SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น พารามีเซียม ,  ปลาน้ำจืด ,  ปลาน้ำเค็ม ,  นกทะเล ฯลฯ  ต่างก็มีความต้องการน้ำและแร่ธาตุในปริมาณที่พอเหมาะ  ดังนั้นจึงต้องมีการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในร่างกาย แต่รายละเอียดของกลไกในการรักษาดุลยภาพจะแตกต่างกัน  เช่น ...
การรักษาดุลยภาพของน้ำในพารามีเซียม “ พารามีเซียม”   ( Paramecium  sp. )  เป็น สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ที่มีความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าสารละลายภายในพารามีเซียม  น้ำจึงออสโมซิสเข้าสู่พารามีเซียมมากกว่า -  ดังนั้นพารามีเซียมจึงมีโครงสร้าง  “คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล”   ( Contractile vacuole )  ที่ช่วย ขับน้ำส่วนเกินที่ออสโมซิสเข้ามาออกจากเซลล์พารามีเซียม
เซลล์พารามีเซียมก่อนขับน้ำส่วนเกิน เซลล์พารามีเซียมหลังขับน้ำส่วนเกิน
การรักษาดุลยภาพของน้ำในปลาน้ำจืด “ ปลาน้ำจืด”  เช่น ปลาตะเพียน ,  ปลานิล ฯลฯ เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด   เช่น แม่น้ำ  ที่มีความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าสารละลายภายในร่างกายของปลาน้ำจืด   น้ำจึงออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ที่เหงือกปลาน้ำจืดผ่านทางการรับประทานอาหารมากกว่า -  ดังนั้นปลาน้ำจืดจึงต้อง มีเกล็ดและผิวหนังที่หนาเพื่อกันน้ำซึมเข้าสู่ร่างกายภายใน ,  ปัสสาวะที่ขับต้องมีปริมาณน้ำมาก   ( ความเข้มข้นน้อย )  เพื่อขับน้ำส่วนเกินออกไป และ ใช้เซลล์พิเศษที่เหงือกดูดซึมแร่ธาตุกลับคืนเข้าสู่ร่างกายโดยการลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในปลาน้ำเค็ม “ ปลาน้ำเค็ม”  เช่น ปลาทูน่า ,  ปลาการ์ตูน ฯลฯ เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำเค็ม   เช่น ทะเล  ที่มีความเข้มข้นของสารละลายมากกว่าสารละลายภายในร่างกายของปลาน้ำเค็ม   น้ำจึงออสโมซิสออกจากเซลล์ของปลาน้ำเค็มมากกว่า -  ดังนั้นปลาน้ำเค็มจึงต้อง มีเกล็ดและผิวหนังที่หนาเพื่อกันแร่ธาตุแพร่เข้าสู่ร่างกายภายในมากเกินไป ,  ปัสสาวะที่ขับจะมีปริมาณน้ำน้อย   ( ความเข้มข้นมาก )  เพื่อสงวนน้ำเอาไว้ ,  ขับแร่ธาตุส่วนเกินด้วยเซลล์พิเศษที่เหงือกโดยการลำเลียงแบบใช้พลังงาน  และ ดูดซึมแร่ธาตุจากอาหารน้อย
 
การรักษาดุลยภาพของน้ำในนกทะเล -  นกที่อาศัยอยู่ริมทะเล เช่น  นกอัลบาทรอส  จะได้รับแร่ธาตุจากไอน้ำทะเลอยู่ตลอดเวลา -  ดังนั้นนกเหล่านี้จึงมี  “ต่อมนาสิก”   ( Nasal gland )  เพื่อขับน้ำเกลือส่วนเกินออกทางรูจมูก ของนกทะเล
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย “ อุณหภูมิของร่างกาย”  ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์ เช่น เอนไซม์อะไมเลส ดังกราฟ ...
-  ร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีช่วงอุณหภูมิในร่างกายที่เหมาะสมไม่เท่ากัน ในกรณี ร่างกายมนุษย์จะมีอุณหภูมิในร่างกายเฉลี่ย  37  องศาเซลเซียส  ( เป็นอุณหภูมิแกนกลางของร่างกายมนุษย์ ) -  ดังนั้น ร่างกายของมนุษย์จึงต้องมีการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป ในช่วงที่มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
กลไกการควบคุมการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิของร่างกายสูงเกินกว่า  37  องศาเซลเซียส  ( ๐ C )  สมองส่วนไฮโปทาลามัสก็จะกระตุ้นร่างกายตอบสนองดังนี้ 1.  หลอดเลือดขยายตัว เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างร่างกายกับสิ่งแวดล้อม  ( ทำให้เกิดอาการผิวแดง ) 2.  ขับเหงื่อจากต่อมเหงื่อ  แล้วนำความร้อนจากร่างกายถ่ายเทให้กับเหงื่อจนระเหยไป 3.  ลดอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย
 
