SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม
ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง
การศึกษาเท่านั้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ในการดาเนินธุรกิจกับชาวต่างประเทศบริษัทจะประสบความสาเร็จหรือไม่
ขึ้นอยู่กับว่า จะจัดการกับความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมในบริษัทได้อย่างไร ดู
เหมือนว่าจะมีการนิยามในเรื่องนี้ต่าง ๆ กันไป บางแห่งอาจประสงค์ที่จะประสาน
ความแตกต่างเข้าด้วยกัน หรือทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้แล้วก็อดทนกันไปเรื่อย ๆ หรือไม่ก็
พยายามหาทางสนับสนุน ส่งเสริม หรือกระตุ้นว่า ความแตกต่างไม่ใช่สิ่งผิดปกติอะไร
ทุกคนยังคงบุคลิกภาพ รูปแบบ ค่านิยม อารมณ์ และความรู้สึกได้เหมือนเดิม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ไมเคิล ไบรัม (Michael Byram อ้างอิงใน ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์,
2554, หน้า 109) ได้กล่าวถึงความสาคัญในการเรียนรู้วัฒนธรรมของต่างชาติ
ต่อการทาธุรกิจว่า “การเรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติเป็นสิ่งจาเป็นเพื่อสร้างคุณค่าการ
สื่อสารและต่อรองทางธุรกิจ ดังนั้นจึงควรให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมต่างชาติมาก
ๆ พอกับวัฒนธรรมของตนเอง การเข้าใจในวัฒนธรรม จะช่วยให้เราเข้าใจตนเองและ
เข้าใจผู้อื่นดีขึ้นด้วย”
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียงและได้รับการอ้างถึง
ได้แก่การศึกษาวิจัยโดย Geert Hofstede นักวิจัยชาวเนเธอแลนด์ ศึกษา
เกี่ยวกับมิติความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ Hofstede เริ่ม
ค้นคว้าจากการเก็บข้อมูลในปี 1980 ทั้งหมด 40 ประเทศ ใน 3 ทวีป และศึกษา
เพิ่มอีก ประเทศ 3 ในปี 1983 การวิจัยของ Geert Hofstede อธิบายถึง
ความแตกต่างเกี่ยวกับบรรทัดฐาน (norms) ในแต่ละประเทศ ซึ่งส่งผลให้
รูปแบบการดารงชีวิตของผู้คนในแต่ละประเทศหรือแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน
รูปแบบการดารงชีวิตนี้มีผลทาให้วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน
ออกไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. มิติที่ 1 เน้นความเป็นปัจเจกบุคคล (individualism) และการเน้นความ
เป็นกลุ่ม (collectivism)
2. มิติที่ 2 ความแตกต่างระหว่างอานาจของแต่ละบุคคลในสังคม (Power
Distance)
3. มิติที่ 3 การเน้นลักษณะความเป็นชาย (Masculinity) และการเน้นลักษณะ
ความเป็นหญิง (Femininity)
4. มิติที่ 4 การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (Uncertainty Avoidance)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การเน้นความเป็นปัจเจกบุคคล (individualism) เป็นกลุ่มสังคมหรือ
วัฒนธรรมที่ถือเอาจุดมุ่งหมายสูงสุด (goal) ของปัจเจกบุคคลเป็นสาคัญ สังคม
ประเภทนี้จะเน้นการแข่งขัน ผู้คนมักสนใจความสาคัญของปัจเจกบุคคล หรืออาจ
รวมถึงครอบครัว ทุกคนยึดมั่นในอุดมการณ์ของตน ถือสิทธิส่วนบุคคลเป็นสาคัญ มี
