SlideShare a Scribd company logo
Soumettre la recherche
Mettre en ligne
S’identifier
S’inscrire
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
Signaler
Tassanee Lerksuthirat
Suivre
Researcher
12 Apr 2023
•
0 j'aime
•
30 vues
1
sur
73
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
12 Apr 2023
•
0 j'aime
•
30 vues
Signaler
Formation
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace.
Tassanee Lerksuthirat
Suivre
Researcher
Recommandé
Note in RIAC2023 (day 1)
Tassanee Lerksuthirat
0 vue
•
4 diapositives
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
Tassanee Lerksuthirat
29 vues
•
14 diapositives
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Tassanee Lerksuthirat
10 vues
•
18 diapositives
Experimental design for biologists_230806_TL_Note
Tassanee Lerksuthirat
12 vues
•
6 diapositives
Upright microscope location
Tassanee Lerksuthirat
58 vues
•
2 diapositives
Upright Lens
Tassanee Lerksuthirat
59 vues
•
5 diapositives
Contenu connexe
Plus de Tassanee Lerksuthirat
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Tassanee Lerksuthirat
100 vues
•
115 diapositives
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Tassanee Lerksuthirat
20 vues
•
94 diapositives
Research Ethics Discussion Mahidol U
Tassanee Lerksuthirat
22 vues
•
13 diapositives
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
Tassanee Lerksuthirat
21 vues
•
26 diapositives
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
Tassanee Lerksuthirat
22 vues
•
36 diapositives
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratory
Tassanee Lerksuthirat
89 vues
•
15 diapositives
Plus de Tassanee Lerksuthirat
(20)
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Tassanee Lerksuthirat
•
100 vues
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Tassanee Lerksuthirat
•
20 vues
Research Ethics Discussion Mahidol U
Tassanee Lerksuthirat
•
22 vues
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
Tassanee Lerksuthirat
•
21 vues
คู่มือจริยธรรมสำหรับผู้ประเมินโครงการวิจัยผลงานวิชาการและผลงานวิจัย.pdf
Tassanee Lerksuthirat
•
22 vues
Appointing a team to oversee a microbiology research laboratory
Tassanee Lerksuthirat
•
89 vues
Services from Occupationa Health and Safety
Tassanee Lerksuthirat
•
55 vues
Healthcare policy for working personnel
Tassanee Lerksuthirat
•
106 vues
Working late policy
Tassanee Lerksuthirat
•
135 vues
EN_quick-guide_ZEN-blue-edition_first-steps.pdf
Tassanee Lerksuthirat
•
150 vues
Waste Management at RC
Tassanee Lerksuthirat
•
173 vues
D-LED Brochure Nikon
Tassanee Lerksuthirat
•
418 vues
GENESYS™ 10S UV-Vis (English)
Tassanee Lerksuthirat
•
639 vues
GENESYS™ 10S UV-Vis (Thai)
Tassanee Lerksuthirat
•
797 vues
Gene pulser xcell electroporation system (English manual)
Tassanee Lerksuthirat
•
308 vues
Gene pulser xcell electroporation system (manual)
Tassanee Lerksuthirat
•
129 vues
Hybridization Oven (Boekel) SOP
Tassanee Lerksuthirat
•
37 vues
UV-Vis spectrophotometer SOP
Tassanee Lerksuthirat
•
405 vues
Hybridization Oven (UVP) SOP
Tassanee Lerksuthirat
•
53 vues
Policy on waste management from Mahidol University
Tassanee Lerksuthirat
•
207 vues
Legal Guidelines on Practices in Case of Damages to the Workplace
1.
กฎหมายความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่ โดย นายอาริยารักษ์ จันทะเขต นิติกร
(ผู้ชํานาญการพิเศษ) รักษาการแทนหัวหน้างานวินัยและคดี กองกฎหมาย
2.
หนวยงานของรัฐและเจาหนาที่ของรัฐที่อยูใตบังคับ พ.ร.บ.ความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ และฐานะทางกฎหมายของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล การทําละเมิดของเจาหนาที่ของรัฐที่ไดรับความคุมครอง ตามพ.ร.บ.ความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่
พ.ศ. ๒๕๓๙ ขั้นตอนเกี่ยวกับความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่ การทําละเมิดของเจาหนาที่ ในมหาวิทยาลัยมหิดล สาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดการทุจริตของเจาหนาที่ แนวทางปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น วัตถุประสงคของ พ.ร.บ.ความรับผิด ละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เจตนารมณ ขอบเขตและความเกี่ยวของ ความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่ ตัวอยางคดีที่เกิดขึ้นและ ความรับผิดอยางอื่น สาเหตุการทุจริตและแนวทางการปองกัน 1 2 3 4 5
3.
เจตนารมณ 01
4.
เจาหนาที่ตองรับผิดเมื่อปฏิบัติหนาที่ดวย ความบกพรองแมความเสียหายจะเกิดขึ้น เพียงเล็กนอย หากความเสียหายเกิดจากการกระทําของ เจาหนาที่หลายคนเจาหนาที่ตองรับผิด แบบลูกหนี้รวม
หากไมชําระตองถูกฟองเปนผูลมละลาย เจาหนาที่รับผิดชดใชเต็มจํานวน ความเสียหายที่เกิดกอนมี พ.ร.บ.ฯ เจ้าหน้าที่ไม่กล้าปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มที่ พ.ร.บ.ความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ พ.ร.บ.นี้ ใชบังคับตั้งแตวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙
5.
