SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
โลกของเรา
(โครงสร้ างและส่ วนประกอบ)
1.1 โครงสร้ างภายในของโลก
• ข้อมลพื ้นฐานที่ได้จากการศกษาสํารวจโดยตรงนี ้ ประการแรกคือ ทําให้
      ู                     ึ
  ทราบความเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิตามความลึกของโลก
  (Geothermal Gradient) ที่มีคาอยูในช่วงประมาณ 20 –
                                        ่ ่
  25 องศาเซลเซียส ( °C) ตอความลก 1000 เมตร หรื อประมาณ
                              ่       ึ
  20 – 25 °C ตอ 1 กิโลเมตร และทราบว่าภายใต้ ผิวโลกลงไปมีหิน
                     ่
  หลอมเหลวเกิดขึ ้นได้ โดยความร้ ูจากกระบวนการระเบดของภเู ขาไฟ
                                                    ิ
ตารางท่ี 1.1 โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก
        ชั้นโครงสร้ าง                    ส่ วนประกอบทางเคมี                          สถานะ
บรรยากาศ (Atmosphere)        N2 , O2 , H2O , CO2 และ ก๊าซเฉื่อย       ก๊าซ

ชีวภาพ (Biosphere)           H2O , อินทรี ยสาร , และ วัสดุโครงสร้าง   ของแข็งและของเหลว ที่มีสภาพเป็ น
                             กระดูก                                   คอลลอยด์
อุทกภาค (Hydrosphers)        น้ าเคม น้ าจืด หิมะ และน้ าแขง
                                ํ ็ ํ                   ํ ็           ของเหลว (บางส่ วนเป็นของแขง)
                                                                                                ็

ธรณีภาค (Lithosphere)
 - เปลือกโลก                 แร่ ซิลิเกตทัวไป
                                          ่                           ของแขง
                                                                           ็
 - เนื้อโลกส่ วนบนสุ ด

ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)
  - เนื้อโลก (mantle)        แร่ ซิลิเกต ประเภท โอลิวน และ
                                                     ี                ของแขง
                                                                           ็
                             ไพรอกซี น หรื อในรู ปโครงสร้างอื่นๆ
                             ที่ความดันสูง
 - แก่นโลก (core)            โลหะผสมเหล็ก - นิกเกิล                   แก่นโลกชั้นนอกเป็ นของเหลว
                                                                      แก่นโลกชั้นในเป็ นของแข็ง
ถ้าพิจารณาส่ วนเปลือกแข็งของโลกที่เรี ยกว่า “ธรณีภาค”
(Lithosphere) ดังตารางที่ 1.1 โดยอาศัยเทคโนโลยีการขุดเจาะ
ในปั จจุบน ที่สามารถเจาะสํารวจได้ลึกสุ ดในช่วงไม่เกิน 10
         ั
กิโลเมตร จากผิวโลก พบว่าองค์ประกอบส่ วนใหญ่เป็ นหิ น
                                         ่ ้
อัคนี และหิ นแปร โดยมีหินชั้นประกอบอยูนอยมาก สามารถ
จําแนกตามประเภทและชนิดของหิ นโดยประมาณ พบเป็ นหิ น
อคนี 95% หิ นดินดาน 4% หิ นทราย 0.75% หิ นปูน 0.25%
  ั
โดยรวมหิ นแปรไว้ในหิ นต้นกําเนิดเหล่านี้แล้ว
ความรู ้เหล่านี้ศึกษาได้โดยตรงและเห็นได้จริ งบนส่ วนเปลือก
แข็งของโลก ตามความลึกที่สามารถกระทําได้ แต่ที่ระดับ
ความลึกมากกว่านี้จะเป็ นอย่างไรนั้น เราไม่สามารถศึกษาโดย
วิธีตรงได้ จึงจําเป็ นต้องหาข้อมูลโดยวิธีการศึกษาทางอ้อม
ได้แก่วธีทางธรณี ฟิสิ กส์ ซึ่ งอาศัยคลื่นไหวสะเทือน (Seismic
        ิ
Waves) ที่สร้างขึ้น หรื อคลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหว
(Earthquakes) ที่เกิดตามธรรมชาติตลอดจนวิธีศึกษาหา
ความรู ้จากวัตถุที่มาจากนอกโลกเช่น อุกกาบาต (Meteorites)
เป็ นต้น
วิธีทางธรณี ฟิสิ กส์ จัดเป็ นวิธีการศึกษาโดยอ้อมที่ให้ขอมูล
                                                       ้
โครงสร้างภายในของโลกไดมากที่สุด โดยอาศัยคลื่นไหวสะเทือน
                                 ้
ในทางทฤษฎีถาสมมุติฐานว่า หากภายในโลกมีความเป็ นเนื้ อ
                 ้
เดียวกันโดยตลอด คลื่นไหวสะเทือนที่ส่งผ่านลงไปภายในโลกจะ
มีความเร็ วคงที่และเดินทางเป็ นเส้นตรงผ่านตลอด (ภาพที่ 1.1-ก )
แต่ตามทฤษฎีแล้ววัสดุจะถูกกดทับด้วยแรงดันสู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง
และสมํ่าเสมอเมื่อระดับลึกเพิ่มขึ้น จึงทําให้คลื่นไหวสะเทือนเดิน
ทางผ่านด้วยความเร็ วเพิ่มขึ้นทีละน้อยตามการเพิมขึ้นของแรงดัน
                                                 ่
                                                     ่
เส้นทางเดินของคลื่นจึงเบี่ยงเบนเล็กน้อยและทะลุผานวัสดุไป
อย่างต่อเนื่อง (ภาพที่ 1.1-ข)
ข
                     ก


ภาพท่ ี 1.1 (ก) เส้ นทางเดินของคลื่นเป็ นเส้ นตรงเมื่อผ่านตัวกลางเนื ้อเดียวกันที่ไม่มี
การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่น (ข) เส้ นทางเดินคลื่นที่มีความเร็วเพิ่มขึ ้น และ เบี่ยงเบน
เล็กน้ อยเมื่อเดินทางผ่านตัวกลางที่มีเนื ้อเดียวกันแต่มีความหนาแน่นเพิ่มขึ ้นตามความลึก
(จาก Tarbuck and Lutgens, 1993)
แต่ความเป็ นจริงไม่เป็ นเช่นนัน เนื่องจากพบว่ามีการขาดหายไปของสัญญาณคลื่นที่
                                ้
ส่งผ่านลงไปกล่าวคือ ที่ 105 องศา (มุมระหว่างจุดกําเนิดคลื่นบนผิวโลก กระทํากับแก่น
กลางของโลก และสถานีรับสญญาณคลื่น) ทังคลื่นปฐมภูมิ (P - wave) ที่เป็ นคลื่น
                              ั               ้
ตามยาว กับคลื่นทุตยภูมิ (S - wave) ที่เป็ นคลื่นตามขวาง หรื อคลื่นเฉือน หายไปทุก
                     ิ
สถานีรับคลื่นที่อยูระหว่าง 105° - 140° ไม่สามารถตรวจรับคลื่นทังสองชนิดได้ จะ
                  ่                                               ้
ตรวจรับสัญญาณคลื่นได้ อีกครังที่ 140° ขึ ้นไป แต่จะตรวจรับได้ เฉพาะคลื่นตามยาว
                                  ้
เท่านัน ส่วนคลื่นทุติยภูมิสญญาณเบามากจนไม่สามารถรับสัญญาณได้ (ภาพที่ 1.2)
      ้                     ั
ก