ความคิด ค่านิยม และการตัดสินใจดัวยตนเอง ทาให้สังคมประเภทนี้ไม่ให้
ความสาคัญกับระบบพวกพ้อง หรือการแบ่งเป็นกลุ่มเขา กลุ่มเรา (in-group-
outgroup) Hofstede ชี้ว่า สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา
เนเธอร์แลนด์ เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมในรูปแบบนี้สูงกว่าชาติอื่น ๆ ที่พบใน
งานวิจัย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 การเน้นความเป็นกลุ่ม (Collectivism) ตรงกันข้ามกับสังคมกลุ่มแรก
ประเทศแถบเอเซีย โคลัมเบีย อเมริกาใต้ เป็นตัวอย่างของกลุ่มสังคมที่ยึดถือระบบ
พวกพ้องเป็นหลัก จุดมุ่งหมายของกลุ่มเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของสมาชิก ทาให้
อุดมการณ์ของผู้คนอยู่กับการสร้างความสาเร็จร่วมกันให้แก่กลุ่ม แต่ทั้งนี้แต่ละกลุ่ม
สังคมอาจมีการแบ่งเป็นกลุ่มเขา-กลุ่มเรา (in-group -outgroup) มาก
น้อยต่างกัน โดยทั่วไปสมาชิกจะใช้บรรทัดฐาน (norms) ของกลุ่มร่วมกัน มีการ
จะเน้นความสาคัญพึ่งพาอาศัยกันและกันสูง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ในสังคมที่มีความแตกต่างกันสูง (high power distance) คนจะยอมรับว่า
อานาจนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และการแบ่งอานาจให้แต่ละคน แต่ละบทบาท แต่ละ
ตาแหน่งนั้นไม่เท่ากันซึ่งแต่ละวัฒนธรรมก็มีอัตราการยอมรับความแตกต่างทางอานาจไม่
เท่ากันเช่นกัน เช่น ประเทศที่มีความแตกต่างระหว่างผู้มีอานาจทางสังคมมากและน้อยแบ่ง
แยกกันชัดเจน ได้แก่ อินเดีย ไทย กรีก ซึ่งคนในวัฒนธรรมเหล่านี้จะได้รับการสอนว่า คนใน
โลกนี้ไม่เท่ากัน อานาจสิทธิขาดของคน เป็นสิ่งที่พึงแสวงหาเพื่อนาสู่ความสงบสุข การมี
เสรีภาพต้องมาจากการมีอานาจ ที่เห็นได้ชัดคือ ประเทศอินเดีย ซึ่งมีระบบวรรณะ ถือว่าการ
สืบเชื้อสายของแต่ละวรรณะอย่างบริสุทธิ์เป็นสิ่งสาคัญ คนที่อยู่ในสถานภาพที่สูงกว่าจะ
มองคนที่อยู่ในสถานภาพต่ากว่าต่างจากตน เน้นการบังคับ ในหลายประเทศทางเอเซีย ซึ่ง
เคยมีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ คือ สมมติเทพ ทาให้เกิดความแตกต่างระหว่างสถาบัน
พระมหากษัตริย์และประชาชน มีความแตกต่างในเรื่องระดับของภาษา เช่นการใช้คา
ราชาศัทพ์ พิธีกรรมต่าง ๆ (เมตตา วิวัฒนานุกูล, 2548, หน้า 69)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 สังคมแบบ Masculinity เป็นวัฒนธรรมที่มีค่านิยมในการแสดงอานาจ เป็น
สังคมที่เน้นการแข่งขัน มีลักษณะตัวใครตัวมัน ต้องการอิสระมองว่างานเป็น
ศูนย์กลางของชีวิต บางครั้งยอมให้งานแทรกแซงชีวิตส่วนตัวต่างคนต่างทางานเพื่อ
ความสาเร็จ โดยวัดความสาเร็จทางวัตถุบทบาทของชายและหญิงต่างกันอย่าง
ชัดเจน โดยส่วนใหญ่ผู้ชายมักมีอานาจเหนือกว่าและเชื่อว่าธรรมชาติมีเพื่อ
ตอบสนองความต้องการและอานวยความสะดวกเท่านั้น มนุษย์เป็นผู้ควบคุมเหนือ
ธรรมชาติ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ส่วนสังคมแบบ Femininity สังคมประเภทนี้จะให้คุณค่าต่อบุคคล ชีวิต และ