มิไดมุงหมายใหหนวยงานของรัฐไดรับเงินครบถวนโดยไมคํานึงถึงความ เปนธรรม เจาหนาที่กลาตัดสินใจในการดําเนินงานมากขึ้น หากไมตั้งใจหรือ ผิดพลาดเล็กนอย ไมตองรับผิด ไมนําหลักลูกหนี้รวมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใช พ.ร.บ.ความรับผิดละเมิดของเจาหนาที่
พ.ศ. ๒๕๓๙
6.
ขอบเขต และ ความเกี่ยวของ 02
7.
ขอบเขตของพ.ร.บ.ละเมิดเจาหนาที่ หนวยงานของรัฐ + + >
พ.ร.บ.ละเมิดเจาหนาที่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ 1 1 2 3
8.
มาตรา ๔ “หน่วยงานของรัฐ”
หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วน ราชการอื่นที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการ ท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และ ให้หมายความรวมถึงหน่วยงานของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากําหนดให้เป็ น หน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย พระราชกฤษฎีกากําหนดหน่วยงานของรัฐตามพ.ร.บ.ความรับผิด ละเมิด ฯ พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๓/๑ (๒) มหาวิทยาลัยหรือ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐซึ่งไม่เป็นส่วนราชการและอยู่ในกํากับของรัฐ พ.ร.บ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.๒๕๓๙ 1 2 3 มหาวิทยาลัยมหิดล = หน่วยงานของรัฐ
9.
ขอบเขตของพ.ร.บ.ละเมิดเจาหนาที่ บุคคลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ เจาหนาที่ หนวยงานของรัฐ + + >
พ.ร.บ.ละเมิดเจาหนาที่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ 1 1 2 3 2
10.
มาตรา ๔ เจ้าหน้าที่
หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือ ผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่นไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการหรือ ฐานะอื่นใด บุคลากรทุกประเภทของมหาวิทยาลัยมหิดล ถือเป็นเจ้าที่ของรัฐประเภทหนึ่งที่ได้รับความ คุ้มครองตามพระราชบัญญัตินี้ พ.ร.บ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.๒๕๓๙
11.
ขอบเขตของพ.ร.บ.ละเมิดเจาหนาที่ บุคคลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐ เจาหนาที่ หนวยงานของรัฐ ปฏิบัติหนาที่ + +
> พ.ร.บ.ละเมิดเจาหนาที่ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ 1 1 2 3 2 3 ความเสียหายเกิดจาก การปฏิบัติหน้าที่
12.
• ละเมิดหรือไม่ต้องพิจารณาองค์ประกอบ ๓
ข้อ • ๑. กระทําโดยจงใจ หรือ ประมาทเลินเล่อ • ๒. โดยผิดกฎหมาย • ๓. ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่น และความ เสียหายนั้นต้องเป็นผลโดยตรงจากการกระทําละเมิด การกระทําละเมิดคืออะไร ? (ป.พ.พ. มาตรา ๔๒๐)
13.
จงใจ การกระทําโดยรู้สํานึกและรู้ถึง ผลเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากการ กระทําของตน การกระทําประมาทที่เบี่ยงเบน ไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่าง มาก เช่น พึงคาดหมายได้ว่า ความเสียหายจะเกิด
หรือหาก ระวังสักเล็กน้อยความเสียหาย ย่อมไม่เกิด ประมาท การกระทําที่มิได้มีเจตนา แต่กระทําโดยปราศจาก ความระมัดระวังซึ่ง บุคคลในภาวะเช่นนั้น จะต้องมีตามวิสัยและ พฤติการณ์ และผู้กระทํา อาจใช้ความระมัดระวัง เช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ เพียงพอไม่ ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายร้ายแรง
14.
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๗๑๕/๒๕๕๙ การกระทําของเจ้าหน้าที่ที่เป็นความ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
หมายความว่า นอกจากจะมีลักษณะของการกระทํา โดยมิใช่เจตนาแล้ว ยังจะต้องมีลักษณะของการกระทําโดยขาดความระมัดระวังที่ เบี่ยงเบียนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก ซึ่งถ้าหากบุคคลที่อยู่ในภาวะและวิสัย เช่นนั้นได้ใช้ความระมัดระวังสักเพียงเล็กน้อยก็คงพอคาดเห็นได้ว่าอาจเกิดความ เสียหายขึ้นเรื่องนี้เป็นกรณีที่คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจรับงานโดยไม่ตรวจสอบ รายการก่อสร้างให้ครบถ้วนก่อนตรวจรับงานว่าถูกต้องตามแบบแปลนของสัญญา หรือไม่ ถือเป็นการประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เมื่อเกิดความเสียหายขึ้นต้องรับผิด ชดใช้ค่าเสียหายแก่ทางราชการ ดังนั้น การกระทําโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จึงแตกต่างจากการประมาทเลินเล่อธรรมดา ซึ่งประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงจะต้อง มีพฤติการณ์ที่ขาดความระมัดระวังเบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก ตัวอย่างประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
15.
