SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน
เรือง คาบาลี-สันสกฤต
่
จัดทาโดย
นาย ธนพล วรรณชัย เลขที่ 3
นาย ภูมพัฒน์ สาธิตคุณ เลขที่ 19
ิ
ชั้นม.6/7

Home
หน้าหลัก
ที่มาและความสาคัญ

แผนการดาเนินงาน

คาสันสกฤต

วัตถุประสงค์

ตารางการทางาน

ตารางเทียบบาลี-สันสกฤต

ขอบข่ายโครงงาน

คาบาลี

แหล่งข้อมูล

Back

Next
ชือโครงงาน : สื่อการเรียนการสอน วิชา ภาษาไทย เรือง คาบาลี-สันสกฤต
่
่
ชือโครงงาน : Instruction media : Pali-Sanskrit Words
่
ประเภทโครงงาน: โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการการศึกษา
ชือผู้ทาโครงงาน
่
1. นาย ธนพล วรรณชัย
2. นาย ภูมิพัฒน์ สาธิตคุณ
ชือที่ปรึกษา: ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
่
ระยะเวลาดาเนินงาน: 17 สัปดาห์

Back

Home

Next
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เป็นผลมาจากในอดีตที่ประเทศของเราได้มีความสัมพันธ์กับชาติอื่นในรูปแบบต่างๆ
เช่น การค้า การทูต การเผยแผ่ศาสนา หรือสงคราม ความสัมพันธ์เหล่านีทาให้เกิดการ
้
กลมกลืนทางวัฒนธรรม ภาษาก็เช่นกัน มีการนาคาจากภาษาอื่นมาใช้ในชีวิตประจาวัน
การทากิจกรรมต่างๆ โดยเรานาคาจากภาษาบาลี-สันสกฤตมาใช้มากที่สุด ซึงทั้งสอง
่
ภาษามีความคล้ายคลึงกันมากจนทาให้หลายคนแยกไม่ออก ผู้จดทาเห็นปัญหานี้จึงได้
ั
จัดทาโครงงานพัฒนาการสอนเรื่องนี้ในรูปแบบของ Power point ซึ่งจะทาให้มความ
ี
น่าสนใจยิ่งขึ้น

Back

Home

Next
วัตถุประสงค์
• เพื่อนาเสนอความรู้ในเรื่องคาบาลี-สันสกฤต ให้มีความน่าสนใจ
• เพื่อนาความรู้ที่ได้นาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน

Back

Home

Next
ขอบเขตของโครงงาน
เป็นสื่อการเรียนการสอนสาหรับผู้ที่ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาและที่สนใจทั่วไป

Back

Home

Next
แผนการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3. จัดทาโครงร่างงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงานโดยจัดทาเป็นสื่อการสอนอย่างง่าย
5. ปรับปรุงทดสอบ
6. การทาเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. นาเสนอโครงงาน

Back

Home

Next
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ

ขั้นตอน

สัปดาห์ที่

ผู้รับผิดชอบ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1

คิดหัวข้อโครงงาน

2

ศึกษาค้นคว้าข้อมูล

3

จัดทาโครงร่างงาน

4

ทาโครงงาน

5

ปรับปรุงทดสอบ

6

ทาเอกสารรายงาน

7

ประเมินผลงาน

8

นาเสนอโครงงาน

Back

/

ทุกคน
/ / /

ทุกคน
/ /

ทุกคน

/ / / /

ทุกคน
/ /

ทุกคน
/ / /

ทุกคน

/

ทุกคน
/ ทุกคน

Home

Next
วิธีสังเกตคาบาลี
• สังเกตจากพยัญชนะตัวสะกดและตัวตาม
ตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประกอบอยู่ขางท้ายสระประสมกับสระและพยัญชนะต้น
้
เช่น ทุกข์ = ตัวสะกด
ตัวตาม คือ ตัวทีตามหลังตัวสะกด เช่น สัตย สัจจ ทุกข เป็นต้น
่
คาในภาษาบาลีจะต้องมีสะกดและตัวตามเสมอ โดยดูจากพยัญชนะบาลี มี 33 ตัว
แบ่งออกเป็นวรรคดังนี้