สิ่งแวดล้อม เชื่อว่าธรรมชาติและมนุษย์เป็นสิ่งที่พึ่งพาอาศัยกัน จึงเน้นความ
อะลุ่มอล่วย ให้ความสาคัญต่อคุณภาพการดารงอยู่ การใช้ชีวิตและความสัมพันธ์
มากกว่าความสาเร็จทางวัตถุ ไม่แยกบทบาทชาย-หญิงชัดเจนนัก บทบาททางเพศมี
การยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์และเชื่อว่าผู้หญิงผู้ชาย มีอานาจเท่าเทียมกัน
(เมตตา วิวัฒนานุกูล, 2548, หน้า 70)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ลักษณะคนหรือสังคมที่หลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนสูง(High-Uncertainty
Avoidance) พื้นฐานความคิดของคนกลุ่มนี้ตั้งอยู่บนความไม่มั่นใจในความ
เปลี่ยนแปลงในอนาคต ต้องการความปลอดภัยและความมั่นคงในชีวิต ไม่เชื่อมั่นว่าความ
เปลี่ยนแปลงจะนาไปสู่สิ่งที่ดีขึ้น ทาให้สังคมมีกฏระเบียบ ที่เคร่งครัดและตายตัวในการ
ปฏิบัติตนและพฤติกรรมของผู้คนในสังคมสมาชิกจะมีความวิตกและกังวลความเครียดที่
เกี่ยวกับความไม่แน่นอน จึงหาทางหลีกเลี่ยง ทั้งนี้เพื่อสร้างความมั่นใจในความปลอดภัย
ของตนเองพฤติกรรมที่แสดงความก้าวร้าวเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ หากเกิดขึ้นเพื่อรักษากฏ
ระเบียบ สังคมรูปแบบนี้จะแสดงการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงอย่างเต็มที่สังคมจะเชื่อ
บุคคลที่มีคุณวุฒิวัยวุฒิสูงหรือผู้เชี่ยวชาญ และไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่
เท่าไรนัก ในการทางานต้องการข้อมูลและการวางแผนอย่างเป็นทางการ และมักไม่ชอบ
ร่วมงานกับผู้ที่มีอายุน้อยกว่า ทั้งนี้เพื่อป้องกันความขัดแย้งหรือเพื่อประสิทธิภาพของการ
เจรจาต่อรองต่าง ๆ ให้ดียิ่งขึ้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ลักษณะสังคมที่หลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนต่า (Low-Uncertainty
Avoidance) สังคมประเภทนี้จะชอบความท้าทายไม่ยึดติดกับกฏต่าง ๆ เท่าไร
นัก ทาให้สมาชิกมีแนวโน้มที่จะเกิดความเครียดหรือความวิตกกังวลเกี่ยวกับอนาคต
น้อยกว่าประเภทแรก การดาเนินชีวิตสามารถปรับเปลี่ยนผ่อนผันหรือยืดหยุ่นตาม
สถานการณ์ การทางานไม่จาเป็นต้องกฎระเบียบ อย่างเคร่งครัด มีทัศนคติที่ดีต่อคน
รุ่นใหม่ เน้นระบบเสรีนิยม เชื่อถือในความสามารถของบุคคลและคานึงถึงสามัญ
สานึกมากกว่าผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีคุณวุฒิ จึงทาให้ผู้คนยอมรับฟังความคิดเห็นกัน
และกันมากกว่า (เมตตา วิวัฒนานุกูล, 2548, หน้า 71)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประเทศที่อยู่ในลักษณะของวัฒนธรรมแบบอิงบริบทสูง(High Context
Culture) นี้ได้แก่ ประเทศในแถบตะวันออกหรือเอเชีย เช่น ประเทศญี่ปุ่น จีน
ไทย โดยมีการให้ ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมภายนอก สถานการณ์ พฤติกรรม
การติดต่อสื่อสารด้วยภาษาไม่ใช่ภาษาพูดหรือภาษาเขียน ซึ่งจะมีการใช้
ค่อนข้างมาก (อาการกิริยาบางอย่าง เช่น การสบสายตาตรง ๆ กับบุคคลอื่น ๆ จะ
น้อยการแสดงสีหน้ามักเรียบเฉย หรือแสดงอาการเขินอาย อิริยาบถจะมองดู