    ภาพที่ 1.2 (ก) แสดงสัญญาณคลื่นขาดหายไป
    บริเวณบอดคลื่นปฐมภมิ (ข) แสดงบริเวณบอด
                          ู
    คลื่นทุติยภมิ(จาก Tarbuck and Lutgens, 1993)
               ู
ข
แสดงว่าคลื่นคงต้องเดินทางไปกระทบกับผิวสัมผัสระหว่างชั้น
(Interfaces) ที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน แล้วเกิดการหักเหคลื่นไป
ปรากฏอีกครั้งที่ 140° เรียก บริเวณบอดคล่ืนช่วง 105° - 140° น้ ีวา ่
“บริเวณบอดคลืนปฐมภูม” (P - Wave Shadow Zone) ดงภาพท่ี 1.2 ก และ
                   ่      ิ                               ั
เรียกบริเวณหลง 105° ทั้งหมดเป็ น “บริเวณบอดคลืนทุตยภูม” (S -
                 ั                                   ่ ิ ิ
Wave Shadow Zone) ดงภาพท่ี 1.2 ข ผวสมผสระหวางช้ นท่ีสะทอน
                               ั             ิ ั ั          ่ ั         ้
และหกเหคล่ืนดงกล่าว อยท่ีระดบความลึกเท่าใด ใชวธีการตรวจวดจาก
       ั             ั      ู่   ั                  ้ิ              ั
เวลาเดินทางสะท้อนกลับของคลื่นมายังสถานีรับสัญญาณ ดังการทดลอง
ระเบิดนิวเคลียร์ท่ีเนวาดา สหรัฐอเมริกา ซ่ ึงวางชุดเคร่ื องตรวจรับสญญาณั
คล่ืนไหวสะเทือน ไวท่ีมลรัฐมอนตานา (ภาพท่ี 1.3)
                       ้
ภาพที่ 1.3 การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ และตรวจวัดเวลาเดินทางของคลื่นเพือคํานวณ
                                                                    ่
ความลึกของผวสะทอนคลื่น ทาใหตรวจพบผวสะทอนเพิ่มข้ ึนอีกหน่ ึงช้ น ระหวางแก่นโลก
             ิ   ้         ํ ้          ิ    ้                ั       ่
 ชั้นในกับแก่นโลกชั้นนอก (จาก Tarbuck and Lutgens, 1993)
ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทางด้านธรณี ฟิสิ กส์เหล่านี้ สามารถนํามาสร้าง
แบบจําลองทางทฤษฎี แสดงการกระจายลักษณะความเร็ วคลื่นตามความลึก ดัง
ภาพที่ 1.4 ซึ่งเดิมที นายบูลเลน (Bullen, 1949) ได้แบ่งชั้นโครงสร้างภายในของ
โลกตามการเปลี่ยนแปลงความเร็ วคลื่น โดยกําหนดอักษรแทนแต่ละชั้นต่างๆ
ดงกล่าวเป็นช้ น A B C D E F และ G จากผิวโลกถึงแก่นโลกตามลําดับ แต่
    ั           ั
ปัจจุบนนิยมใชคาสื่อความหมายแทน เป็นช้ นเปลือกโลก (Crust) ช้ นเน้ือโลก
       ั          ้ ํ                       ั                     ั
(Mantle) ช้ นแก่นโลก (Core) เป็ นต้น จากแบบจําลองภาพตัดขวางความเร็ วตาม
            ั
ความลึกดังกล่าว พบว่าที่ความลึก 100 กิโลเมตร ความเร็ วคลื่นลดลงอย่าง
เด่นชด จดเป็นช้ นผวขอบบนของช้ นที่มีความเร็วคลื่นไหวสะเทือนต่า (Low
      ั ั           ั ิ            ั                                ํ
Velocity Zone) โดยในชั้นเนื้อโลกส่ วนบนนี้ยงพบความเบี่ยงเบนความเร็ วคลื่น
                                              ั
ชดเจนไดอีกที่ระดบ 400 และ 650 หรื อ 700 กิโลเมตร ซึ่ งเชื่อว่าเป็ นผลจากความ
  ั       ้           ั
แปรเปลี่ยนโครงสร้างของแร่ หรื อองค์ประกอบทางเคมี มีความแตกต่างกันอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง
ภาพที่ 1.4 ลกษณะความแปรปรวนความเร็วของคลื่นปฐมภมิ และคลื่นทุติยภมิตามความลึก
            ั                                     ู              ู
       ํ
ท่ีใช้กาหนดช้ นโครงสร้างภายในของโลก (ปรับแปลงจาก Tarbuck and Lutgens, 1993)
              ั
คลื่นปฐมภูมิ และคลื่นทุติยภูมิมีความเร็ วลดลงชัดเจนมากสุ ดที่ระดับ 2,885
กิโลเมตร (~ 2,900 กิโลเมตร) เป็นผวสะทอน/หกเหคลื่นที่ใชกาหนดช้ นรอยต่อ
                                      ิ     ้ ั                ้ ํ     ั
ระหว่างแก่นโลกกับเนื้อโลก และพบว่าคลื่นทุติยภูมิไม่สามารถส่ งผ่านตัวกลาง
ที่มีสถานะของเหลวของช้ นแก่นโลกช้ นนอกโดยคลื่นปฐมภูมิมีความเร็วลดลง
                           ั             ั
จนกระทงเคลื่อนที่เขาสู่ แก่นโลกช้ นใน ความเร็วคลื่นปฐมภูมิจึงเพิ่มข้ ึนอีกคร้ ัง
         ั่         ้               ั
(ภาพที่ 1.4) สามารถสรุปลกษณะของแต่ละช้ นภายในโลกไดดงนี้
                             ั                ั                 ้ั
 1. เปลือกโลก (Crust) นับจากผิวโลกถึงระดับเฉลี่ย 30 - 50 กิโลเมตร บริ เวณ
เปลือกทวีป หรื อถึงระดับ 10 - 12 กิโลเมตร ในบริเวณเปลือกrnhoสมุทร มี
ผิวสัมผัสกั้นความไม่ต่อเนื่องระหว่างชั้นเปลือกโลกกับชั้นเนื้อโลกที่อยูขางล่าง
                                                                         ่ ้
เป็นช้ นความไม่ต่อเนื่องที่เรียกวา “ชั้ นความไม่ ต่อเนื่องโมโฮโรวิซิก”
       ั                         ่
                                                                 ่
(Mohorovicic Discontinuity) หรื อเรี ยกโดยย่อว่า ชั้น โมโฮ อยูที่ระดับความลึก
ดังกล่าวข้างต้น โดยเปลี่ยนแปลงไปตามความลึกของเปลือกโลกดังกล่าว
2. ชั้นเนือโลกส่ วนบน (Upper Mantle) อยูใต้ช้ นเปลือกโลกลงไปถึงระดับ 400 กิโลเมตร
             ้                                    ่ ั
พบวามีความแปรปรวนทางความเร็วคลื่นไหวสะเทือนอยางมาก แสดงความไม่เป็นเน้ือเดียวกน
       ่                                                   ่                                    ั
อย่างกว้างขวาง (Regional Heterogeneous) ทั้งทางดิ่งและทางราบ พบบริ เวณที่ความเร็ วคลื่น
ไหวสะเทือนตํ่า บางช่วงภายในชั้นนี้ ที่ระดับความลึกในช่วง 100 - 250 กิโลเมตร จากผวโลก     ิ
3. ชั้นทรานซิชัน (Transition Zone) อยระหวางความลึก 400 - 1000 กิโลเมตร สังเกต
                                             ู่    ่
ได้จากกราฟความเร็ วที่มีความชันเพิ่มขึ้น ซึ่ งแสดงว่ามีความเร็ วสูงขึ้น ซึ่ งปัจจุบนพบว่าบริ เวณที่
                                                                                   ั
มีความเร็ วคลื่นสู งสุ ดชัดเจนที่ระดับความลึก 400 และ 650 กิโลเมตร
 4. ชั้นเนือโลกส่ วนล่ าง (Lower Mantle) นบจากระดบลึก 1,000 กิโลเมตร ถึง ระดับ
           ้                                    ั      ั
2,900 กิโลเมตร จดจําสังเกตได้จาก ชั้นนี้มีความเร็ วคลื่นปานกลาง กราฟความเร็ วคลื่นจึงเอียง
พอประมาณ และเพิ่มข้ ึนอยางค่อยเป็นค่อยไป แสดงลกษณะเทียบเคียงแลวค่อนขางเป็นเน้ือหน่ ึง
                               ่                         ั                   ้       ้
เดียวกัน (Uniform) ยกเว้นที่ระดับ 2,700 และ 2,900 กิโลเมตร อาจพบวาความเร็วคลื่นลดลง
                                                                         ่
เล็กน้อย บางครั้งเพือความสะดวก อาจนับรวมชั้นนี้และชั้นทรานซิ ชนเข้าด้วยกัน เรี ยกเป็ น “เนือ
                       ่                                              ั                           ้
โลกระดับลึก” (Deep Mantle) นันเอง ชั้นนี้ถกกั้นออกจากแก่นโลกด้วยผิวสัมผัสกั้นความไม่
                                    ่                ู
ต่อเนื่องที่เรี ยกว่า “ชั้ นความไม่ ต่อเนื่อง
กูเท็นเบิร์ก” (Gutenberg Discontinuity)
5. ชั้นแก่ นโลก (Core) นับจากระดับ 2,900 กิโลเมตร ลงไปเป็ นช่วงที่ปรากฏชั้น
ความไม่ต่อเนื่องของความเร็ วคลื่นไหวสะเทือนเด่นชัดมาก ซึ่งที่ระดับ 2,900
กิโลเมตร นี้ คลื่นปฐมภูมิลดความเร็ วลงอย่างฉับพลัน แล้วกลับเพิ่มขึ้นใหม่อีก
ครั้งขณะที่คลื่นทุติยภูมิน้ นหายไป แบ่งได้เป็ น 2 ส่วน คือ “แก่นโลกส่ วนนอก”
                            ั
(Outer Core) และ “แก่นโลกส่ วนใน” (Inner Core) โดยแยกกนไดดวยรอยไม่
                                                             ั ้้
ต่อเนื่อง “เลอห์ มานน์ ” (Lehmann Discontinuity) และเนื่องจากคลื่นทุติยภูมิไม่
สามารถเดินทางผ่านวัตถุที่เป็ นของเหลวได้ การที่ไม่ปรากฏคลื่นทุติยภูมิหลัง
ระดับ 2,900 กิโลเมตร น้ น ทาใหเ้ ชื่อไดวาแก่นโลกส่วนนอกดงกล่าวควรมี
                          ั ํ          ้่                      ั
สภาพเป็นของเหลว (Liquid Outer Core) นนเอง   ั่
จากการสํารวจโดยวิธีทางอ้อมด้วยคลื่นไหวสะเทือน ทําให้เราทราบช่วงความลึกต่าง ๆ(Depth
Regions) ภายในโลก ถ้าสามารถหาความหนาแน่น โดยวิธีอื่น ๆ ในแต่ละช่วงความลึกได้ ก็จะสามารถ
ประเมินองค์ประกอบทางเคมีของแต่ละช่วงความลึกได้เช่นกัน วิธีทางธรณี ฟิสิ กส์จดเป็ นวิธีการทางอ้อมที่
                                                                                ั
สําคัญเช่นเคย กล่าวคือทําให้เราทราบความหนาแน่นภายในโลกได้ หลายวิธีได้แก่
      1. ผลการคํานวณด้วยวิธีคลื่นทุติยภูมิผกผัน (Inversion S - wave Method) ตรวจพบว่า
      ชั้นเนื้อโลกมีความหนาแน่น 3.33 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร (gm/cc) และเปลือกโลกมีค่า 2.88 gm/cc
      2. ผลการคํานวณด้วยวิธีผกผันแบบมอนเตคาร์โล (The Monte Carlo - Inversion
      Method) พบว่าที่ช้ นเนื้อโลกในระดับลึก 350 - 400 กิโลเมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 3.41 - 3.48
                         ั
gm/cc
      3. ผลการคํานวณค่าอัตราส่ วนพัวส์ซอง (Poisson’s Ratio) ของชั้นเนื้อโลกส่ วนบนมีค่า
          ่                                 ั
      อยูระหว่าง 0.245 - 0.260 ซึ่งเทียบได้กบค่าอัตราส่ วนพัวส์ซองของแร่ ฟอร์สเตอไรต์-โอลิวน
                                                                                           ี
(Forsterite- Olivine) โดยประมาณการประมวลหา (Estimated) ความแปรปรวน (Variation) ทางด้าน ความ
ดัน อุณหภูมิ และความหนาแน่นภายในโลก จากการเปลี่ยนแปลงความเร็ วคลื่นไหวสะเทือนดังกล่าว แสดง
ไว้ดงภาพที่ 1.5
    ั
ภาพที่ 1.5 (ก) ผลการประมวลหา ค่าความแปรปรวนทางอุณหภมิ (ข) ความหนาแน่น และ
                                                           ู
ความดันที่แปรเปลี่ยนตามความลึก (จาก Jacobs et al., 1974 ; Bullen , 1979)
1.2 ส่ วนประกอบทางเคมีของโลก (Chemical Composition)
