปัจจุบันสังคมไทยได้รับเอาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาปฏิบัติในการดาเนิน ชีวิต เช่น การแต่งกาย ความสัมพันธ์ทางเพศ สิ่งของล่อตาล่อใจ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการลักขโมย 3.4 ความเสื่อมทรามทางศีลธรรม ปัจจุบันสังคมไทยมีวัฒนธรรมทางวัตถุเจริญล้าหน้ากว่าวัฒนธรรมทาง จิตใจ ฉะนั้นผู้ที่ขาดการอบรมทางจิตใจจึงประกอบการลักขโมยเพื่อแสวงหาวัตถุอันเป็นสิ่งปรารถนา 3.5 ค่านิยมที่ผิด เช่น การเป็นนักเลงโตสร้างกลุ่มอิทธิพลอานาจการขัดแย้งในค่านิยม ของมีค่ามีอยู่จากัด แต่มีผู้ต้องการมากจึงต้องแข่งขันต่อสู้ช่วงชิงกันเมื่อมีความต้องการรุนแรงไม่มีความชอบธรรมจะได้มา ก็ ฉ้อโกง ลัก ปล้น 3.6 สภาพครอบครัว เป็นสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลกระตุ้นให้บุคคลกลายเป็นบุคคลมีปัญหาได้เช่น ครอบครัว ที่ยากจน ครอบครัวที่บิดามารดายั่วยุให้เด็กกระทาผิด 3.7 สภาวะเศรษฐกิจฝืดเคือง ปัจจุบันค่าครองชีพสูงขึ้นเรื่อยๆ และจะเป็นปฏิภาคกลับกับค่าของเงิน คือ ค่า ของเงินลดลงทาให้สินค้ามีราคาสูงขึ้นรายได้ไม่พอกับรายจ่าย บุคคลบางประเภทจาต้องดิ้นรนต่อสู้ด้วยการ ลักขโมยหาเงินโดยทางผิดกฎหมาย1.การว่างงาน ผู้ที่ว่างงานทาย่อมขาดรายได้สาหรับดารงชีวิต ทาให้ สภาพจิตใจและอารมณ์ไม่ปกติ ส่วนผู้ที่ว่างงานที่อยู่ในชนบท มักใช้เวลาว่างไปในทางอบายมุขเที่ยวเตร่ ดื่ม สุรา เล่นการพนัน การว่างงงานจึงทาให้ขาดรายได้เลี้ยงชีพเป็นสาเหตุหนึ่งที่เป็นชนวนให้เกิดการลักขโมย
  • 13. 8 บทที่4 ผลกระทบจำกกำรลักขโมย 4.1ผลกระทบต่อบุคคล - ถูกทาร้ายร่างกายทาให้เกิดการบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต - สภาพของจิตใจถูกกระทบกระเทือน มีความวิตกกังวล ซึมเศร้า เหม่อลอย ขาดสมาธิ - เกิดความสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร - เกิดการเลียนแบบผู้กระทาความรุนแรง - สูญเสียทรัพย์สิน - ไม่มีเงินในการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น จ่าค่ารถ ซื้อของ - อาจทาให้โดนฉ้อโกง เนื่องจากหลักฐานโดนขโมย จึงทาให้ผู้ไม่หวังดีใช้ช่องโหว่นี้ในการทามาหา กินอีก - โดนหลอกให้กู้หนี้ยืมสิน ต้องจ่ายดอกเบี้ยราคาโหด 4.2ผลกระทบต่อครอบครัว - ครอบครัวแตกแยก มีปัญหาความสัมพันธ์ภายในครอบครัว เกิดการเป็นม่าย หรือกาพร้าขาดบิดา มารดา - เกิดความยากจนและว่างงาน เพราะบิดามารดาต้องหยุดงานหรือไม่มีงานทา ทาให้ครอบครัวขาด รายได้ - สูญเสียเครื่องมือในการประกอบอาชีพที่สาคัญ - ทาให้อาจโดนฉ้อโกง