• หากมิได้มีเจตนาให้เกิดความเสียหาย หรือไม่ได้ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง
เจ้าหน้าที่ไม่ต้องรับผิดในความเสียหายที่เกิดขึ้น • หากความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน เจ้าหน้าที่รับผิดเฉพาะ ส่วนของตนเท่านั้น ไม่ต้องรับผิดในส่วนของเจ้าหน้าที่ผู้อื่น • เจ้าหน้าที่ไม่ต้องรับผิดในความเสียหายเต็มจํานวน โดยคํานึงถึงระดับ ความร้ายแรงแห่งการกระทําและความเป็ นธรรม และหาก หน่วยงานของรัฐหรือระบบดําเนินงานมีส่วนบกพร่องก็ให้หักความรับผิด ของหน่วยงานออกด้วย • หากเจ้าหน้าที่ไม่ชําระหนี้ ห้ามหน่วยงานของรัฐฟ้องล้มละลาย ยกเว้น เป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง ความคุ้มครองในการปฏิบัติหน้าที่
16.
หนาที่กํากับดูแลของผูบังคับบัญชา คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๑๖/๒๕๕๑ ผูบังคับบัญชามีหนาที่รับผิดชอบควบคุม กํากับดูแลการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา
ไมใหเกิดขอบกพรองหรือการทุจริตขึ้น หากพบวาระบบงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานในหนวยงานไมเปนระบบ หรือเอื้อตอการ ปฏิบัติงาน ตองจัดระบบงานใหเหมาะสมโดยกําหนดแนวทางปฏิบัติใหเจาหนาที่ปฏิบัติได อยางถูกตอง และตองควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชาอยางใกลชิด กรณีที่ผูบังคับบัญชาไมอาจดําเนินการดวยตนเองไดก็อาจมอบหมายใหผูใตบังคับบัญชา ดําเนินการแทน แตผูบังคับบัญชาก็ตองควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานที่มอบหมายนั้นอยาง สมํ่าเสมอและรอบคอบ การที่ผูบังคับบัญชามอบหมายใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่ การเบิกจายเงินของหนวยงานและมีการเบิกจายเงินจํานวนมากตอเนื่องกันหลายรายการ รวมทั้งใหผูใตบังคับบัญชา ๒ คน มีอํานาจรวมกันสั่งจายเงินในบัญชีธนาคารที่เปดไวได แสดงวาใหความไววางใจเปนอยางมากอันอาจเปนชองทางใหเกิดการทุจริตไดงาย ผูบังคับบัญชาจึงมีหนาที่ตองควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชาทั้ง สองอยางสมํ่าเสมอ การที่ผูบังคับบัญชาปลอยปละละเลยไมตรวจสอบควบคุมการปฏิบัติงาน ของผูใตบังคับบัญชาอยางสมํ่าเสมอและถี่ถวนเพียงพอจนเปนเหตุใหเกิดการทุจริตเบียดบังเงิน
17.
ตัวอย่างคดีละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่อ.๑๓/๒๕๔๘ การที่กรรมการตรวจการ จ้างทํารายงานเสนอผู้มีอํานาจเกี่ยวกับการเพิ่มและลดงานตามสัญญาจ้าง ก่อสร้างอาคาร โดยไม่เป็นไปตามระเบียบและไม่ตรวจสอบราคาที่แท้จริง จนเป็นเหตุให้ราชการได้รับความเสียหาย
เนื่องจากเสนอให้ลดงานตอก เสาเข็ม แต่กลับไม่หักค่าตอกเสาเข็มและค่าเสาเข็มออก จึงทําให้งานส่วนที่ ลดมีราคาสูงกว่างานส่วนที่ผู้รับจ้างต้องทําเพิ่มเติม ถือเป็นการกระทําด้วย ความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
18.
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่อ.๓๓๘-๓๓๙/๒๕๔๙ การที่กรรมการ ตรวจรับสินค้าลงชื่อตรวจรับสินค้าโดยไม่ได้ตรวจสินค้าจริง ถือเป็นการ กระทําโดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
19.
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่อ. ๕๘๓-๕๘๔/๒๕๔๔ คณะกรรมการ ตรวจการจางไมเพียงแตตรวจรายงานผลการปฏิบัติงานของผูควบคุมงาน เทานั้น
หากเห็นวารายงาน มีขอบกพรองหรือมีขอสงสัยจะตองออกไปตรวจ งานจางเพื่อดูวา การดําเนินงานของผูรับจางเปนไปตามรายละเอียดของ สัญญา หรือ ขอกําหนดในสัญญาหรือไม นอกจากนี้หากเห็นวาไมมีความ เชี่ยวชาญ ในการตรวจสอบงานไดอยางครบถวน ก็ควรจะดําเนินการ เพื่อให ผูเชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ เขามาตรวจสอบ เพราะการที่ราชการ ไดรับ ความเสียหายอันเนื่องมาจากการไมใชความระมัดระวังและไม ตรวจสอบงานจางดวยความละเอียดรอบคอบตามวิสัยและพฤติการณการทํา หนาที่เปนกรรมการตรวจการจาง
20.