         โดยการประเมินทางออม จากวธีทางธรณีฟิสิกส์ ทาใหเ้ ราทราบโครงสร้างภายในของ
                                 ้        ิ             ํ
         โลก และค่าความแปรปรวนทางความดนอุณหภูมิ และความหนาแน่นแลวน้ น ปัญหาเรื่อง
                                              ั                             ้ ั
องคประกอบทางเคมีของแต่ละช้ นใตเ้ ปลือกโลกลงไปเป็นอยางไร ยงคงตองหาคาตอบกนต่อไป
       ์                              ั                       ่    ั ้          ํ    ั
ซ่ ึ งส่วนใหญ่ไดขอมูลจากวธีการศึกษาทางออมเช่นเดียวกน โดยเฉพาะอยางยง การศึกษาโดย
                    ้ ้        ิ            ้             ั            ่ ิ่
ทางออมจากวตถุที่มาจากนอกโลก (Extraterrestial ; E.T.) ได้แก่การประเมินเทียบเคียงจาก
          ้       ั
อุกกาบาต (Meteorites) เป็ นต้น
         ผลการคานวณองคประกอบทางเคมีรวมของโลก (Bulk Composition) แสดงได้ดงตารางที่
                ํ            ์                                                     ั
1.2 ซ่ ึ งจะเห็นไดวาองคประกอบรวมของโลกน้ น มีธาตุหลก ๆ อยู่ 4 ตัว เท่านั้น คือ ธาตุเหล็ก
                        ้่ ์                      ั         ั
                                                       ั ้
ออกซิเจน ซิลิกอน และแมกนีเซียม ซ่ ึ งมีปริมาณรวมกนแลวมากถึง 90% ของท้ งหมด   ั
โดยประมาณ ส่ วนธาตุที่มีปริ มาณเกิน 1% ไดแก่ นิกเกิล แคลเซียม อลมิเนียม และกามะถน
                                                ้                   ู             ํ ั
                                   ู่   ่
(ซัลเฟอร์ ) ที่เหลือมีปริมาณอยระหวาง 0.1 - 1.0% มีท้ งหมด 7 ธาตุ คือ โซเดียม โพแทสเซียม
                                                     ั
โครเมียม โคบอลต์ ฟอสฟอรัส แมงกานีส และไทเทเนียม
ตารางที่ 1.2 ผลการคํานวณส่ วนประกอบมวลรวมของโลก
(จาก Ganapathy and Anders, 1974)
         ธาตุ      โลหะ    ทรอยไลต์   ซิลิเกต    รวม
       เหล็ก       24.58     3.37      6.68     34.63
      นิกเกิล       2.39                         2.39
     โคบอลต์        0.13                         0.13
      ซัลเฟอร์               1.93                1.93
     ออกซิเจน                         29.53     29.53
      ซิลิกอน                         15.20     15.20
    แมกนี เซี ยม                      12.70     12.70
     แคลเซี ยม                         1.13      1.13
    อะลูมิเนี ยม                       1.09      1.09
      โซเดียม                          0.57      0.57
     โครเมียม                          0.26      0.26
    แมงกานีส                           0.22      0.22
    ฟอสฟอรัส                           0.10      0.10
   โพแทสเซี ยม                         0.07      0.07
    ไทเทเนี ยม                         0.05      0.05
        รวม        27.10     5.30     67.60     100.00
้่
     จึงเห็นไดวาโลกของเราประกอบข้ ึนดวยธาตุ 14 - 15 ธาตุ หลัก
                                              ้
เท่านั้น ที่เหลือเป็ นธาตุที่มีปริ มาณน้อยมาก คือตํ่ากว่า 0.1% ทั้งหมดนี้
เป็ นองค์ประกอบของชั้นเนื้อโลกกับชั้นแก่นโลกถึง 99% เน่ืองจากมวล
ของเปลือกโลกน้อยมาก เมื่อเทียบกับเนื้อโลกและแก่นโลกรวมกัน
(ตารางท่ี 1.3)
     องค์ประกอบรวมเหล่านี้ สามารถคํานวณแยก เป็ นส่ วนๆ ตาม
โครงสร้างของโลกไดเ้ ป็นองคประกอบช้ นเน้ือโลก (ตารางท่ี 1.4)
                                    ์       ั
องค์ประกอบเปลือกโลก (ตารางท่ี 1.5) ส่ วนแก่นโลกนั้นหาได้โดยเอา
องคประกอบของเปลือกโลกและเน้ือโลก หกลบออกจากองคประกอบ
     ์                                          ั                 ์
รวมน้ นเอง ซ่ ึ งสรุปองคประกอบส่วนต่าง ๆ ของโลกไดดงน้ ี
        ั                 ์                                 ้ ั
1.2.1 องค์ ประกอบของแก่นโลก
    แนวคิดที่วาแก่นโลกเป็นโลหะผสมระหวาง นิกเกิลกบเหลก (Ni - Fe
                ่                            ่         ั ็
Metallic Alloy) น้ นยงคงเป็นที่ยอมรับกนถึงปัจจุบน แต่คงไม่ใช่นิกเกิลกบเหลก
                    ั ั                   ั        ั                   ั ็
บริสุทธ์ ิลวนๆ เนื่องจากแก่นโลก ช้ นนอกมีธรรมชาติเหมือนจะเป็นของไหล
             ้                        ั
(Fluid) เนื่องจากคลื่นทุติยภูมิไม่สามารถเดินทางผานได้ ถาเป็นนิกเกิลและเหลก
                                                 ่      ้                 ็
ล้วน ๆ ทั้งหมดความหนาแน่นรวมของโลกจะมีค่าสู งมากเกินไป ดังนั้นจึงควรจะ
มีธาตุเบากว่านี้มาประกอบกันอยูบาง โดยธาตุที่น่าเป็ นไปได้มีอยู่ 2 ตว คือ
                                  ่ ้                              ั
กํามะถันกับออกซิเจน ซึ่งบางกลุ่มก็เชื่อว่าน่าจะเป็ นออกซิเจนมากกว่ากํามะถัน
แต่ปัจจุบนเราพบมลทินของกามะถนในอุกกาบาตไดบ่อยกวาออกซิเจน โดยพบ
           ั                    ํ ั                  ้     ่
ในอุกกาบาตชนิด ซี - 1 คอนไดรต์ (C1 Chondrite Meteorite) เป็ นปริ มาณถึง
                                                             ํ
ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนัก ซึ่งปริ มาณ 10 เปอร์เซ็นต์กามะถันดังกล่าวนี้
ถารวมกนกบโลหะผสมนิกเกิล เหลก แลวจะทาใหค่าความหนาแน่นของแก่น
  ้       ั ั                           ็ ้    ํ ้
โลก และความหนาแน่นรวมถูกต้องใกล้เคียงพอดี
1.2.2 องค์ ประกอบของเนือโลก   ้
      จากแนวคิดที่วาส่วนของแก่นโลกเป็นโลหะผสมน้ น องคประกอบของช้ นเน้ือโลก
                       ่                                  ั      ์             ั
(ตารางที่ 1.4) จึงเชื่อวา น่าจะตองเบากวา จึงควรประกอบข้ ึนดวยองคประกอบซิลิเกต
                         ่       ้          ่                      ้    ์
(Silicate Composition) เป็ นหลัก
      จากผลการวเิ คราะห์ทางคลื่นไหวสะเทือน เราทราบวาช้ นเน้ือโลกส่วนบนคอนขางจะมี
                                                            ่ ั                    ่ ้
ความแปรปรวนทางองคประกอบอยางมากไม่เป็นเน้ือหน่ ึ งเดียวกน ดงน้ นองคประกอบซิลิ
                             ์           ่                           ั ั ั       ์
เกตดงกล่าวของช้ นเน้ือโลกเป็นอยางไรกนแน่ ตองอาศยหลกฐานจากหลาย ๆ ทางเขามา
      ั            ั                 ่        ั   ้      ั ั                           ้
อธิบายในธรรมชาติเราพบวสดุที่เชื่อวามีกาเนิดมาจากส่วนลึกใตเ้ ปลือกโลกหลายอยางเช่น
                               ั           ่ ํ                                       ่
โนดูล์ (Nodules) ของหิ นอื่น ๆ ในสายแร่คิมเบอร์ ไลต์ (Kimberlite pipe) หรือพบหิน
แปลกปลอม (Xenolith) ในหิ นบะซอลต์ (Basalt) เป็ นต้น หิ นแปลกปลอมเหล่านี้ มักเป็ นหิ น
อัคนีสีเข้มจัด (Ultrabasic rocks) ได้แก่ เพริ โดไทต์ (Peridotite) เลอร์โซไลต์ (Lherzolite)
ไพรอกซี ไนต์ (Pyroxenite) และ เอโคลไจต์ (Eclogite) เป็นตน วสดุปลอมปนหรือหิน
                                                               ้ ั
เหล่าน้ ีมกประกอบไปดวยแร่โอลิวน (Olivine) ไพรอกซี น (Pyroxene) การ์ เนต (Garnet)
          ั                ้           ี
และอาจจะมีแร่นิล (Spinel) แร่แอมฟิโบล (Amphiboles) ประกอบอยบางส่วน        ู่
ที่สาคัญก็คือแร่ ประกอบหิ นแปลกปลอมเหล่านี้พบว่ามีเสถียรภาพภายใต้
          ํ
อุณหภูมิ ความดัน สูงถึง 1,300 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 41 กิโลบาร์ (Kbars)
หรื อประมาณที่ความลึก 135 กิโลเมตร ซ่ ึ งอยในช่วงของช้ นเน้ือโลกส่วนบนที่
                                              ู่           ั
                                                         ่
ช่วงโซนคลื่นความเร็ วตํ่าพอดี และแร่ เหล่านี้ยงพบว่ามีคาความหนาแน่นลงตัว
                                                   ั
เหมาะเจาะกับผลทางธรณี ฟิสิ กส์ที่กล่าวมาแล้ว คือมีค่าประมาณ 3.33 ถึง 3.40
กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
     สิ่ งที่น่าสนใจอีกประการก็คือ ที่ระดับลึก 100 - 150 กิโลเมตร นั้น เราพบช่วง
ความเร็ วตํ่าของคลื่นไหวสะเทือน ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากการหลอมตัวบางส่ วน
(Partially Melting) ประมาณ 1 เปอร์เซนต์ จากวัสดุที่มีองค์ประกอบซิลิเกต
   ้ ้                              ั ั
เขมขนกลายเป็นหินหนืด เมื่อรวมตวกนมากข้ ึน อาจจะยกตวแทรกตดช้ นหิน
                                                               ั     ั ั
เปลือกโลกขึ้นมาเป็ นลาวาของหินบะซอลต์ วสดุที่หลอมตวไม่หมดหรือหลอม
                                                 ั           ั
ไม่ได้อาจถูกอุมขึ้นมาด้วย
                  ้
ตารางที่ 1.3 มวล ปริ มาตร และอื่นๆ ของชั้นโครงสร้างโลก
           ช่วงชั้นต่างๆ
       โครงสร้าง/ช่วงช้ัน     ความลก ึ     ความหนา         ปริมาตร         ความหนาแน่นเฉลย   ่ี          มวล         สั ดส่ วนมวล         คุณลักษณ์
                            ถึงผิวสัมผัส       เฉลี่ย    (1020 เมตร3)   (กรัม /ลกบาศก์เซนตเิ มตร)
                                                                                ู                   (1023 กโลกรัม)
                                                                                                           ิ              (%)
                            (กโลเมตร)
                               ิ           (กโลเมตร)
                                             ิ
ช้ น
   ั                                                                                                  0.000051         0.00008
บรรยากาศ