เนื่องจากโดนขโมยหลักฐานหรือทรัพย์สินไป - ต้องกู้หนี้ยืมสิน เพื่อมาใช้สอยในชีวิตประจาวัน 4.3ผลกระทบต่อสังคม - สังคมเดือดร้อน เกิดความหวาดระแวง ขาดความสงบสุข ประเทศขาดความมั่นคงและความ ปลอดภัย - สิ่งแวดล้อมในสังคมไม่ปลอดภัย มีปัญหาอาชญากรรม การจลาจล การลอบทาร้าย การก่อการ ร้าย โดนลูกหลง เป็นต้น - เกิดการลักขโมยในโรงเรียน เพราะวัตถุนิยม อยากได้อยากมีในสิ่งที่เราไม่มี - มีปัญหาเศรษฐกิจ รวมทั้งมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศ
  • 15. 10 บทที่ 5 แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ 1) รู้ซึ้งถึงบทลงโทษของการลักขโมย 2) รณรงค์ให้เยาวชนห่างไกลจากยาเสพติด 3) ไม่หลงไปกับวัตถุนิยมต่าง ๆ 4) ปลูกฝังความคิดให้เด็กว่าการลักขโมยมันไม่ดี 5) สอนให้เด็กรู้จักความพอดีไม่ โลภมาก 6) ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด 7) อยู่อย่างพอเพียง 8) ติดป้ายรณรงค์ห้ามเรื่องการลักขโมย 9) สอนให้ทุกคนอยู่ในศีล ๕ 10) ทาอาชีพสุจริต ไม่ไปลักขโมย 11) ใช้ของให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าที่สุด 12) รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ไม่เบียดเบียนผู้อื่น
  • 16. 11 บรรณำนุกรม สถาบันเผยแผ่ข้อมูลอาลุลบัยตุ(อ.).2559.การขโมย.(ออนไลน์).แหล่งที่มา. : http://quran.al-shia.org/th/ahlulbayt-quran/065.htm. 15 กันยายน 2559 ไม่ปรากฏชื่อ.2559.ลักษณะการกระทาอย่างไร เป็นความผิดฐานลักทรัพย์.(ออนไลน์). แหล่งที่มา. : http://www.lawyerthai.com/articles/law/012.php. 15 กันยายน 2559 ตารวจมวลชนสัมพันธ์.2559.กฎหมายความผิดเกี่ยวกับทรัพย์.(ออนไลน์).แหล่งที่มา. : http://masspolicenews.com/index. 15 กันยายน 2559 นางสาว เกษร อิ่มสุข และคณะ.2559.สาเหตุการลักทรัพย์.(ออนไลน์).แหล่งที่มา. : https://sites.google.com/site/bv540402/home/pag. 15 กันยายน 2559
  • 18. 13 ภาพที่1.4 งาน #ก ภาพที่ 1.5 งาน#ก ภาพที่ 1.6 งาน #ก
  • 19. 14 ภาพที่ 1.7 งาน #ก ภาพที่ 1.8 งาน #ก ภาพที่ 1.9 งาน #ก
  • 20. 15 ภาพที่ 2.0 งาน #ก ภาพที่ 2.1 งาน #ก ภาพที่ 2.2 งานย่อย 4
  • 21. 16 ภาพที่ 2.3 งานย่อย 8 ภาพที่ 2.4 งานย่อย 8
  • 22. 17 ภาพที่ 2.5 งานย่อย 8 ภาพที่ 2.6 งานย่อย 8
  • 23. 18 ชื่อและภำพผู้จัดทำ 1. นางสาว กานต์สินี สังเมียน ม.5/2 เลขที่ 23 2. นางสาวสุวลักษณ์ พุธมนต์ม.5/2 เลขที่ 26
  • 24. 19 3. นางสาวชลันทร สัตยชิติ 4. นางสาวบุษกร เรืองโรจน์ ม.5/2 เลขที่ 28