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๙๙/๒๕๕๑ การที่ผู้ถูกฟ้องคดี
ไม่ต่อ สัญญาจ้างผู้ฟ้องคดี ซึ่งเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตําแหน่งเจ้าหน้าที่การเงินและ บัญชี แต่ต่อสัญญาจ้างกับลูกจ้างชั่วคราวรายอื่นทั้งที่บุคคลดังกล่าวผ่าน เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานได้คะแนนร้อยละตํ่ากว่าผู้ฟ้องคดี อัน เป็ นการเลือกปฏิบัติและใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เป็ นเหตุให้ผู้ ฟ้องคดีได้รับความเสียหาย จึงเป็นการกระทําละเมิดต่อผู้ฟ้องคดีตามมาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้ถูกฟ้องคดีจึงต้องรับผิด ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนในกรณีไม่จ้างผู้ฟ้องคดีปฏิบัติงานต่อ ๑ ปีงบประมาณ ให้แก่ผู้ฟ้องคดี เท่ากับจํานวนเงินค่าจ้างและระยะเวลาการ จ้างในปีงบประมาณก่อน เป็นเวลา ๑๒ เดือน
21.
ตัวอย่างการกระทําละเมิดต่อบุคคลภายนอก คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๕๗๘๒/๒๕๓๘ การที่จําเลยดําเนินการขยายถนน โดยขุดดินกองไว้ในช่องเดินรถในลักษณะที่ย่อมคาดการณ์ได้ว่าจะทําให้ เกิดอันตรายแก่ประชาชน
แต่ไม่จัดทําป้ายหรือสัญญาณเตือนให้เห็นได้ อย่างชัดเจน ย่อมเป็นการกระทําที่ประมาทเลินเล่ออย่างมาก จึงต้องรับผิด ชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทําดังกล่าวอันได้แก่ ค่าปลงศพและ ค่าขาดไร้อุปการะให้แก่โจทก์ซึ่งเป็นมารดาของผู้ได้รับอันตรายเสียชีวิต โดยไม่อาจนําเงินทําบุญที่โจทก์ได้รับมาคํานวณหักออกจากค่าปลงศพเพื่อ ลดภาระหนี้ของจําเลยได้
22.
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๕๑๘/๒๕๕๑ การที่พนักงาน สอบสวนยึดรถยนต์ไว้เป็นของกลางในคดีอาญา
พนักงาน สอบสวนมีหน้าที่ดูแลรักษารถยนต์ของกลางมิให้สูญหาย เมื่อ ไม่ระมัดระวังดูแลรถยนต์ของกลางเป็นเหตุให้รถยนต์ของกลาง สูญหายไป จึงเป็ นการกระทําละเมิดต่อเจ้าของรถยนต์ สํานักงานตํารวจแห่งชาติเป็นหน่วยงานของรัฐจึงต้องรับผิดโดย การใช้ราคารถยนต์ที่สูญหายไป
23.
คําพิพากษาศาลฎีกาที่ ๖๐๙๒/๒๕๕๒ แพทย์รักษาคนไข้โดย สอบถามอาการคนไข้ทางโทรศัพท์จากพยาบาล
ทําให้การรักษา ผิดพลาด เป็นประมาทเลินเล่อ เป็นละเมิด ต้องรับผิดชดใช้ค่า สินไหมทดแทน
24.
ความรับผิด ทางละเมิดของ เจาหนาที่ 03
25.
การกระทําละเมิด ต่อเอกชน (บุคคลภายนอก) การกระทําละเมิด ต่อหน่วยงานรัฐ หลักเกณฑ์การ ปฏิบัติเกี่ยวกับ ความรับผิด ทางละเมิดของ เจ้าหน้าที่
26.
การกระทํ า ละเมิ ด ต่ อ เอกชน กระทําในหน้าที่ หน่วยงานของรัฐต้อง รับผิดต่อผู้เสียหาย โดยตรง (มาตรา ๕) ยื่นคําขอต่อหน่วยงาน ของรัฐ (มาตรา
๑๑) ยื่นฟ้องคดีต่อศาล มิได้เกิดจากการกระทําในหน้าที่ เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเป็นการส่วนตัว เมื่อหน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหายแทนแล้วสามารถใช้สิทธิเรียกร้องเอากับ เจ้าหน้าที่ถ้าได้ทําจงใจหรือประมาทเลินเล่ออยางร้ายแรง(มาตรา ๘) อายุความใช้สิทธิเรียกร้องภายใน ๑ ปี นับแต่วันที่รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวผู้จะพึงต้องชดใช้ค่าเสียหาย หรือเมื่อพ้น ๑๐ ปี นับแต่วันทําละเมิด (ป.พ.พ. มาตรา ๔๔๘)
27.
•คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๕/๒๕๕๕ การขอ อนุญาตใช้รถราชการไปดูงานต่างจังหวัด
ระหว่างทางได้เอา รถราชการไปใช้ในงานศพ จนเกิดความเสียหายขึ้นไม่ถือเป็น การปฏิบัติหน้าที่ราชการ ผู้ขอใช้รถต้องรับผิดส่วนตัวแก่ทาง ราชการตาม ป.พ.พ.มาตรา ๔๒๐
28.
กรณีทีเจาหนาที สรุปกรณีละเมิดตอบุคคลภายนอกกระทําละเมิดตอ บุคคลภายนอก การปฏิบัติหนาที่ (มาตรา ๕) • หนวยงานของรัฐตองรับผิด ตอผูเสียหาย •
ฟองหนวยงานของรัฐได โดยตรง • ฟองเจาหนาที่ไมได • เ จ า ห น า ที่ ไ ม ไ ด สั ง กั ด หนวยงานใด ตองฟอง กระทรวงการคลังใหรับผิด มิใชการปฏิบัติหนาที่(มาตรา ๖) • เจาหนาที่ตองรับผิดตอผู เสียเปนการเปนสวนตัว • ฟองเจาหนาที่โดยตรง • ฟองหนวยงานของรัฐไมได
29.