                                             3.75          0.0138                 1.02                 0.0141           0.024
0
ชั้นนํ้า
                      A                        17          0.1021                 2.80                  0.286           0.48         ไม่เป็นเน้ื อเดียวกน
                                                                                                                                                        ั
5-33*
ช้ นเปลือก
   ั
โลก
                      B                                                                                                              ไม่เป็นเน้ื อเดียวกน
                                                                                                                                                        ั
984                   C                      2883           9.00                  4.50                  40.16           67.10           ช่วงคาบเกี่ยว
2898
413                   D                                                                                                             น่าจะเป็ นเนื้ อเดียวกัน
 ชั้นแมนเทิล
                       E                                                                                                                               ั
                                                                                                                                    ของเหลวเน้ื อเดียวกน
    6371               F                     3473           1.76                 11.00                  19.36           32.40           ช่วงคาบเกี่ยว
จุดศูนย์กลาง
5121                  G                      (รัศมี)                                                                                   แก่นในของแข็ง
4892
ชั้นแก่นโลก

      รวม                                    6371           10.83                 5.52                  59.76          100.00

                                   * ความหนาเปลือกทวีปเฉลี่ย 33 กิโลเมตร และเปลือกสมุทรเฉลี่ย 5 กิโลเมตร
ตารางท่ี 1.4 ผลคานวณร้อยละขององคประกอบช้ นเน้ือโลก
                 ํ               ์        ั
สารประกอบ             จากอุกกาบาต              แบบจําลองไพโรไลต์   จากหินเลอร์ โซไลต์

 ออกไซด์    (Mason,1966)   (Ring wood, 1966)   (Ring wood, 1966)   (Hutchison,1974)
   Sio2         48.1              43.2                45.2               45.0
  MgO           31.1              38.1                37.5               39.0
   FeO          12.7               9.2                8.0c                8.0
  Al2O3          3.1               3.9                 3.5                3.5
  Ca O           2.3               3.7                 3.1               3.25
  Na2O           1.1               1.8                0.57               0.28
  Cr2O3          0.55                 -               0.43               0.41
  MnO            0.42                 -                .14               0.11
  P2O5           0.34                 -               0.06                 -
   K2O          0.12                  -               0.13               0.04
  TiO2           0.12                 -               0.17               0.09
   NiO              -                 -                 -                0.25
ส่วนท่ีระดบลึก 400 - 900 ถึง 1,000 กิโลเมตร ซ่ ึ งเป็นช่วงชั้นท
                 ั
รานซิชน พบว่าเป็ นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง (Transform
          ั
Structure Zone) ของออร์โธรอมบิก โอลิวน ไปเป็ นโครงสร้างแบบ
                                          ี
กลุ่มแร่ นิล
     ช้ นเน้ือโลกส่วนล่าง ระดบต่อจากทรานซิชนไปถึงระดับ 2,900
        ั                    ั                ั
กิโลเมตร พบวาองคประกอบค่อนขางเป็นเน้ือหน่ ึงเดียวกน ซ่ ึ ง
                   ่ ์              ้                      ั
ประกอบด้วยธาตุเหล็กในปริ มาณที่มากขึ้นกว่าชั้นเนื้อโลกส่ วนบน
และเป็ นของผสมระหว่างแร่ ที่มีองค์ประกอบเป็ นเหล็ก - แมกนีเซี ยม
ซิลิเกต (Mg - Fe) SiO3 กับเหล็ก - แมกนีเซียมออกไซด์ (Mg - Fe)O
และยังคงพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแร่ ตามความลึก
เช่นเดียวกบชั้นทรานซิชน
              ั           ั่
1.2.3 องค์ประกอบของเปลือกโลก
เปลือกโลกเป็นส่วนเดียวท่ีเราศึกษาไดจากวธีตรง ซ่ ึ งผลการวเิ คราะห์
                                       ้ ิ
หิ นทัวโลกพบว่ามีองคประกอบทางเคมีของส่วนเปลือกทวปกบเปลือก
      ่                   ์                             ี ั
สมุทร (ตารางท่ี 1.5) เป็นหินซิลิเกตทวไป (Normal Silicate Rocks)
                                    ั่
โดยส่ วนเปลือกทวีปมีองค์ประกอบซิ ลิเกตที่มากด้วยซิ ลิกอน (Si) กบั
อลูมิเนียม (Al) ซ่ ึ งเป็นองคประกอบแบบหินแกรนิต จึงเรียกเปลือก
                             ์
         ่
ทวีปนี้วา “ไซอล” (SIAL) หรื อ “เปลือกโลกส่ วนที่มีองค์ประกอบแบบ
                   ั
หิ นแกรนิต” นนเอง
                ั่
ตารางท่ี 1.5 ผลคานวณร้อยละขององคประกอบของช้ นเปลือกโลก
                   ํ               ์           ั
สารประก   องค์ ประกอบ      เปลือก      เปลือก รวม *   เปลือก เปลือก       รวม * เปลือกทวีป เปลือกทวีป
   อบ        รวม *         สมุทร        ทวีป          สมุทร ทวีป
ออกไซด์      ( and             (Poldervaart , 1955)   (Ronov and Yaroshevskly ,    ( 1964) (Goldschm
            , 1924)                                            1976)                         idt, 1954)
 SiO2          59.1         46.6      59.4    55.2     49.4       59.3     57.1      60.3       59.2
 TiO2           1.0         2.9       1.2     1.6       1.4        0.7      0.9       1.0        0.8
 Al2O3         15.2         15.0      15.6    15.3     15.4       15.0     15.0      15.6       15.8
 Fe2O3          3.1         3.8       2.3     2.8       2.7        2.4      2.5        -         3.4
  FeO           3.7         8.0       5.0     5.8       7.6        5.6      6.0   7.2 (เหล็ก     3.6
                                                                                    รวม)
 MnO           0.1          0.2        0.1     0.2      0.3        0.1      0.2       0.1        0.1
 MgO           3.4          7.8        4.2     5.2      7.6        4.9      5.5       3.9        3.3
 CaO           5.1          11.9       6.6     8.8     12.5        7.2      8.4       5.8        3.1
 Na2O          3.7          2.5        3.1     2.9      2.6        2.5      2.5       3.2        2.1
 K2 O          3.1          1.0        2.3     1.9      0.3        2.1      1.7       2.5        3.4
 H2 O          1.3           -          -       -        -          -        -         -         3.0
 P2O5          0.3          0.3        0.2     0.3      0.2        0.2      0.2       0.2        0.2
* องค์ประกอบทั้งเปลือกโลก (Entire Crust)
ส่วนเปลือกสมุทรมีองคประกอบซิลิเกตของพวกเหลกแมกนีเซียม (Mg) กบ อลมิเนียม
                               ์                            ็                 ั ู
      และซิลิกอน จึงเรียกเปลือกสมุทรวา “ไซมา” (SIMA) ช้ นเปลือกสมุทรน้ ีแผตวต่อเนื่อง
                                            ่                     ั             ่ ั
               ั                 ี             ั      ั ่     ์         ่
ไปจนถึงช้ นรองรับเปลือกทวป ซ่ ึ งเดิมทีมกเชื่อกนวามีองคประกอบอยางหิ นบะซอลต์ จึง
                                        ่
เรี ยกว่า “เปลือกโลกมีองคประกอบอยางหิ นบะซอลต์” (Basaltic Crust) มีความถ่วงจําเพาะ
                           ์
3.0 แต่ปัจจุบนส่วนที่รองรับเปลือกทวปน้ ีเชื่อวาน่าจะมีองคประกอบคลายหินเพริโดไทต์
                 ั                        ี         ่           ์         ้
(Peridotitic Composition) ซึ่ งมี ความถ่วงจําเพาะ 3.3
      จึงสรุปโครงสร้างภายในของโลกไดดงภาพที่ 1.6 และภาพที่ 1.7 ซึ่ งสามารถจําแนก
                                              ้ ั
ตามคุณสมบัติทางวัสดุได้กว้างๆ 2 ส่วนคือ
      1. ช้ นธรณีภาค (Lithosphere) คือส่ วนที่มีคุณสมบัติเป็ นของแข็งมีความแกร่ ง (rigid
             ั
solid)นบรวมเอาส่วนเปลือกโลกถึงบางส่วนของช้ นเน้ือโลกส่วนบน ในระดบจากผิวโลก
           ั                                            ั                   ั
ถึงลึกไม่เกิน 100 กิโลเมตร
      2. ชั้นฐานธรณี ภาค (Asthenosphere) นบจากระดบประมาณ 100 กิโลเมตร ต่อจากช้ น
                                                  ั       ั                              ั
      ธรณีภาคลงไป มีสมบติพลาสติกมากข้ ึน พร้อมที่จะไหลได้ องคประกอบหลกของ
                             ั                                        ์           ั
โลก ท้ งสองส่วนน้ ี มีบทบาทอยางยงต่อการเคลื่อนที่ของมวลเปลือกโลกขนาดใหญ่ ซ่ ึ งจะ
         ั                         ่ ิ่
ได้กล่าวถึงในหัวข้อต่อไป
ภาพที่ 1.6 แสดงโครงสร้างช่วงชั้นหลัก ๆ ของโลกคือ ชั้นธรณี ภาค และชั้นฐานธรณี ภาค
(จาก Tarbuck and Lutgens, 1993)
ภาพที่ 1.7 แสดงโครงสร้างภายในของโลกที่ได้จากผลการศึกษาทั้งหมด (จาก Tarbuck and Lutgens,
1993)