Back

Home

Next
แถวที่
วรรค กะ
วรรค จะ
วรรค ฏะ
วรรค ตะ
วรรค ปะ
เศษวรรค

Back

1
ก
จ
ฏ
ต
ป

2
ข
ฉ
ฐ
ถ
ผ

3
ค
ช
ฑ
ท
พ
ย ร ล ว ส ห

Home

4
ฆ
ฌ
ฒ
ธ
ถ
ฬ

5
ง
ญ
ณ
น
ม

Next
มีหลักสังเกต ดังนี้
• ก. พยัญชนะตัวที่ 1, 3, 5 เป็นตัวสะกดได้เท่านัน (ต้องอยู่ในวรรคเดียวกัน)
้
• ข. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 1 สะกด ตัวที่ 1 หรือตัวที่ 2 เป็นตัวตามได้ เช่น สักกะ ทุกข สัจจ
ปัจฉิม สัตต หัตถ บุปผา เป็นต้น
• ค. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 3 สะกด ตัวที่ 3 หรือ 4 เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน เช่น
อัคคี พยัคฆ์ วิชชา อัชฌา พุทธ คพภ (ครรภ์)
• ง. ถ้าพยัญชนะตัวที่ 5 สะกด ทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้ เช่น องค์ สังข์ องค์ สงฆ์
สัมปทาน สัมผัส สัมพันธ์ สมภาร เป็นต้น
• จ. พยัญชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยูในวรรคเดียวกันเท่านันจะข้ามไปวรรคอืนไม่ได้
่
้
่

Back

Home

Next
วิธีสังเกตคาบาลี
• สังเกตจากพยัญชนะ “ฬ” จะมีใช้ในภาษาบาลีในไทยเท่านัน เช่น จุฬา ครุฬ
้
อาสาฬห์ วิฬาร์ โอฬาร์ พาฬ เป็นต้น
• สังเกตจากตัวตามในภาษาบาลี
จะมาเป็นตัวสะกดในภาษาไทยโดยเฉพาะวรรค ฎ และวรรคอืน ๆ บางตัว จะตัดตัวสะกดออก
่
เหลือแต่ตวตามเมือนามาใช้ในภาษาไทย เช่น
ั
่
บาลี
ไทย
บาลี
ไทย
รัฎฐ
รัฐ
อัฎฐิ
อัฐิ
ทิฎฐิ
ทิฐิ
วัฑฒนะ
วัฒนะ
ปุญญ
บุญ
วิชชา
วิช

Back

Home

Next
วิธีสังเกตคาสันสกฤต มีดังนี้
• พยัญชนะสันสกฤต
มี 35 ตัว คือ พยัญชนะบาลี 33 ตัว + 2 ตัว คือ ศ, ษ ฉะนั้น
จึงสังเกตจากตัว ศ, ษ มักจะเป็นภาษาสันสกฤต
• ไม่มหลักการสะกดแน่นอน
ี
ภาษาสันสกฤต ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ข้ามวรรคกันได้ ไม่กาหนด
ตายตัวเช่น อัปสร เกษตร ปรัชญา อักษร เป็นต้น

Back

Home

Next
วิธีสังเกตคาสันสกฤต
• สังเกตจากสระ
สระในภาษาสันสกฤต คือ สระภาษาบาลี 8 ตัว + เพิ่มอีก 6 ตัว
คือ สระ ฤ ฤา ภ ภา ไอ เอา
ถ้ามีสระเหล่านี้อยู่และสะกดไม่ตรงตามมาตราจะเป็นภาษาสันสกฤต
เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์ เสาร์ ไปรษณีย์ ฤๅษี คฤหาสน์ เป็นต้น
• สังเกตจากพยัญชนะควบกล้า ภาษาสันสกฤตมักจะมีคาควบกล้า
ข้างท้าย เช่นจักร อัคร บุตร สตรี ศาสตร์ อาทิตย์ จันทร์ เป็นต้น

Back

Home

Next
วิธีสังเกตคาสันสกฤต
• สังเกตจากคาทีมคาว่า “เคราะห์” มักจะเป็นภาษาสันสกฤต เช่น
่ ี
เคราะห์ พิเคราะห์สังเคราะห์ อนุเคราะห์ เป็นต้น
• สังเกตจากคาทีมี “ฑ”อยู่ เช่น จุฑา กรีฑา ครุฑ มณเทียร จัณฑาล เป็นต้น
่
• สังเกตจากคาทีมี “รร”อยู่ เช่น สรรค์ ธรรม์ วรรณ บรรพต ภรรยา
่
บรรณารักษ์ มรรยาท กรรม ทรรศนะ สรรพ เป็นต้น