การกระทํ า ละเมิ ด ต่ อ หน่ ว ยงานของรั ฐ (ปฏิ บ ั ต ิ ห น้ า ที ่ ) กรณีจงใจหรือประมาท เลินเล่ออย่างร้ายแรง เจ้าพนักงานต้องรับผิด (มาตรา ๑๐ ประกอบ มาตรา
๘) คํานึงถึงความร้ายแรง แห่งการกระทําและ ความเป็นธรรม (มาตรา ๘ วรรคสอง) หักส่วนความเสียหาย (มาตรา ๘ วรรคสาม) ไม่นําหลักเรื่องลูกหนี้ ร่วมมาใช้บังคับ (มาตรา ๘ วรรคสี่) กรณีประมาทหรือไม่ จงใจ หน่วยงานของรัฐรับผิด กระทรวงการคลังได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๒/ว.๖๖ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๐ เรื่อง แนวทางการกําหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
30.
ความบกพร่องของหน่วยงานหรือระบบการดําเนินการของส่วนรวม ระบบการตรวจสอบไม่ดี แต่งตั้งบุคคลไม่เหมาะสมกับงาน ไม่ได้วางระเบียบหรือวิธีควบคุมดูแล คําสั่งไม่มีความชัดเจน เป็นเรื่องที่ตรวจพบได้ยาก เนื่องจากกระทําทุจริตต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน การคัดเลือบุคคลเข้ามาปฏิบัติงานมีความบกพร่อง
ได้คนไม่มีประสิทธิภาพ มีกฎระเบียบมาก ภาระงานเยอะ แต่มีระยะเวลาการปฏิบัติจํากัด มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานไม่เต็มอัตรา จํานวนคนไม่สัมพันธ์กับงาน
31.
อายุความใช้สิทธิเรียกร้องของหน่วยงานของรัฐให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าเสียหาย (มาตรา ๑๐) • ภายใน
๒ ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้จะพึงต้องชดใช้ ค่าสินไหมทดแทน หรือภายใน ๑ ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคําสั่งตามความเห็นของ กระทรวงการคลัง การเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน • ทําโดยออกคําสั่งเรียกให้ชดใช้(คําสั่งทางปกครอง) • หากเจ้าหน้าที่ไม่เห็นด้วยสามารถอุทธรณ์คําสั่งได้/ คําสั่งถึงที่สุดแล้ว หน่วยงานสามารถใช้ มาตรการบังคับทางปกครอง ยึดอายัดทรัพย์สินของเจ้าหน้าที่ได้(พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองฯ มาตรา ๕๗) การรายงานความเสียหาย • ไม่เกิน ๑ ล้านบาท ไม่ต้องรายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ • ต้องรายงานความเสียหายในระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่งตามแนวทางและ หลักเกณฑ์ที่กรมบัญชีกลางได้แจ้งเวียนและให้ถือปฏิบัติ ตามประกาศกระทรวงการคลัง
32.
ตัวอยางคดีละเมิด และความรับผิดอยางอื่น ของมหาวิทยาลัยมหิดล 04
33.
เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่รับเงินค่ารักษาพยาบาลกระทําทุจริต (คําพิพากษาศาล ปกครองสูงสุดที่อ.๒๙๒/๒๕๔๙) เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่รับเงินค่าสินค้าของร้านค้ากระทําทุจริต เจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบการเบิกจ่ายเงินโครงการพิเศษกระทํา ทุจริต กรรมการจัดซื้อจัดจ้างทางพัสดุ บกพร่องในหน้าที่ เจ้าหน้าที่การเงิน
ไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามระเบียบ
34.
● ความรับผิดทางวินัยตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัย ● ค
ว า ม รับ ผิ ด ท า ง อ า ญ า ต า ม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ ความรับผิดอยางอื่นของผูทําละเมิด
35.
ตองปฏิบัติหนาที่ของตนตามนโยบาย คําสั่ง กฎ
ขอบังคับ ประกาศ และแบบ ธรรมเนียมของมหาวิทยาลัย ตามขอ ๓๒ กระทําผิดวินัยกรณีใดกรณีหนึ่งเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกมหาวิทยาลัย อยางรายแรง ตามขอ ๔๕(๑) ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบเพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับ ประโยชนที่มิควรได ซึ่งถือวาเปนการทุจริตตอหนาที่ ตามขอ ๔๕(๓) ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการบริหารงานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๑
36.
มาตรา ๓ ความหมายของเจาพนักงานของรัฐ มาตรา
๑๗๒ ความผิดฐานปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดย มิชอบ มาตรา ๙๑ การออกคําสั่งลงโทษทางวินัยผูทุจริต ตามมติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยไมจําตองสอบสวนอีก พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑
37.