More Related Content

What's hot

โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
soysuwanyuennan
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
narongsakday
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
Astronomy VI
Astronomy VIAstronomy VI
Astronomy VI
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพบทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
บทที่ 1 กำเนิดเอกภพ
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 

Similar to โลกของเรา

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
nasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
kalita123
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
Kroo Mngschool
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
smEduSlide
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
Kruanek007
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
Kruanek007
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
thanakit553
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
Peammavit Supavivat
 

Similar to โลกของเรา (20)

Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
Earth1
Earth1Earth1
Earth1
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลงโลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
โลกเเละการเปลี่ยนเเปลง
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
P12
P12P12
P12
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
คลื่นวิทยุ(ธีรวีร์+ภคพล)405
 

โลกของเรา

  • 2. 1.1 โครงสร้ างภายในของโลก • ข้อมลพื ้นฐานที่ได้จากการศกษาสํารวจโดยตรงนี ้ ประการแรกคือ ทําให้ ู ึ ทราบความเปลี่ยนแปลงทางอุณหภูมิตามความลึกของโลก (Geothermal Gradient) ที่มีคาอยูในช่วงประมาณ 20 – ่ ่ 25 องศาเซลเซียส ( °C) ตอความลก 1000 เมตร หรื อประมาณ ่ ึ 20 – 25 °C ตอ 1 กิโลเมตร และทราบว่าภายใต้ ผิวโลกลงไปมีหิน ่ หลอมเหลวเกิดขึ ้นได้ โดยความร้ ูจากกระบวนการระเบดของภเู ขาไฟ ิ
  • 3. ตารางท่ี 1.1 โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ชั้นโครงสร้ าง ส่ วนประกอบทางเคมี สถานะ บรรยากาศ (Atmosphere) N2 , O2 , H2O , CO2 และ ก๊าซเฉื่อย ก๊าซ ชีวภาพ (Biosphere) H2O , อินทรี ยสาร , และ วัสดุโครงสร้าง ของแข็งและของเหลว ที่มีสภาพเป็ น กระดูก คอลลอยด์ อุทกภาค (Hydrosphers) น้ าเคม น้ าจืด หิมะ และน้ าแขง ํ ็ ํ ํ ็ ของเหลว (บางส่ วนเป็นของแขง) ็ ธรณีภาค (Lithosphere) - เปลือกโลก แร่ ซิลิเกตทัวไป ่ ของแขง ็ - เนื้อโลกส่ วนบนสุ ด ฐานธรณีภาค (Asthenosphere) - เนื้อโลก (mantle) แร่ ซิลิเกต ประเภท โอลิวน และ ี ของแขง ็ ไพรอกซี น หรื อในรู ปโครงสร้างอื่นๆ ที่ความดันสูง - แก่นโลก (core) โลหะผสมเหล็ก - นิกเกิล แก่นโลกชั้นนอกเป็ นของเหลว แก่นโลกชั้นในเป็ นของแข็ง
  • 4. ถ้าพิจารณาส่ วนเปลือกแข็งของโลกที่เรี ยกว่า “ธรณีภาค” (Lithosphere) ดังตารางที่ 1.1 โดยอาศัยเทคโนโลยีการขุดเจาะ ในปั จจุบน ที่สามารถเจาะสํารวจได้ลึกสุ ดในช่วงไม่เกิน 10 ั กิโลเมตร จากผิวโลก พบว่าองค์ประกอบส่ วนใหญ่เป็ นหิ น ่ ้ อัคนี และหิ นแปร โดยมีหินชั้นประกอบอยูนอยมาก สามารถ จําแนกตามประเภทและชนิดของหิ นโดยประมาณ พบเป็ นหิ น อคนี 95% หิ นดินดาน 4% หิ นทราย 0.75% หิ นปูน 0.25% ั โดยรวมหิ นแปรไว้ในหิ นต้นกําเนิดเหล่านี้แล้ว
  • 5. ความรู ้เหล่านี้ศึกษาได้โดยตรงและเห็นได้จริ งบนส่ วนเปลือก แข็งของโลก ตามความลึกที่สามารถกระทําได้ แต่ที่ระดับ ความลึกมากกว่านี้จะเป็ นอย่างไรนั้น เราไม่สามารถศึกษาโดย วิธีตรงได้ จึงจําเป็ นต้องหาข้อมูลโดยวิธีการศึกษาทางอ้อม ได้แก่วธีทางธรณี ฟิสิ กส์ ซึ่ งอาศัยคลื่นไหวสะเทือน (Seismic ิ Waves) ที่สร้างขึ้น หรื อคลื่นที่เกิดจากแผ่นดินไหว (Earthquakes) ที่เกิดตามธรรมชาติตลอดจนวิธีศึกษาหา ความรู ้จากวัตถุที่มาจากนอกโลกเช่น อุกกาบาต (Meteorites) เป็ นต้น
  • 6. วิธีทางธรณี ฟิสิ กส์ จัดเป็ นวิธีการศึกษาโดยอ้อมที่ให้ขอมูล ้ โครงสร้างภายในของโลกไดมากที่สุด โดยอาศัยคลื่นไหวสะเทือน ้ ในทางทฤษฎีถาสมมุติฐานว่า หากภายในโลกมีความเป็ นเนื้ อ ้ เดียวกันโดยตลอด คลื่นไหวสะเทือนที่ส่งผ่านลงไปภายในโลกจะ มีความเร็ วคงที่และเดินทางเป็ นเส้นตรงผ่านตลอด (ภาพที่ 1.1-ก ) แต่ตามทฤษฎีแล้ววัสดุจะถูกกดทับด้วยแรงดันสู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง และสมํ่าเสมอเมื่อระดับลึกเพิ่มขึ้น จึงทําให้คลื่นไหวสะเทือนเดิน ทางผ่านด้วยความเร็ วเพิ่มขึ้นทีละน้อยตามการเพิมขึ้นของแรงดัน ่ ่ เส้นทางเดินของคลื่นจึงเบี่ยงเบนเล็กน้อยและทะลุผานวัสดุไป อย่างต่อเนื่อง (ภาพที่ 1.1-ข)
  • 7. ก ภาพท่ ี 1.1 (ก) เส้ นทางเดินของคลื่นเป็ นเส้ นตรงเมื่อผ่านตัวกลางเนื ้อเดียวกันที่ไม่มี การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่น (ข) เส้ นทางเดินคลื่นที่มีความเร็วเพิ่มขึ ้น และ เบี่ยงเบน เล็กน้ อยเมื่อเดินทางผ่านตัวกลางที่มีเนื ้อเดียวกันแต่มีความหนาแน่นเพิ่มขึ ้นตามความลึก (จาก Tarbuck and Lutgens, 1993)
  • 8. แต่ความเป็ นจริงไม่เป็ นเช่นนัน เนื่องจากพบว่ามีการขาดหายไปของสัญญาณคลื่นที่ ้ ส่งผ่านลงไปกล่าวคือ ที่ 105 องศา (มุมระหว่างจุดกําเนิดคลื่นบนผิวโลก กระทํากับแก่น กลางของโลก และสถานีรับสญญาณคลื่น) ทังคลื่นปฐมภูมิ (P - wave) ที่เป็ นคลื่น ั ้ ตามยาว กับคลื่นทุตยภูมิ (S - wave) ที่เป็ นคลื่นตามขวาง หรื อคลื่นเฉือน หายไปทุก ิ สถานีรับคลื่นที่อยูระหว่าง 105° - 140° ไม่สามารถตรวจรับคลื่นทังสองชนิดได้ จะ ่ ้ ตรวจรับสัญญาณคลื่นได้ อีกครังที่ 140° ขึ ้นไป แต่จะตรวจรับได้ เฉพาะคลื่นตามยาว ้ เท่านัน ส่วนคลื่นทุติยภูมิสญญาณเบามากจนไม่สามารถรับสัญญาณได้ (ภาพที่ 1.2) ้ ั
  • 9. ภาพที่ 1.2 (ก) แสดงสัญญาณคลื่นขาดหายไป บริเวณบอดคลื่นปฐมภมิ (ข) แสดงบริเวณบอด ู คลื่นทุติยภมิ(จาก Tarbuck and Lutgens, 1993) ู ข