ถ้าอุณหภูมิของร่างกายต่ำลงกว่า  37  องศาเซลเซียส  ( ๐ C )  สมองส่วนไฮโปทาลามัสก็จะกระตุ้นร่างกายตอบสนองดังนี้ 1.  หลอดเลือดหดตัว เพื่อลดพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างร่างกายกับสิ่งแวดล้อม  ( ทำให้เกิดอาการผิวซีด ) 2.  กล้ามเนื้อโครงร่างหดตัวอย่างรวดเร็ว  ทำให้เกิดอาการหนาวสั่นและเกิดพลังงานจากการสั่น 3.  ขนลุกชัน  เพื่อเป็นฉนวนกันความร้อนออกจากร่างกาย 4.  เพิ่มอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย
 
-  ในกลไกการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิของร่างกายดังกล่าวพบว่า อวัยวะที่มีความสำคัญมาก คือ  “ผิวหนัง”   ( Skin ) -  องค์ประกอบภายในผิวหนังที่มีบทบาทต่อการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิ ได้แก่ .... 1.  ต่อมเหงื่อ 2.  หลอดเลือดในชั้นผิวหนัง 3.  ขนที่ปกคลุมผิวหนัง 4.  กล้ามเนื้อในชั้นผิวหนัง
การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิของสัตว์ต่างๆ สัตว์ต่างๆก็มีกลไกในการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิที่แตกต่างกันออกไป แต่สามารถ แบ่งลักษณะกลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์ได้เป็น  2  แบบ   โดยใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกายที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในสิ่งแวดล้อม  ได้แก่ ... 1.  สัตว์เลือดเย็น  ( Poikilothermic Animal ) 2.  สัตว์เลือดอุ่น  ( Homeothermic Animal )
-  สัตว์เลือดเย็น  หมายถึง สัตว์ที่ มีอุณหภูมิของร่างกายแปรผันไปตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม  ตัวอย่างของสัตว์เลือดเย็น เช่น ปลา ,  สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ,  สัตว์เลื้อยคลาน -  สัตว์เลือดอุ่น  หมายถึง สัตว์ที่ รักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่แม้อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไป  ตัวอย่างของสัตว์เลือดอุ่น เช่น สัตว์ปีก ,  สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
 
-  นอกจากนี้สัตว์ยัง ใช้พฤติกรรม บางอย่างในการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย เช่น การลงเล่นน้ำ ,  การอพยพ ,  การจำศีล ฯลฯ

More Related Content

What's hot

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 

What's hot (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 

Viewers also liked

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายNan Nam
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 

Viewers also liked (8)

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกายการรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 

More from Tatthep Deesukon

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1Tatthep Deesukon
 

More from Tatthep Deesukon (6)