• รับเงินแล้วไม่ออกใบเสร็จรับเงิน • ใช้สําเนาใบเสร็จรับเงินปลอม •
ใช้ใบเสร็จจริง แต่ยักยอกเงินบางส่วนไว้ไม่ลงทะเบียนคุมทั้งหมด • แก้ไขใบเสร็จให้มีจํานวนตํ่ากว่าที่ได้รับจริง • จัดทําคําขอเบิกเงิน หลักฐานการเบิกจ่าย เช็ค โดยไม่มีหนี้ที่ต้องจ่ายจริง • แก้ไขปลอมลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย • จัดทําหลักฐานการเบิกจ่ายเท็จ เช่น ทําหลักฐานการจัดฝึกอบรมโดยไม่ มีการฝึกอบรมจริง • เบิกจ่ายเงินแล้ว ไม่นําเงินไปจ่ายให้แก่เจ้าหนี้ วิธีการทุจริตที่เกิดขึ้นบ่อย
38.
• ผู้มีอํานาจมอบรหัสให้ดําเนินการในระบบอิเล็กทรอนิกส์แทนตนเอง โดยไม่มีการกํากับดูแลตรวจสอบ • สร้างหลักฐานการจัดซื้อจัดจ้าง(PO)
อันเป็นเท็จ • รายงานถูกต้องครบถ้วน แต่ไม่โอนเงินเข้าบัญชี แต่ใช้วิธีโอนเงิน รายการใหม่หหมุนเวียนชดใช้รายการเดิมที่ทุจริตไป • ไม่จัดทํารายงานคงเหลือประจําวัน • ไม่ตรวจสอบตัวเงินกับหลักฐานการรับเงินให้ถูกต้องตรงกัน • ไม่นําเงินเข้าเก็บในตู้นิรภัย
39.
สาเหตุการทุจริตและแนว ทางการปองกัน 05
40.
● ระบบการดําเนินงานภายในเกิดความบกพร่อง ไม่ มีมาตรการในเชิงป้องกันความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นจากการทุจริต ●
การมอบหมายหน้าที่ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานยังไม่ เหมาะสมกับงานที่ได้รับ ● การไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎระเบียบหรือแนวปฏิบัติ ที่มหาวิทยาลัยได้กําหนดไว้อย่างเคร่งครัด ● ผู้บังคับบัญชาขาดการสอดส่องดูแลพฤติกรรมของ ผู้ใต้บังคับบัญชา สาเหตุการทุจริตและแนวทางปองกัน
41.
ขอบคุณครับ
42.
“หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ เมื่อเกิดความเสียหายทางด้านการคลังและพัสดุ” ผู้บรรยาย นายวัชรพงศ์ พิพิธพรรณพงศ์ นิติกร(ผู้ชํานาญการพิเศษ) กองกฎหมาย สํานักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ณ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
43.
กรณีที่ ๑ กรณีเจ้าหน้าที่กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ
44.
ข้อ ๔ ในระเบียบนี้ “เจ้าหน้าที่”
หมายความว่าข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการ หรือฐานะอื่นใด บรรดาซึ่งได้รับแต่งตั้งหรือ ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ
45.
ข้อ ๗ เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงาน ของรัฐ
ให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องแจ้งต่อ ผู้บังคับบัญชาโดยไม่ชักช้า และให้มีการ รายงานตามลําดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงาน ของรัฐแห่งนั้น
46.
ข้อ ๘ เมื่อเกิดความเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐ แห่งใด
และหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นมีเหตุ อันควรเชื่อว่าเกิดจากการกระทําของเจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานของรัฐแห่งนั้น ให้หัวหน้าหน่วยงานของ รัฐดังกล่าวแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่งโดยไม่ชักช้า เพื่อพิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องรับผิด และจํานวนค่าสินไหมทดแทนที่ผู้นั้นต้องชดใช้ คณะกรรมการตามวรรคหนึ่ง ให้มีจํานวน ไม่เกินห้าคน โดยแต่งตั้งจากเจ้าหน้าที่ของ หน่วยงานของรัฐแห่งนั้นหรือหน่วยงานของรัฐอื่น ตามที่เห็นสมควร ...
47.
ข้อ ๑๒ ในกรณีที่ผู้มีอํานาจ
แต่งตั้งคณะกรรมการตาม ข้อ ๘ ข้อ ๑๐ หรือข้อ ๑๑ แต่งตั้งคณะกรรมการหรือเห็น ว่าไม่มีเหตุที่จะแต่งตั้งคณะกรรมการ ให้ผู้มีอํานาจ แต่งตั้งคณะกรรมการรายงานไปยังผู้บังคับบัญชาหรือผู้ กํากับดูแลหรือควบคุมการปฏิบัติงานของผู้มีอํานาจ แต่งตั้งนั้นเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการแต่งตั้ง หรือไม่แต่งตั้งคณะกรรมการ หากการนั้นไม่ถูกต้องให้ สั่งแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง ...
48.
ข้อ ๑๕ คณะกรรมการต้อง ให้โอกาสแก่เจ้าหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องหรือผู้เสียหายได้ ชี้แจงข้อเท็จจริงและโต้แย้ง แสดงพยานหลักฐานของตน อย่างเพียงพอและเป็นธรรม
49.