  • 10. แสดงว่าคลื่นคงต้องเดินทางไปกระทบกับผิวสัมผัสระหว่างชั้น (Interfaces) ที่มีความหนาแน่นแตกต่างกัน แล้วเกิดการหักเหคลื่นไป ปรากฏอีกครั้งที่ 140° เรียก บริเวณบอดคล่ืนช่วง 105° - 140° น้ ีวา ่ “บริเวณบอดคลืนปฐมภูม” (P - Wave Shadow Zone) ดงภาพท่ี 1.2 ก และ ่ ิ ั เรียกบริเวณหลง 105° ทั้งหมดเป็ น “บริเวณบอดคลืนทุตยภูม” (S - ั ่ ิ ิ Wave Shadow Zone) ดงภาพท่ี 1.2 ข ผวสมผสระหวางช้ นท่ีสะทอน ั ิ ั ั ่ ั ้ และหกเหคล่ืนดงกล่าว อยท่ีระดบความลึกเท่าใด ใชวธีการตรวจวดจาก ั ั ู่ ั ้ิ ั เวลาเดินทางสะท้อนกลับของคลื่นมายังสถานีรับสัญญาณ ดังการทดลอง ระเบิดนิวเคลียร์ท่ีเนวาดา สหรัฐอเมริกา ซ่ ึงวางชุดเคร่ื องตรวจรับสญญาณั คล่ืนไหวสะเทือน ไวท่ีมลรัฐมอนตานา (ภาพท่ี 1.3) ้
  • 11. ภาพที่ 1.3 การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ และตรวจวัดเวลาเดินทางของคลื่นเพือคํานวณ ่ ความลึกของผวสะทอนคลื่น ทาใหตรวจพบผวสะทอนเพิ่มข้ ึนอีกหน่ ึงช้ น ระหวางแก่นโลก ิ ้ ํ ้ ิ ้ ั ่ ชั้นในกับแก่นโลกชั้นนอก (จาก Tarbuck and Lutgens, 1993)
  • 12. ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทางด้านธรณี ฟิสิ กส์เหล่านี้ สามารถนํามาสร้าง แบบจําลองทางทฤษฎี แสดงการกระจายลักษณะความเร็ วคลื่นตามความลึก ดัง ภาพที่ 1.4 ซึ่งเดิมที นายบูลเลน (Bullen, 1949) ได้แบ่งชั้นโครงสร้างภายในของ โลกตามการเปลี่ยนแปลงความเร็ วคลื่น โดยกําหนดอักษรแทนแต่ละชั้นต่างๆ ดงกล่าวเป็นช้ น A B C D E F และ G จากผิวโลกถึงแก่นโลกตามลําดับ แต่ ั ั ปัจจุบนนิยมใชคาสื่อความหมายแทน เป็นช้ นเปลือกโลก (Crust) ช้ นเน้ือโลก ั ้ ํ ั ั (Mantle) ช้ นแก่นโลก (Core) เป็ นต้น จากแบบจําลองภาพตัดขวางความเร็ วตาม ั ความลึกดังกล่าว พบว่าที่ความลึก 100 กิโลเมตร ความเร็ วคลื่นลดลงอย่าง เด่นชด จดเป็นช้ นผวขอบบนของช้ นที่มีความเร็วคลื่นไหวสะเทือนต่า (Low ั ั ั ิ ั ํ Velocity Zone) โดยในชั้นเนื้อโลกส่ วนบนนี้ยงพบความเบี่ยงเบนความเร็ วคลื่น ั ชดเจนไดอีกที่ระดบ 400 และ 650 หรื อ 700 กิโลเมตร ซึ่ งเชื่อว่าเป็ นผลจากความ ั ้ ั แปรเปลี่ยนโครงสร้างของแร่ หรื อองค์ประกอบทางเคมี มีความแตกต่างกันอย่าง ใดอย่างหนึ่ง
  • 13. ภาพที่ 1.4 ลกษณะความแปรปรวนความเร็วของคลื่นปฐมภมิ และคลื่นทุติยภมิตามความลึก ั ู ู ํ ท่ีใช้กาหนดช้ นโครงสร้างภายในของโลก (ปรับแปลงจาก Tarbuck and Lutgens, 1993) ั
  • 14. คลื่นปฐมภูมิ และคลื่นทุติยภูมิมีความเร็ วลดลงชัดเจนมากสุ ดที่ระดับ 2,885 กิโลเมตร (~ 2,900 กิโลเมตร) เป็นผวสะทอน/หกเหคลื่นที่ใชกาหนดช้ นรอยต่อ ิ ้ ั ้ ํ ั ระหว่างแก่นโลกกับเนื้อโลก และพบว่าคลื่นทุติยภูมิไม่สามารถส่ งผ่านตัวกลาง ที่มีสถานะของเหลวของช้ นแก่นโลกช้ นนอกโดยคลื่นปฐมภูมิมีความเร็วลดลง ั ั จนกระทงเคลื่อนที่เขาสู่ แก่นโลกช้ นใน ความเร็วคลื่นปฐมภูมิจึงเพิ่มข้ ึนอีกคร้ ัง ั่ ้ ั (ภาพที่ 1.4) สามารถสรุปลกษณะของแต่ละช้ นภายในโลกไดดงนี้ ั ั ้ั 1. เปลือกโลก (Crust) นับจากผิวโลกถึงระดับเฉลี่ย 30 - 50 กิโลเมตร บริ เวณ เปลือกทวีป หรื อถึงระดับ 10 - 12 กิโลเมตร ในบริเวณเปลือกrnhoสมุทร มี ผิวสัมผัสกั้นความไม่ต่อเนื่องระหว่างชั้นเปลือกโลกกับชั้นเนื้อโลกที่อยูขางล่าง ่ ้ เป็นช้ นความไม่ต่อเนื่องที่เรียกวา “ชั้ นความไม่ ต่อเนื่องโมโฮโรวิซิก” ั ่ ่ (Mohorovicic Discontinuity) หรื อเรี ยกโดยย่อว่า ชั้น โมโฮ อยูที่ระดับความลึก ดังกล่าวข้างต้น โดยเปลี่ยนแปลงไปตามความลึกของเปลือกโลกดังกล่าว
  • 15. 2. ชั้นเนือโลกส่ วนบน (Upper Mantle) อยูใต้ช้ นเปลือกโลกลงไปถึงระดับ 400 กิโลเมตร ้ ่ ั พบวามีความแปรปรวนทางความเร็วคลื่นไหวสะเทือนอยางมาก แสดงความไม่เป็นเน้ือเดียวกน ่ ่ ั อย่างกว้างขวาง (Regional Heterogeneous) ทั้งทางดิ่งและทางราบ พบบริ เวณที่ความเร็ วคลื่น ไหวสะเทือนตํ่า บางช่วงภายในชั้นนี้ ที่ระดับความลึกในช่วง 100 - 250 กิโลเมตร จากผวโลก ิ 3. ชั้นทรานซิชัน (Transition Zone) อยระหวางความลึก 400 - 1000 กิโลเมตร สังเกต ู่ ่ ได้จากกราฟความเร็ วที่มีความชันเพิ่มขึ้น ซึ่ งแสดงว่ามีความเร็ วสูงขึ้น ซึ่ งปัจจุบนพบว่าบริ เวณที่ ั มีความเร็ วคลื่นสู งสุ ดชัดเจนที่ระดับความลึก 400 และ 650 กิโลเมตร 4. ชั้นเนือโลกส่ วนล่ าง (Lower Mantle) นบจากระดบลึก 1,000 กิโลเมตร ถึง ระดับ ้ ั ั 2,900 กิโลเมตร จดจําสังเกตได้จาก ชั้นนี้มีความเร็ วคลื่นปานกลาง กราฟความเร็ วคลื่นจึงเอียง พอประมาณ และเพิ่มข้ ึนอยางค่อยเป็นค่อยไป แสดงลกษณะเทียบเคียงแลวค่อนขางเป็นเน้ือหน่ ึง ่ ั ้ ้ เดียวกัน (Uniform) ยกเว้นที่ระดับ 2,700 และ 2,900 กิโลเมตร อาจพบวาความเร็วคลื่นลดลง ่ เล็กน้อย บางครั้งเพือความสะดวก อาจนับรวมชั้นนี้และชั้นทรานซิ ชนเข้าด้วยกัน เรี ยกเป็ น “เนือ ่ ั ้ โลกระดับลึก” (Deep Mantle) นันเอง ชั้นนี้ถกกั้นออกจากแก่นโลกด้วยผิวสัมผัสกั้นความไม่ ่ ู ต่อเนื่องที่เรี ยกว่า “ชั้ นความไม่ ต่อเนื่อง กูเท็นเบิร์ก” (Gutenberg Discontinuity)
  • 16. 5. ชั้นแก่ นโลก (Core) นับจากระดับ 2,900 กิโลเมตร ลงไปเป็ นช่วงที่ปรากฏชั้น ความไม่ต่อเนื่องของความเร็ วคลื่นไหวสะเทือนเด่นชัดมาก ซึ่งที่ระดับ 2,900 กิโลเมตร นี้ คลื่นปฐมภูมิลดความเร็ วลงอย่างฉับพลัน แล้วกลับเพิ่มขึ้นใหม่อีก ครั้งขณะที่คลื่นทุติยภูมิน้ นหายไป แบ่งได้เป็ น 2 ส่วน คือ “แก่นโลกส่ วนนอก” ั (Outer Core) และ “แก่นโลกส่ วนใน” (Inner Core) โดยแยกกนไดดวยรอยไม่ ั ้้ ต่อเนื่อง “เลอห์ มานน์ ” (Lehmann Discontinuity) และเนื่องจากคลื่นทุติยภูมิไม่ สามารถเดินทางผ่านวัตถุที่เป็ นของเหลวได้ การที่ไม่ปรากฏคลื่นทุติยภูมิหลัง ระดับ 2,900 กิโลเมตร น้ น ทาใหเ้ ชื่อไดวาแก่นโลกส่วนนอกดงกล่าวควรมี ั ํ ้่ ั สภาพเป็นของเหลว (Liquid Outer Core) นนเอง ั่