Back

Home

Next
ตารางเปรียบเทียบภาษาบาลี – สันสกฤต
ภาษาบาลี

ภาษาสันสกฤต

1. สระมี 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ 1. สระมี 14 ตัวเพิมจากบาลี 6 ตัว
่
คือ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา

2. มีพยัญชนะ 33 ตัว(พยัญชนะวรรค)

2. มีพยัญชนะ 35 ตัว เพิ่มจากภาษา
บาลี 2 ตัว คือ ศ ษ

3. มีตวสะกดตัวตาม
ั
แน่นอน เช่น กัญญา จักขุ
คัมภีร์ เป็นต้น

3. มีตวสะกดและตัวตามไม่
ั
แน่นอน เช่น กันยา จักษุ ทักษิณ เป็นต้น

4. นิยมใช้ ฬ เช่น กีฬา จุฬา ครุฬ

4. นิยมใช้ ฑ เช่น กรีฑา จุฑา ครุฑ

Back

Home

Next
ตารางเปรียบเทียบภาษาบาลี – สันสกฤต
ภาษาบาลี

ภาษาสันสกฤต

5. ไม่นิยมควบกล้าและอักษรนา
เช่น ปฐม มัจฉา สามี ฐาน เปม เป็น
ต้น

5. นิยมควบกล้าและอักษรนา เช่น ประถม
มัตสยา สวามี เปรม กริยา เป็นต้น

6. นิยม
ใช้ "ริ" เช่น ภริยา จริยา อัจฉริยะ เป็นต้น

6. นิยมใช้ รร เช่น ภรรยา จรรยา อัศจรรย์ เป็น
ต้น

7. นิยมใช้ ณ นาหน้าวรรค
ฏะ เช่น มณฑล ภัณฑ์
หรือ ณ นาหน้า ห เช่น กัณหา ตัณหา

7. นิยม "เคราะห์" เช่น วิเคราะห์ สังเคราะห์ อ
นุเคราะห์
เป็นต้น

Back

Home

Next
แหล่งข้อมูล
• http://archive.wunjun.com/thailpru/2/320.html
• http://www.oknation.net/blog/Duplex/2009/03/26/entry-2
• www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/20038-00/‎

Home

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
โครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลายโครงงานสังคม ม.ปลาย
โครงงานสังคม ม.ปลาย
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง พัฒนาการทางสังคมสมัยอยุธยา
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 

Viewers also liked

สื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีสื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีvorapong4
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพDashodragon KaoKaen
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (10)

สื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีสื่อคำบาลี
สื่อคำบาลี
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
ปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพปริศนาทายคำจากภาพ
ปริศนาทายคำจากภาพ
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 

Similar to โครงงานคอม

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังVisanu Euarchukiati
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59Manee Prakmanon
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfแบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfssusera5136e
 

Similar to โครงงานคอม (20)

คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 
สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59สื่อครูมาณี ปี59
สื่อครูมาณี ปี59
 
Kam
KamKam
Kam
 
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯพจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Upenthrawichianchan
UpenthrawichianchanUpenthrawichianchan
Upenthrawichianchan
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdfแบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
แบบทดสอบเรื่องคำนาม.pdf
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 

More from Tanapon Wannachai

เฉลยข้อสอบ O
เฉลยข้อสอบ Oเฉลยข้อสอบ O
เฉลยข้อสอบ OTanapon Wannachai
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55Tanapon Wannachai
 
ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12Tanapon Wannachai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Tanapon Wannachai
 
แบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของแบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของTanapon Wannachai
 

More from Tanapon Wannachai (7)

เฉลยข้อสอบ O
เฉลยข้อสอบ Oเฉลยข้อสอบ O
เฉลยข้อสอบ O
 
M6science2552
M6science2552M6science2552
M6science2552
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.6 ปี 55
 
ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12ใบงานที่ 9 12
ใบงานที่ 9 12
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ช้าง
ช้างช้าง
ช้าง
 
แบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของแบบสำรวจและประวัติของ
แบบสำรวจและประวัติของ
 

โครงงานคอม