เรียบร้อย ส่วนช่องว่างบุคคลจะมีระยะที่ห่าง) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะยึด
ความสัมพันธ์ที่ยาวนาน หรือใช้เวลาในการทาความรู้จักกันก่อนและความสัมพันธ์
ส่วนบุคคล และมักนาความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปปะปนด้วย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ส่วนประเทศที่มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมแบบอิงบริบทต่า (Low Context
Culture Concept) จะมีลักษณะที่ตรงกันข้ามกับประเทศที่มีลักษณะ
High Context Culture ได้แก่ประเทศทางตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกา
เยอรมัน ออสเตรีย ที่รูปแบบการติดต่อสื่อสารจะมีแนวโน้มที่เป็นลักษณะตรง ๆ ไม่
อ้อมค้อม ไม่ปิดบังความรู้สึก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะเป็นแบบทางการ
การทาธุรกิจหรือการเจรจาทางธุรกิจหรือทาข้อตกลงจะเน้นการยึดเรื่องการทา
สัญญา หรือความถูกต้องตามกฎหมาย มากกว่าใช้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล มีการให้
ความสาคัญกับแนวคิด หลักการ และเหตุผล ส่วนช่องว่างระหว่างบุคคลจะมีน้อย
และมีการใช้ภาษากายในการติดต่อสื่อสาร การทักทาย จะมีการสัมผัสร่างกายกัน
และกัน เช่น การจับมือ การสวมกอด มีการแสดงออกทางสีหน้าในอารมณ์ต่าง ๆ
และมักจะสบตากันตรง ๆ (ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์, 2554, หน้า 141)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประเทศเพื่อนบ้านของไทยส่วนใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกับประเทศไทยในเรื่อง
ปัจจัย ที่ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมที่คล้าย ๆ กันในด้านการดารงชีวิตของสังคมในโลก
แถบตะวันออก ได้แก่ประวัติศาสตร์ความเป็นชาติพันธุ์ การมีศูนย์ร่วมจิตใจคือ
พระมหากษัตริย์ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ค่านิยม ประเพณี เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 แต่บางประเทศเพื่อนบ้านและประเทศไทยก็อาจมีความแตกต่างกันในเรื่องบางเรื่อง
เช่นด้านการเมือง ระบบการปกครอง หรือ ภาษา ซึ่งในเรื่องการเมืองนั้นประเทศ
เพื่อนบ้านบางประเทศยังมีการปกครองแบบสังคมนิยมไม่ได้เป็นประชาธิปไตย ทั้งนี้
ด้วยสาเหตุของการเกิดข้อพิพาททางการเมืองการปกครองหรือการถูกครอบครอง
โดยจักรวรรดินิยมมาก่อน ซึ่งส่งผลทาให้ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านอยู่ใน
สภาพที่ห่างเหินกันและไม่มีการศึกษาวิจัยในระหว่างกันอย่างจริงจัง หรือเกิดความ
หวาดระแวงซึ่งกันและกันซึ่งมีความแตกต่างจากกลุ่มประเทศในแถบยุโรปที่มี
ความสัมพันธ์กันค่อนข้างใกล้ชิดและมีระบบการใช้เงินสกุลเดียวกัน (ยูโร) มีการ
อนุญาต ให้ประชาชนเดินทางไปมาระหว่างกันได้อย่างสะดวกโดยไม่ต้องมีวีซ่าเพื่อ
ขอเดินทางเข้าประเทศ (ผศ.ดร.เพ็ชรี ธูปะวิเชตร์, 2554, หน้า 307)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ในการศึกษาวัฒนธรรมการจัดการของประเทศเพื่อนบ้าน ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์