  • 17. จากการสํารวจโดยวิธีทางอ้อมด้วยคลื่นไหวสะเทือน ทําให้เราทราบช่วงความลึกต่าง ๆ(Depth Regions) ภายในโลก ถ้าสามารถหาความหนาแน่น โดยวิธีอื่น ๆ ในแต่ละช่วงความลึกได้ ก็จะสามารถ ประเมินองค์ประกอบทางเคมีของแต่ละช่วงความลึกได้เช่นกัน วิธีทางธรณี ฟิสิ กส์จดเป็ นวิธีการทางอ้อมที่ ั สําคัญเช่นเคย กล่าวคือทําให้เราทราบความหนาแน่นภายในโลกได้ หลายวิธีได้แก่ 1. ผลการคํานวณด้วยวิธีคลื่นทุติยภูมิผกผัน (Inversion S - wave Method) ตรวจพบว่า ชั้นเนื้อโลกมีความหนาแน่น 3.33 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร (gm/cc) และเปลือกโลกมีค่า 2.88 gm/cc 2. ผลการคํานวณด้วยวิธีผกผันแบบมอนเตคาร์โล (The Monte Carlo - Inversion Method) พบว่าที่ช้ นเนื้อโลกในระดับลึก 350 - 400 กิโลเมตร มีค่าความหนาแน่นเฉลี่ย 3.41 - 3.48 ั gm/cc 3. ผลการคํานวณค่าอัตราส่ วนพัวส์ซอง (Poisson’s Ratio) ของชั้นเนื้อโลกส่ วนบนมีค่า ่ ั อยูระหว่าง 0.245 - 0.260 ซึ่งเทียบได้กบค่าอัตราส่ วนพัวส์ซองของแร่ ฟอร์สเตอไรต์-โอลิวน ี (Forsterite- Olivine) โดยประมาณการประมวลหา (Estimated) ความแปรปรวน (Variation) ทางด้าน ความ ดัน อุณหภูมิ และความหนาแน่นภายในโลก จากการเปลี่ยนแปลงความเร็ วคลื่นไหวสะเทือนดังกล่าว แสดง ไว้ดงภาพที่ 1.5 ั
  • 18. ภาพที่ 1.5 (ก) ผลการประมวลหา ค่าความแปรปรวนทางอุณหภมิ (ข) ความหนาแน่น และ ู ความดันที่แปรเปลี่ยนตามความลึก (จาก Jacobs et al., 1974 ; Bullen , 1979)
  • 19. 1.2 ส่ วนประกอบทางเคมีของโลก (Chemical Composition) โดยการประเมินทางออม จากวธีทางธรณีฟิสิกส์ ทาใหเ้ ราทราบโครงสร้างภายในของ ้ ิ ํ โลก และค่าความแปรปรวนทางความดนอุณหภูมิ และความหนาแน่นแลวน้ น ปัญหาเรื่อง ั ้ ั องคประกอบทางเคมีของแต่ละช้ นใตเ้ ปลือกโลกลงไปเป็นอยางไร ยงคงตองหาคาตอบกนต่อไป ์ ั ่ ั ้ ํ ั ซ่ ึ งส่วนใหญ่ไดขอมูลจากวธีการศึกษาทางออมเช่นเดียวกน โดยเฉพาะอยางยง การศึกษาโดย ้ ้ ิ ้ ั ่ ิ่ ทางออมจากวตถุที่มาจากนอกโลก (Extraterrestial ; E.T.) ได้แก่การประเมินเทียบเคียงจาก ้ ั อุกกาบาต (Meteorites) เป็ นต้น ผลการคานวณองคประกอบทางเคมีรวมของโลก (Bulk Composition) แสดงได้ดงตารางที่ ํ ์ ั 1.2 ซ่ ึ งจะเห็นไดวาองคประกอบรวมของโลกน้ น มีธาตุหลก ๆ อยู่ 4 ตัว เท่านั้น คือ ธาตุเหล็ก ้่ ์ ั ั ั ้ ออกซิเจน ซิลิกอน และแมกนีเซียม ซ่ ึ งมีปริมาณรวมกนแลวมากถึง 90% ของท้ งหมด ั โดยประมาณ ส่ วนธาตุที่มีปริ มาณเกิน 1% ไดแก่ นิกเกิล แคลเซียม อลมิเนียม และกามะถน ้ ู ํ ั ู่ ่ (ซัลเฟอร์ ) ที่เหลือมีปริมาณอยระหวาง 0.1 - 1.0% มีท้ งหมด 7 ธาตุ คือ โซเดียม โพแทสเซียม ั โครเมียม โคบอลต์ ฟอสฟอรัส แมงกานีส และไทเทเนียม
  • 20. ตารางที่ 1.2 ผลการคํานวณส่ วนประกอบมวลรวมของโลก (จาก Ganapathy and Anders, 1974) ธาตุ โลหะ ทรอยไลต์ ซิลิเกต รวม เหล็ก 24.58 3.37 6.68 34.63 นิกเกิล 2.39 2.39 โคบอลต์ 0.13 0.13 ซัลเฟอร์ 1.93 1.93 ออกซิเจน 29.53 29.53 ซิลิกอน 15.20 15.20 แมกนี เซี ยม 12.70 12.70 แคลเซี ยม 1.13 1.13 อะลูมิเนี ยม 1.09 1.09 โซเดียม 0.57 0.57 โครเมียม 0.26 0.26 แมงกานีส 0.22 0.22 ฟอสฟอรัส 0.10 0.10 โพแทสเซี ยม 0.07 0.07 ไทเทเนี ยม 0.05 0.05 รวม 27.10 5.30 67.60 100.00
  • 21. ้่ จึงเห็นไดวาโลกของเราประกอบข้ ึนดวยธาตุ 14 - 15 ธาตุ หลัก ้ เท่านั้น ที่เหลือเป็ นธาตุที่มีปริ มาณน้อยมาก คือตํ่ากว่า 0.1% ทั้งหมดนี้ เป็ นองค์ประกอบของชั้นเนื้อโลกกับชั้นแก่นโลกถึง 99% เน่ืองจากมวล ของเปลือกโลกน้อยมาก เมื่อเทียบกับเนื้อโลกและแก่นโลกรวมกัน (ตารางท่ี 1.3) องค์ประกอบรวมเหล่านี้ สามารถคํานวณแยก เป็ นส่ วนๆ ตาม โครงสร้างของโลกไดเ้ ป็นองคประกอบช้ นเน้ือโลก (ตารางท่ี 1.4) ์ ั องค์ประกอบเปลือกโลก (ตารางท่ี 1.5) ส่ วนแก่นโลกนั้นหาได้โดยเอา องคประกอบของเปลือกโลกและเน้ือโลก หกลบออกจากองคประกอบ ์ ั ์ รวมน้ นเอง ซ่ ึ งสรุปองคประกอบส่วนต่าง ๆ ของโลกไดดงน้ ี ั ์ ้ ั
  • 22. 1.2.1 องค์ ประกอบของแก่นโลก แนวคิดที่วาแก่นโลกเป็นโลหะผสมระหวาง นิกเกิลกบเหลก (Ni - Fe ่ ่ ั ็ Metallic Alloy) น้ นยงคงเป็นที่ยอมรับกนถึงปัจจุบน แต่คงไม่ใช่นิกเกิลกบเหลก ั ั ั ั ั ็ บริสุทธ์ ิลวนๆ เนื่องจากแก่นโลก ช้ นนอกมีธรรมชาติเหมือนจะเป็นของไหล ้ ั (Fluid) เนื่องจากคลื่นทุติยภูมิไม่สามารถเดินทางผานได้ ถาเป็นนิกเกิลและเหลก ่ ้ ็ ล้วน ๆ ทั้งหมดความหนาแน่นรวมของโลกจะมีค่าสู งมากเกินไป ดังนั้นจึงควรจะ มีธาตุเบากว่านี้มาประกอบกันอยูบาง โดยธาตุที่น่าเป็ นไปได้มีอยู่ 2 ตว คือ ่ ้ ั กํามะถันกับออกซิเจน ซึ่งบางกลุ่มก็เชื่อว่าน่าจะเป็ นออกซิเจนมากกว่ากํามะถัน แต่ปัจจุบนเราพบมลทินของกามะถนในอุกกาบาตไดบ่อยกวาออกซิเจน โดยพบ ั ํ ั ้ ่ ในอุกกาบาตชนิด ซี - 1 คอนไดรต์ (C1 Chondrite Meteorite) เป็ นปริ มาณถึง ํ ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์โดยนํ้าหนัก ซึ่งปริ มาณ 10 เปอร์เซ็นต์กามะถันดังกล่าวนี้ ถารวมกนกบโลหะผสมนิกเกิล เหลก แลวจะทาใหค่าความหนาแน่นของแก่น ้ ั ั ็ ้ ํ ้ โลก และความหนาแน่นรวมถูกต้องใกล้เคียงพอดี
  • 23. 1.2.2 องค์ ประกอบของเนือโลก ้ จากแนวคิดที่วาส่วนของแก่นโลกเป็นโลหะผสมน้ น องคประกอบของช้ นเน้ือโลก ่ ั ์ ั (ตารางที่ 1.4) จึงเชื่อวา น่าจะตองเบากวา จึงควรประกอบข้ ึนดวยองคประกอบซิลิเกต ่ ้ ่ ้ ์ (Silicate Composition) เป็ นหลัก จากผลการวเิ คราะห์ทางคลื่นไหวสะเทือน เราทราบวาช้ นเน้ือโลกส่วนบนคอนขางจะมี ่ ั ่ ้ ความแปรปรวนทางองคประกอบอยางมากไม่เป็นเน้ือหน่ ึ งเดียวกน ดงน้ นองคประกอบซิลิ ์ ่ ั ั ั ์ เกตดงกล่าวของช้ นเน้ือโลกเป็นอยางไรกนแน่ ตองอาศยหลกฐานจากหลาย ๆ ทางเขามา ั ั ่ ั ้ ั ั ้ อธิบายในธรรมชาติเราพบวสดุที่เชื่อวามีกาเนิดมาจากส่วนลึกใตเ้ ปลือกโลกหลายอยางเช่น ั ่ ํ ่ โนดูล์ (Nodules) ของหิ นอื่น ๆ ในสายแร่คิมเบอร์ ไลต์ (Kimberlite pipe) หรือพบหิน แปลกปลอม (Xenolith) ในหิ นบะซอลต์ (Basalt) เป็ นต้น หิ นแปลกปลอมเหล่านี้ มักเป็ นหิ น อัคนีสีเข้มจัด (Ultrabasic rocks) ได้แก่ เพริ โดไทต์ (Peridotite) เลอร์โซไลต์ (Lherzolite) ไพรอกซี ไนต์ (Pyroxenite) และ เอโคลไจต์ (Eclogite) เป็นตน วสดุปลอมปนหรือหิน ้ ั เหล่าน้ ีมกประกอบไปดวยแร่โอลิวน (Olivine) ไพรอกซี น (Pyroxene) การ์ เนต (Garnet) ั ้ ี และอาจจะมีแร่นิล (Spinel) แร่แอมฟิโบล (Amphiboles) ประกอบอยบางส่วน ู่