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4

  • 1. การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เช่น พารามีเซียม , ปลาน้ำจืด , ปลาน้ำเค็ม , นกทะเล ฯลฯ ต่างก็มีความต้องการน้ำและแร่ธาตุในปริมาณที่พอเหมาะ ดังนั้นจึงต้องมีการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในร่างกาย แต่รายละเอียดของกลไกในการรักษาดุลยภาพจะแตกต่างกัน เช่น ...
  • 2. การรักษาดุลยภาพของน้ำในพารามีเซียม “ พารามีเซียม” ( Paramecium sp. ) เป็น สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด ที่มีความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าสารละลายภายในพารามีเซียม น้ำจึงออสโมซิสเข้าสู่พารามีเซียมมากกว่า - ดังนั้นพารามีเซียมจึงมีโครงสร้าง “คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล” ( Contractile vacuole ) ที่ช่วย ขับน้ำส่วนเกินที่ออสโมซิสเข้ามาออกจากเซลล์พารามีเซียม
  • 4. การรักษาดุลยภาพของน้ำในปลาน้ำจืด “ ปลาน้ำจืด” เช่น ปลาตะเพียน , ปลานิล ฯลฯ เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด เช่น แม่น้ำ ที่มีความเข้มข้นของสารละลายน้อยกว่าสารละลายภายในร่างกายของปลาน้ำจืด น้ำจึงออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ที่เหงือกปลาน้ำจืดผ่านทางการรับประทานอาหารมากกว่า - ดังนั้นปลาน้ำจืดจึงต้อง มีเกล็ดและผิวหนังที่หนาเพื่อกันน้ำซึมเข้าสู่ร่างกายภายใน , ปัสสาวะที่ขับต้องมีปริมาณน้ำมาก ( ความเข้มข้นน้อย ) เพื่อขับน้ำส่วนเกินออกไป และ ใช้เซลล์พิเศษที่เหงือกดูดซึมแร่ธาตุกลับคืนเข้าสู่ร่างกายโดยการลำเลียงสารแบบใช้พลังงาน
  • 5.  
  • 6. การรักษาดุลยภาพของน้ำในปลาน้ำเค็ม “ ปลาน้ำเค็ม” เช่น ปลาทูน่า , ปลาการ์ตูน ฯลฯ เป็นสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำเค็ม เช่น ทะเล ที่มีความเข้มข้นของสารละลายมากกว่าสารละลายภายในร่างกายของปลาน้ำเค็ม น้ำจึงออสโมซิสออกจากเซลล์ของปลาน้ำเค็มมากกว่า - ดังนั้นปลาน้ำเค็มจึงต้อง มีเกล็ดและผิวหนังที่หนาเพื่อกันแร่ธาตุแพร่เข้าสู่ร่างกายภายในมากเกินไป , ปัสสาวะที่ขับจะมีปริมาณน้ำน้อย ( ความเข้มข้นมาก ) เพื่อสงวนน้ำเอาไว้ , ขับแร่ธาตุส่วนเกินด้วยเซลล์พิเศษที่เหงือกโดยการลำเลียงแบบใช้พลังงาน และ ดูดซึมแร่ธาตุจากอาหารน้อย
  • 7.  
  • 8. การรักษาดุลยภาพของน้ำในนกทะเล - นกที่อาศัยอยู่ริมทะเล เช่น นกอัลบาทรอส จะได้รับแร่ธาตุจากไอน้ำทะเลอยู่ตลอดเวลา - ดังนั้นนกเหล่านี้จึงมี “ต่อมนาสิก” ( Nasal gland ) เพื่อขับน้ำเกลือส่วนเกินออกทางรูจมูก ของนกทะเล
  • 9. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย “ อุณหภูมิของร่างกาย” ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของเอนไซม์ เช่น เอนไซม์อะไมเลส ดังกราฟ ...
  • 10. - ร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีช่วงอุณหภูมิในร่างกายที่เหมาะสมไม่เท่ากัน ในกรณี ร่างกายมนุษย์จะมีอุณหภูมิในร่างกายเฉลี่ย 37 องศาเซลเซียส ( เป็นอุณหภูมิแกนกลางของร่างกายมนุษย์ ) - ดังนั้น ร่างกายของมนุษย์จึงต้องมีการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ แม้จะอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงไป ในช่วงที่มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
  • 11. กลไกการควบคุมการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิของร่างกายสูงเกินกว่า 37 องศาเซลเซียส ( ๐ C ) สมองส่วนไฮโปทาลามัสก็จะกระตุ้นร่างกายตอบสนองดังนี้ 1. หลอดเลือดขยายตัว เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างร่างกายกับสิ่งแวดล้อม ( ทำให้เกิดอาการผิวแดง ) 2. ขับเหงื่อจากต่อมเหงื่อ แล้วนำความร้อนจากร่างกายถ่ายเทให้กับเหงื่อจนระเหยไป 3. ลดอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย
  • 12.  
  • 13. ถ้าอุณหภูมิของร่างกายต่ำลงกว่า 37 องศาเซลเซียส ( ๐ C ) สมองส่วนไฮโปทาลามัสก็จะกระตุ้นร่างกายตอบสนองดังนี้ 1. หลอดเลือดหดตัว เพื่อลดพื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนความร้อนระหว่างร่างกายกับสิ่งแวดล้อม ( ทำให้เกิดอาการผิวซีด ) 2. กล้ามเนื้อโครงร่างหดตัวอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดอาการหนาวสั่นและเกิดพลังงานจากการสั่น 3. ขนลุกชัน เพื่อเป็นฉนวนกันความร้อนออกจากร่างกาย 4. เพิ่มอัตราเมตาบอลิซึมในร่างกาย
  • 14.  
  • 15. - ในกลไกการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิของร่างกายดังกล่าวพบว่า อวัยวะที่มีความสำคัญมาก คือ “ผิวหนัง” ( Skin ) - องค์ประกอบภายในผิวหนังที่มีบทบาทต่อการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิ ได้แก่ .... 1. ต่อมเหงื่อ 2. หลอดเลือดในชั้นผิวหนัง 3. ขนที่ปกคลุมผิวหนัง 4. กล้ามเนื้อในชั้นผิวหนัง
  • 16. การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิของสัตว์ต่างๆ สัตว์ต่างๆก็มีกลไกในการรักษาดุลยภาพด้านอุณหภูมิที่แตกต่างกันออกไป แต่สามารถ แบ่งลักษณะกลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในสัตว์ได้เป็น 2 แบบ โดยใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกายที่สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ... 1. สัตว์เลือดเย็น ( Poikilothermic Animal ) 2. สัตว์เลือดอุ่น ( Homeothermic Animal )
  • 17. - สัตว์เลือดเย็น หมายถึง สัตว์ที่ มีอุณหภูมิของร่างกายแปรผันไปตามอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม ตัวอย่างของสัตว์เลือดเย็น เช่น ปลา , สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก , สัตว์เลื้อยคลาน - สัตว์เลือดอุ่น หมายถึง สัตว์ที่ รักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่แม้อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมจะเปลี่ยนแปลงไป ตัวอย่างของสัตว์เลือดอุ่น เช่น สัตว์ปีก , สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
  • 18.  
  • 19. - นอกจากนี้สัตว์ยัง ใช้พฤติกรรม บางอย่างในการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย เช่น การลงเล่นน้ำ , การอพยพ , การจำศีล ฯลฯ