ได้นาเสนอขั้นตอนในการศึกษาวัฒนธรรมการจัดการ โดยเริ่มจากการศึกษา
ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชนชาติ ลักษณะของภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ศาสนา
ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สภาพสังคม
วัฒนธรรม ระบบการศึกษา เทคโนโลยีหรือภูมิปัญญาที่ใช้ตลอดจนประวัติศาสตร์
การถูกรุกรานหรือครอบครองประเทศในอาณานิคม ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้เราค่อย ๆ
เข้าใจวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านและสามารถนาไปสู่การสรุป การวิเคราะห์
วัฒนธรรมการจัดการของประเทศเพื่อนบ้านต่างๆ ได้ในที่สุด โดยนาผลการศึกษา
ของ Geert Hofstede ที่ได้ทาการศึกษามิติด้านวัฒนธรรมการจัดการของ
ประเทศสิงโปร์ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ มาประกอบ (ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะ
วิเชตร์ , 2554, หน้า 311)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
วัฒนธรรมการจัดการหรือแนวคิดเรื่องวัฒนธรรมที่ได้ศึกษาในบทเรียนนี้จะช่วยให้เรา
เข้าใจมาตรฐานของการแสดงออกของแต่ละชนชาติเพื่อทาให้การมีความสัมพันธ์หรือ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันได้ดาเนินไปอย่างราบรื่น เพราะปัญหาด้านความไม่เข้าใจกันส่วนใหญ่
มักอยู่ บนพื้นฐานของการตีความตามความคิด ความเชื่อหรือปทัสถานของสังคมตนเอง
ซึ่งปัจจุบันเรื่องของมิติทางวัฒนธรรมก็เป็นส่วนหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทและเป็นเรื่องที่
ทุกคนควรสนใจหันมาทาการศึกษา ซึ่งทฤษฏีของ Geert Hofstede ได้รับการยอมรับ
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและผลกระทบจากวัฒนธรรมที่มีต่อการทางานระหว่างเชื้อ
ชาติ นอกจากนี้เรายังสามารถนาทฤษฏีที่ได้ศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการทาธุรกิจระหว่าง
ประเทศ ซึ่ง Hofstede ได้แบ่งมิติทางวัฒนธรรมออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1. เน้นความ
เป็นปัจเจกบุคคล (individualism) และการเน้นความเป็นกลุ่ม (collectivism)
2. ความแตกต่างระหว่างอานาจของแต่ละบุคคลในสังคม (Power Distance) 3.
การเน้นลักษณะความเป็นชาย (Masculinity)และการเน้นลักษณะความเป็นหญิง
(Femininity) 4. การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (Uncertainty
Avoidance)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการข้ามวัฒนธรรมเกิดจากอะไร
2. ใครเป็นเจ้าของทฤษฏีมิติทางวัฒนธรรม
3. มิติทางวัฒนธรรมแบ่งได้เป็นกี่มิติ
4. คนไทยอยู่ในมิติทางวัฒนธรรมของใดบ้าง
5. หากเจอนักธุรกิจชาวอเมริกาท่านจะนามิติทางวัฒนธรรมข้อใดมาใช้
6. หากเจอนักธุรกิจชาวเกาหลีท่านจะนามิติทางวัฒนธรรมข้อใดมาใช้
7. ท่านสามารถนามิติทางวัฒนธรรมไปประยุกต์ใช้กับงานในอนาคตได้อย่างไร
8. ประเทศในแถบใดจัดเป็นวัฒนธรรมแบบอิงบริบทสูง
9. ประเทศในแถบใดจัดเป็นวัฒนธรรมแบบอิงบริบทต่า
10. ประเทศไทยจัดเป็นแบบอิงบริบทสูงหรือต่า