ข้อ ๑๖ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาเสร็จแล้วให้ เสนอความเห็นไปยังผู้แต่งตั้ง
ถ้าผู้แต่งตั้งขอให้ ทบทวนหรือสอบสวนเพิ่มเติม ให้ คณะกรรมการรีบดําเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน เวลาที่ผู้แต่งตั้งกําหนด ความเห็นของคณะกรรมการต้องมี ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายที่แจ้งชัด และต้องมี พยานหลักฐานที่สนับสนุนประกอบด้วย ความเห็นของคณะกรรมการไม่ผูกมัด ผู้แต่งตั้งหรือรัฐที่จะมีความเห็นเป็นอย่างอื่น
50.
ข้อ ๑๗ เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับผลการพิจารณาของคณะกรรมการแล้ว ให้วินิจฉัยสั่งการว่ามีผู้รับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือไม่
และ เป็นจํานวนเท่าใด แต่ยังมิต้องแจ้งการสั่งการให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ ให้ผู้แต่งตั้งส่งสํานวนภายในเจ็ดวันนับแต่วันวินิจฉัยสั่งการให้ กระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ เว้นแต่เป็นเรื่องที่กระทรวงการคลัง ประกาศกําหนดว่าไม่ต้องรายงานให้กระทรวงการคลังตรวจสอบ ให้กระทรวงการคลังพิจารณาโดยไม่ชักช้า และให้มีอํานาจ ตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่เห็นสมควรจะให้ บุคคลใดส่งพยานหลักฐานหรือมาให้ถ้อยคําเพื่อประกอบการ พิจารณาเพิ่มเติมอีกก็ได้ ในระหว่างการพิจารณาของกระทรวงการคลัง ให้ผู้แต่งตั้งสั่ง การให้ตระเตรียมเรื่องให้พร้อมสําหรับการออกคําสั่งให้เจ้าหน้าที่ ชําระค่าสินไหมทดแทน หรือดําเนินการฟ้องคดีเพื่อมิให้ขาดอายุ ความสองปีนับจากวันที่ผู้แต่งตั้งวินิจฉัยสั่งการ …
52.
ข้อ ๒๒ ในกรณีที่ความเสียหายเกิดแก่ เงิน
ให้ใช้เป็นเงินแต่เพียงอย่างเดียว
53.
ข้อ ๒๓ ในกรณีที่ความเสียหายมิได้เกิดแก่เงิน
จะดําเนินการดังต่อไปนี้ แทนการชําระเงินก็ได้ (๑)ชดใช้เป็นทรัพย์สินอย่างเดียวกันโดยมีสภาพคุณภาพ ปริมาณ และลักษณะเดียวกันกับทรัพย์สินที่สูญหายหรือเสียหายและใช้งานแทนได้ เช่นเดียวกับทรัพย์สินที่สูญหายหรือเสียหายโดยทําสัญญายินยอมชดใช้ ค่าสินไหมทดแทนเป็นทรัพย์สินดังกล่าว (๒) ซ่อมแซมหรือบูรณะทรัพย์สินที่ชํารุดเสียหายให้คงสภาพเดิม โดยทําสัญญาว่าจะจัดการให้ทรัพย์สินคงสภาพเหมือนเดิมภายในเวลาไม่ เกินหกเดือน (๓) การชดใช้เป็นทรัพย์สินหรือการซ่อมแซมหรือบูรณะทรัพย์สิน ที่แตกต่างไปจาก (๑) หรือ (๒) ต้องได้รับความเห็นชอบจาก กระทรวงการคลังก่อน การชดใช้ค่าเสียหายเป็นทรัพย์สินหรือการซ่อมแซมหรือบูรณะ ทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง ให้มีการตรวจรับตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ ของทางราชการหรือของหน่วยงานของรัฐนั้น ๆ การทําสัญญาตามวรรคหนึ่งต้องจัดให้มีผู้คํ้าประกัน และในกรณีที่ เห็นสมควรจะให้วางหลักประกันด้วยก็ได้
54.
ข้อ ๒๕ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดและขอผ่อน ชําระค่าสินไหมทดแทน
ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในขั้นตอนใด ให้หน่วยงานของรัฐที่เสียหายกําหนดจํานวนเงินที่ขอ ผ่อนชําระนั้นตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงรายได้ ค่าใช้จ่ายในการดํารงชีพตามฐานานุรูปของเจ้าหน้าที่ ความรับผิดชอบที่บุคคลนั้นมีอยู่ตามกฎหมายหรือ ศีลธรรมอันดี และพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย ในการให้ผ่อนชําระ ต้องจัดให้มีผู้คํ้าประกัน และ ในกรณีที่เห็นสมควรจะให้วางหลักประกันด้วยก็ได้
56.
กรณีที่ ๒ กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทําละเมิดต่อบุคคลภายนอก
57.
ข้อ ๓๑ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ทําให้เกิดความ เสียหายต่อบุคคลภายนอก
ถ้าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นเห็น ว่าความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องในการที่ตนได้ กระทําในการปฏิบัติหน้าที่ ให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นแจ้ง ต่อผู้บังคับบัญชาโดยไม่ชักช้า และให้มีการ รายงานตามลําดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงานของ รัฐแห่งนั้น แต่ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เป็นรัฐมนตรี หรือกรรมการที่ตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติงานใน หน่วยงานของรัฐหรือผู้ซึ่งไม่สังกัดหน่วยงาน ของรัฐแห่งใดหรือผู้ซึ่งไม่มีผู้บังคับบัญชา ให้ ดําเนินการตามข้อ ๙ (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) และ ให้นําข้อ ๘ ถึงข้อ ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
58.