  • 24. ที่สาคัญก็คือแร่ ประกอบหิ นแปลกปลอมเหล่านี้พบว่ามีเสถียรภาพภายใต้ ํ อุณหภูมิ ความดัน สูงถึง 1,300 องศาเซลเซียส ที่ความดัน 41 กิโลบาร์ (Kbars) หรื อประมาณที่ความลึก 135 กิโลเมตร ซ่ ึ งอยในช่วงของช้ นเน้ือโลกส่วนบนที่ ู่ ั ่ ช่วงโซนคลื่นความเร็ วตํ่าพอดี และแร่ เหล่านี้ยงพบว่ามีคาความหนาแน่นลงตัว ั เหมาะเจาะกับผลทางธรณี ฟิสิ กส์ที่กล่าวมาแล้ว คือมีค่าประมาณ 3.33 ถึง 3.40 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร สิ่ งที่น่าสนใจอีกประการก็คือ ที่ระดับลึก 100 - 150 กิโลเมตร นั้น เราพบช่วง ความเร็ วตํ่าของคลื่นไหวสะเทือน ซึ่งเชื่อว่าเกิดจากการหลอมตัวบางส่ วน (Partially Melting) ประมาณ 1 เปอร์เซนต์ จากวัสดุที่มีองค์ประกอบซิลิเกต ้ ้ ั ั เขมขนกลายเป็นหินหนืด เมื่อรวมตวกนมากข้ ึน อาจจะยกตวแทรกตดช้ นหิน ั ั ั เปลือกโลกขึ้นมาเป็ นลาวาของหินบะซอลต์ วสดุที่หลอมตวไม่หมดหรือหลอม ั ั ไม่ได้อาจถูกอุมขึ้นมาด้วย ้
  • 25. ตารางที่ 1.3 มวล ปริ มาตร และอื่นๆ ของชั้นโครงสร้างโลก ช่วงชั้นต่างๆ โครงสร้าง/ช่วงช้ัน ความลก ึ ความหนา ปริมาตร ความหนาแน่นเฉลย ่ี มวล สั ดส่ วนมวล คุณลักษณ์ ถึงผิวสัมผัส เฉลี่ย (1020 เมตร3) (กรัม /ลกบาศก์เซนตเิ มตร) ู (1023 กโลกรัม) ิ (%) (กโลเมตร) ิ (กโลเมตร) ิ ช้ น ั 0.000051 0.00008 บรรยากาศ 3.75 0.0138 1.02 0.0141 0.024 0 ชั้นนํ้า A 17 0.1021 2.80 0.286 0.48 ไม่เป็นเน้ื อเดียวกน ั 5-33* ช้ นเปลือก ั โลก B ไม่เป็นเน้ื อเดียวกน ั 984 C 2883 9.00 4.50 40.16 67.10 ช่วงคาบเกี่ยว 2898 413 D น่าจะเป็ นเนื้ อเดียวกัน ชั้นแมนเทิล E ั ของเหลวเน้ื อเดียวกน 6371 F 3473 1.76 11.00 19.36 32.40 ช่วงคาบเกี่ยว จุดศูนย์กลาง 5121 G (รัศมี) แก่นในของแข็ง 4892 ชั้นแก่นโลก รวม 6371 10.83 5.52 59.76 100.00 * ความหนาเปลือกทวีปเฉลี่ย 33 กิโลเมตร และเปลือกสมุทรเฉลี่ย 5 กิโลเมตร
  • 26. ตารางท่ี 1.4 ผลคานวณร้อยละขององคประกอบช้ นเน้ือโลก ํ ์ ั สารประกอบ จากอุกกาบาต แบบจําลองไพโรไลต์ จากหินเลอร์ โซไลต์ ออกไซด์ (Mason,1966) (Ring wood, 1966) (Ring wood, 1966) (Hutchison,1974) Sio2 48.1 43.2 45.2 45.0 MgO 31.1 38.1 37.5 39.0 FeO 12.7 9.2 8.0c 8.0 Al2O3 3.1 3.9 3.5 3.5 Ca O 2.3 3.7 3.1 3.25 Na2O 1.1 1.8 0.57 0.28 Cr2O3 0.55 - 0.43 0.41 MnO 0.42 - .14 0.11 P2O5 0.34 - 0.06 - K2O 0.12 - 0.13 0.04 TiO2 0.12 - 0.17 0.09 NiO - - - 0.25
  • 27. ส่วนท่ีระดบลึก 400 - 900 ถึง 1,000 กิโลเมตร ซ่ ึ งเป็นช่วงชั้นท ั รานซิชน พบว่าเป็ นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง (Transform ั Structure Zone) ของออร์โธรอมบิก โอลิวน ไปเป็ นโครงสร้างแบบ ี กลุ่มแร่ นิล ช้ นเน้ือโลกส่วนล่าง ระดบต่อจากทรานซิชนไปถึงระดับ 2,900 ั ั ั กิโลเมตร พบวาองคประกอบค่อนขางเป็นเน้ือหน่ ึงเดียวกน ซ่ ึ ง ่ ์ ้ ั ประกอบด้วยธาตุเหล็กในปริ มาณที่มากขึ้นกว่าชั้นเนื้อโลกส่ วนบน และเป็ นของผสมระหว่างแร่ ที่มีองค์ประกอบเป็ นเหล็ก - แมกนีเซี ยม ซิลิเกต (Mg - Fe) SiO3 กับเหล็ก - แมกนีเซียมออกไซด์ (Mg - Fe)O และยังคงพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของแร่ ตามความลึก เช่นเดียวกบชั้นทรานซิชน ั ั่
  • 28. 1.2.3 องค์ประกอบของเปลือกโลก เปลือกโลกเป็นส่วนเดียวท่ีเราศึกษาไดจากวธีตรง ซ่ ึ งผลการวเิ คราะห์ ้ ิ หิ นทัวโลกพบว่ามีองคประกอบทางเคมีของส่วนเปลือกทวปกบเปลือก ่ ์ ี ั สมุทร (ตารางท่ี 1.5) เป็นหินซิลิเกตทวไป (Normal Silicate Rocks) ั่ โดยส่ วนเปลือกทวีปมีองค์ประกอบซิ ลิเกตที่มากด้วยซิ ลิกอน (Si) กบั อลูมิเนียม (Al) ซ่ ึ งเป็นองคประกอบแบบหินแกรนิต จึงเรียกเปลือก ์ ่ ทวีปนี้วา “ไซอล” (SIAL) หรื อ “เปลือกโลกส่ วนที่มีองค์ประกอบแบบ ั หิ นแกรนิต” นนเอง ั่
  • 29. ตารางท่ี 1.5 ผลคานวณร้อยละขององคประกอบของช้ นเปลือกโลก ํ ์ ั สารประก องค์ ประกอบ เปลือก เปลือก รวม * เปลือก เปลือก รวม * เปลือกทวีป เปลือกทวีป อบ รวม * สมุทร ทวีป สมุทร ทวีป ออกไซด์ ( and (Poldervaart , 1955) (Ronov and Yaroshevskly , ( 1964) (Goldschm , 1924) 1976) idt, 1954) SiO2 59.1 46.6 59.4 55.2 49.4 59.3 57.1 60.3 59.2 TiO2 1.0 2.9 1.2 1.6 1.4 0.7 0.9 1.0 0.8 Al2O3 15.2 15.0 15.6 15.3 15.4 15.0 15.0 15.6 15.8 Fe2O3 3.1 3.8 2.3 2.8 2.7 2.4 2.5 - 3.4 FeO 3.7 8.0 5.0 5.8 7.6 5.6 6.0 7.2 (เหล็ก 3.6 รวม) MnO 0.1 0.2 0.1 0.2 0.3 0.1 0.2 0.1 0.1 MgO 3.4 7.8 4.2 5.2 7.6 4.9 5.5 3.9 3.3 CaO 5.1 11.9 6.6 8.8 12.5 7.2 8.4 5.8 3.1 Na2O 3.7 2.5 3.1 2.9 2.6 2.5 2.5 3.2 2.1 K2 O 3.1 1.0 2.3 1.9 0.3 2.1 1.7 2.5 3.4 H2 O 1.3 - - - - - - - 3.0 P2O5 0.3 0.3 0.2 0.3 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 * องค์ประกอบทั้งเปลือกโลก (Entire Crust)
  • 30. ส่วนเปลือกสมุทรมีองคประกอบซิลิเกตของพวกเหลกแมกนีเซียม (Mg) กบ อลมิเนียม ์ ็ ั ู และซิลิกอน จึงเรียกเปลือกสมุทรวา “ไซมา” (SIMA) ช้ นเปลือกสมุทรน้ ีแผตวต่อเนื่อง ่ ั ่ ั ั ี ั ั ่ ์ ่ ไปจนถึงช้ นรองรับเปลือกทวป ซ่ ึ งเดิมทีมกเชื่อกนวามีองคประกอบอยางหิ นบะซอลต์ จึง ่ เรี ยกว่า “เปลือกโลกมีองคประกอบอยางหิ นบะซอลต์” (Basaltic Crust) มีความถ่วงจําเพาะ ์ 3.0 แต่ปัจจุบนส่วนที่รองรับเปลือกทวปน้ ีเชื่อวาน่าจะมีองคประกอบคลายหินเพริโดไทต์ ั ี ่ ์ ้ (Peridotitic Composition) ซึ่ งมี ความถ่วงจําเพาะ 3.3 จึงสรุปโครงสร้างภายในของโลกไดดงภาพที่ 1.6 และภาพที่ 1.7 ซึ่ งสามารถจําแนก ้ ั ตามคุณสมบัติทางวัสดุได้กว้างๆ 2 ส่วนคือ 1. ช้ นธรณีภาค (Lithosphere) คือส่ วนที่มีคุณสมบัติเป็ นของแข็งมีความแกร่ ง (rigid ั solid)นบรวมเอาส่วนเปลือกโลกถึงบางส่วนของช้ นเน้ือโลกส่วนบน ในระดบจากผิวโลก ั ั ั ถึงลึกไม่เกิน 100 กิโลเมตร 2. ชั้นฐานธรณี ภาค (Asthenosphere) นบจากระดบประมาณ 100 กิโลเมตร ต่อจากช้ น ั ั ั ธรณีภาคลงไป มีสมบติพลาสติกมากข้ ึน พร้อมที่จะไหลได้ องคประกอบหลกของ ั ์ ั โลก ท้ งสองส่วนน้ ี มีบทบาทอยางยงต่อการเคลื่อนที่ของมวลเปลือกโลกขนาดใหญ่ ซ่ ึ งจะ ั ่ ิ่ ได้กล่าวถึงในหัวข้อต่อไป
  • 31. ภาพที่ 1.6 แสดงโครงสร้างช่วงชั้นหลัก ๆ ของโลกคือ ชั้นธรณี ภาค และชั้นฐานธรณี ภาค (จาก Tarbuck and Lutgens, 1993)