More Related Content

What's hot

กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติTeetut Tresirichod
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารWanlop Chimpalee
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยFURD_RSU
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ SineKat Suksrikong
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18kkkkon
 

What's hot (20)

กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติบทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
บทที่ 5 สิ่งท้าทายในการเจรจาต่อรองข้ามชาติ
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
การพูดอภิปราย
การพูดอภิปรายการพูดอภิปราย
การพูดอภิปราย
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหารความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
ความสำคัญของการประกอบทำอาหาร
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sineคัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Sine
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18แบบทดสอบอายุ7 18
แบบทดสอบอายุ7 18
 

Similar to Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences

Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureTeetut Tresirichod
 
Good governance2
Good governance2Good governance2
Good governance2gimzui
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครูSakaeoPlan
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative LearningUtai Sukviwatsirikul
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canadasoftganz
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดKruthai Kidsdee
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1Prapaporn Boonplord
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsTeetut Tresirichod
 
DEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptx
DEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptxDEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptx
DEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptxmaruay songtanin
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 

Similar to Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences (20)

Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
 
11
1111
11
 
11
1111
11
 
Good governance2
Good governance2Good governance2
Good governance2
 
HRM 01 in Ed.
HRM 01 in Ed.HRM 01 in Ed.
HRM 01 in Ed.
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครูหนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง   สถาบันพัฒนาครู
หนังสือเรื่อง เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง สถาบันพัฒนาครู
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learningเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง Transformative Learning
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติดโครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
โครงสร้างและแผนแอมพัน์ม5อย่าไปหาสารเสพติด
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditions
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
DEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptx
DEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptxDEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptx
DEI ความหลากหลาย ความเท่าเทียม และการมีส่วนร่วม.pptx
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษา
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 

Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง การศึกษาเท่านั้น
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ ในการดาเนินธุรกิจกับชาวต่างประเทศบริษัทจะประสบความสาเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่า จะจัดการกับความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมในบริษัทได้อย่างไร ดู เหมือนว่าจะมีการนิยามในเรื่องนี้ต่าง ๆ กันไป บางแห่งอาจประสงค์ที่จะประสาน ความแตกต่างเข้าด้วยกัน หรือทาเป็นไม่รู้ไม่ชี้แล้วก็อดทนกันไปเรื่อย ๆ หรือไม่ก็ พยายามหาทางสนับสนุน ส่งเสริม หรือกระตุ้นว่า ความแตกต่างไม่ใช่สิ่งผิดปกติอะไร ทุกคนยังคงบุคลิกภาพ รูปแบบ ค่านิยม อารมณ์ และความรู้สึกได้เหมือนเดิม
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ไมเคิล ไบรัม (Michael Byram อ้างอิงใน ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์, 2554, หน้า 109) ได้กล่าวถึงความสาคัญในการเรียนรู้วัฒนธรรมของต่างชาติ ต่อการทาธุรกิจว่า “การเรียนรู้วัฒนธรรมต่างชาติเป็นสิ่งจาเป็นเพื่อสร้างคุณค่าการ สื่อสารและต่อรองทางธุรกิจ ดังนั้นจึงควรให้ความสาคัญกับวัฒนธรรมต่างชาติมาก ๆ พอกับวัฒนธรรมของตนเอง การเข้าใจในวัฒนธรรม จะช่วยให้เราเข้าใจตนเองและ เข้าใจผู้อื่นดีขึ้นด้วย”
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียงและได้รับการอ้างถึง ได้แก่การศึกษาวิจัยโดย Geert Hofstede นักวิจัยชาวเนเธอแลนด์ ศึกษา เกี่ยวกับมิติความแตกต่างทางวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ Hofstede เริ่ม ค้นคว้าจากการเก็บข้อมูลในปี 1980 ทั้งหมด 40 ประเทศ ใน 3 ทวีป และศึกษา เพิ่มอีก ประเทศ 3 ในปี 1983 การวิจัยของ Geert Hofstede อธิบายถึง ความแตกต่างเกี่ยวกับบรรทัดฐาน (norms) ในแต่ละประเทศ ซึ่งส่งผลให้ รูปแบบการดารงชีวิตของผู้คนในแต่ละประเทศหรือแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน รูปแบบการดารงชีวิตนี้มีผลทาให้วัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นมีความแตกต่างกัน ออกไป
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. มิติที่ 1 เน้นความเป็นปัจเจกบุคคล (individualism) และการเน้นความ เป็นกลุ่ม (collectivism) 2. มิติที่ 2 ความแตกต่างระหว่างอานาจของแต่ละบุคคลในสังคม (Power Distance) 3. มิติที่ 3 การเน้นลักษณะความเป็นชาย (Masculinity) และการเน้นลักษณะ ความเป็นหญิง (Femininity) 4. มิติที่ 4 การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (Uncertainty Avoidance)
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การเน้นความเป็นปัจเจกบุคคล (individualism) เป็นกลุ่มสังคมหรือ วัฒนธรรมที่ถือเอาจุดมุ่งหมายสูงสุด (goal) ของปัจเจกบุคคลเป็นสาคัญ สังคม ประเภทนี้จะเน้นการแข่งขัน ผู้คนมักสนใจความสาคัญของปัจเจกบุคคล หรืออาจ รวมถึงครอบครัว ทุกคนยึดมั่นในอุดมการณ์ของตน ถือสิทธิส่วนบุคคลเป็นสาคัญ มี ความคิด ค่านิยม และการตัดสินใจดัวยตนเอง ทาให้สังคมประเภทนี้ไม่ให้ ความสาคัญกับระบบพวกพ้อง หรือการแบ่งเป็นกลุ่มเขา กลุ่มเรา (in-group- outgroup) Hofstede ชี้ว่า สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ แคนาดา เนเธอร์แลนด์ เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมในรูปแบบนี้สูงกว่าชาติอื่น ๆ ที่พบใน งานวิจัย