ข้อ ๓๒ ในกรณีที่ผู้เสียหายยื่นคําขอให้ หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ให้ หน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ผู้นั้นสังกัด หรือ กระทรวงการคลัง ในกรณีที่เจ้าหน้าที่มิได้ สังกัดหน่วยงานใด หรือหน่วยงานของรัฐแห่ง ใดแห่งหนึ่ง ในกรณีที่ความเสียหายเกิดจากผล การกระทําของเจ้าหน้าที่หลายหน่วยงาน รับคําขอนั้นและดําเนินการตามระเบียบนี้โดย ไม่ชักช้า
59.
ข้อ ๓๓ เมื่อได้รับคําขอตามข้อ
๓๒ และ หน่วยงานของรัฐที่ได้รับคําขอไว้เห็นว่าเป็น เรื่องที่เกี่ยวกับตน ให้แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อดําเนินการต่อไปโดยไม่ชักช้า
60.
ข้อ ๓๔ ในกรณีที่ต้องชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่ผู้ยื่นคําขอ
ให้หน่วยงานของ รัฐที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนปฏิบัติ ตามที่กระทรวงการคลังกําหนด ให้คิดดอกเบี้ยตามอัตราดอกเบี้ยผิด นัดนับแต่วันกระทําละเมิดในจํานวนเงินที่ ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ยื่นคํา ขอจนถึงวันชําระค่าสินไหมทดแทน
61.
ข้อ ๓๕ ในกรณีที่ผู้เสียหายฟ้องคดีต่อศาล ให้ผู้มีอํานาจแต่งตั้งตั้งคณะกรรมการโดยไม่ ชักช้า
เว้นแต่จะได้มีการตั้งคณะกรรมการ ดังกล่าวไว้แล้ว และให้ประสานงานกับ สํานักงานอัยการสูงสุดเพื่อเตรียมการต่อสู้ คดีต่อไป พร้อมทั้งรายงานให้ กระทรวงการคลังทราบและปฏิบัติตามที่ ได้รับคําแนะนําจากกระทรวงการคลัง
62.
ข้อ ๓๖ ถ้าผู้แต่งตั้งเห็นว่าความเสียหาย เกิดจากเจ้าหน้าที่มิได้กระทําในการปฏิบัติ หน้าที่
หรือเมื่อได้ฟังความเห็นของ คณะกรรมการหรือได้รับทราบผลการ พิจารณาของกระทรวงการคลังแล้ว เห็นว่า ความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่มิได้กระทํา ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้เรียกเจ้าหน้าที่ผู้นั้น เข้ามาเป็นคู่ความในคดีด้วย
63.
ข้อ ๓๗ ถ้าผลการพิจารณาของผู้แต่งตั้งยุติเป็น ที่สุดว่า
ความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่ได้ กระทําในการปฏิบัติหน้าที่ จะต้องไม่มีการเรียก เจ้าหน้าที่เข้ามาเป็นคู่ความในคดี แต่ถ้า ผู้เสียหายได้ฟ้องเจ้าหน้าที่ต่อศาลก่อนแล้วหรือ มีการเรียกเจ้าหน้าที่เข้ามาเป็นคู่ความในคดีก่อน แล้ว ให้ผู้แต่งตั้งแจ้งผลการพิจารณาให้พนักงาน อัยการเพื่อแถลงต่อศาล เพื่อให้เจ้าหน้าที่มี โอกาสพ้นจากการเป็นคู่ความในคดี และขอให้ พนักงานอัยการช่วยเหลือทางคดีแก่เจ้าหน้าที่ใน ระหว่างนั้นด้วย
64.
ข้อ ๓๘ ในกรณีหน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อ บุคคลภายนอกในความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่นั้น
ความรับผิดของ เจ้าหน้าที่จะมีหรือไม่ และเพียงใด เป็นกรณีที่ หน่วยงานของรัฐจะพิจารณาไล่เบี้ยเอาจาก เจ้าหน้าที่ในภายหลัง ซึ่งคณะกรรมการ ผู้แต่งตั้ง และกระทรวงการคลัง แล้วแต่กรณี ต้องพิจารณา ด้วยว่าจะมีการไล่เบี้ยหรือไม่ หรือจะไล่เบี้ยให้ ชดใช้เพียงใด และให้นําข้อ ๒๒ ถึงข้อ ๒๙ มาใช้ บังคับกับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่หน่วยงาน ของรัฐได้ใช้ให้แก่ผู้เสียหาย โดยอนุโลม
65.
การรับผิดตามสัดส่วน (ว.๖๖)
72.
เริ่มต้น 1 เกิดความเสียหาย 2 3 หัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาเบื้องต้นว่ามีเหตุอัน ควรเชื่อว่าเกิดจากการกระทําของเจ้าหน้าที่หรือไม่ ยุติเรื่อง ผู้บังคับบัญชาชั้น เหนือขึ้นไปทบทวน ยุติเรื่อง สิ้นสุด ตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ สอบสวน พิจารณา เสนอผู้สั่งแต่งตั้ง ผู้สั่ง แต่งตั้ง พิจารณา ส่งกระทรวงการคลัง ออกคําสั่งให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน บังคับคดี
73.
Thank You! Q &
A