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  การเน้นความเป็นกลุ่ม (Collectivism) ตรงกันข้ามกับสังคมกลุ่มแรก ประเทศแถบเอเซีย โคลัมเบีย อเมริกาใต้ เป็นตัวอย่างของกลุ่มสังคมที่ยึดถือระบบ พวกพ้องเป็นหลัก จุดมุ่งหมายของกลุ่มเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของสมาชิก ทาให้ อุดมการณ์ของผู้คนอยู่กับการสร้างความสาเร็จร่วมกันให้แก่กลุ่ม แต่ทั้งนี้แต่ละกลุ่ม สังคมอาจมีการแบ่งเป็นกลุ่มเขา-กลุ่มเรา (in-group -outgroup) มาก น้อยต่างกัน โดยทั่วไปสมาชิกจะใช้บรรทัดฐาน (norms) ของกลุ่มร่วมกัน มีการ จะเน้นความสาคัญพึ่งพาอาศัยกันและกันสูง
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ในสังคมที่มีความแตกต่างกันสูง (high power distance) คนจะยอมรับว่า อานาจนั้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และการแบ่งอานาจให้แต่ละคน แต่ละบทบาท แต่ละ ตาแหน่งนั้นไม่เท่ากันซึ่งแต่ละวัฒนธรรมก็มีอัตราการยอมรับความแตกต่างทางอานาจไม่ เท่ากันเช่นกัน เช่น ประเทศที่มีความแตกต่างระหว่างผู้มีอานาจทางสังคมมากและน้อยแบ่ง แยกกันชัดเจน ได้แก่ อินเดีย ไทย กรีก ซึ่งคนในวัฒนธรรมเหล่านี้จะได้รับการสอนว่า คนใน โลกนี้ไม่เท่ากัน อานาจสิทธิขาดของคน เป็นสิ่งที่พึงแสวงหาเพื่อนาสู่ความสงบสุข การมี เสรีภาพต้องมาจากการมีอานาจ ที่เห็นได้ชัดคือ ประเทศอินเดีย ซึ่งมีระบบวรรณะ ถือว่าการ สืบเชื้อสายของแต่ละวรรณะอย่างบริสุทธิ์เป็นสิ่งสาคัญ คนที่อยู่ในสถานภาพที่สูงกว่าจะ มองคนที่อยู่ในสถานภาพต่ากว่าต่างจากตน เน้นการบังคับ ในหลายประเทศทางเอเซีย ซึ่ง เคยมีความเชื่อว่าพระมหากษัตริย์ คือ สมมติเทพ ทาให้เกิดความแตกต่างระหว่างสถาบัน พระมหากษัตริย์และประชาชน มีความแตกต่างในเรื่องระดับของภาษา เช่นการใช้คา ราชาศัทพ์ พิธีกรรมต่าง ๆ (เมตตา วิวัฒนานุกูล, 2548, หน้า 69)
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  สังคมแบบ Masculinity เป็นวัฒนธรรมที่มีค่านิยมในการแสดงอานาจ เป็น สังคมที่เน้นการแข่งขัน มีลักษณะตัวใครตัวมัน ต้องการอิสระมองว่างานเป็น ศูนย์กลางของชีวิต บางครั้งยอมให้งานแทรกแซงชีวิตส่วนตัวต่างคนต่างทางานเพื่อ ความสาเร็จ โดยวัดความสาเร็จทางวัตถุบทบาทของชายและหญิงต่างกันอย่าง ชัดเจน โดยส่วนใหญ่ผู้ชายมักมีอานาจเหนือกว่าและเชื่อว่าธรรมชาติมีเพื่อ ตอบสนองความต้องการและอานวยความสะดวกเท่านั้น มนุษย์เป็นผู้ควบคุมเหนือ ธรรมชาติ
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ส่วนสังคมแบบ Femininity สังคมประเภทนี้จะให้คุณค่าต่อบุคคล ชีวิต และ สิ่งแวดล้อม เชื่อว่าธรรมชาติและมนุษย์เป็นสิ่งที่พึ่งพาอาศัยกัน จึงเน้นความ อะลุ่มอล่วย ให้ความสาคัญต่อคุณภาพการดารงอยู่ การใช้ชีวิตและความสัมพันธ์ มากกว่าความสาเร็จทางวัตถุ ไม่แยกบทบาทชาย-หญิงชัดเจนนัก บทบาททางเพศมี การยืดหยุ่นได้ตามสถานการณ์และเชื่อว่าผู้หญิงผู้ชาย มีอานาจเท่าเทียมกัน (เมตตา วิวัฒนานุกูล, 2548, หน้า 70)
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ลักษณะคนหรือสังคมที่หลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนสูง(High-Uncertainty Avoidance) พื้นฐานความคิดของคนกลุ่มนี้ตั้งอยู่บนความไม่มั่นใจในความ เปลี่ยนแปลงในอนาคต ต้องการความปลอดภัยและความมั่นคงในชีวิต ไม่เชื่อมั่นว่าความ เปลี่ยนแปลงจะนาไปสู่สิ่งที่ดีขึ้น ทาให้สังคมมีกฏระเบียบ ที่เคร่งครัดและตายตัวในการ ปฏิบัติตนและพฤติกรรมของผู้คนในสังคมสมาชิกจะมีความวิตกและกังวลความเครียดที่ เกี่ยวกับความไม่แน่นอน จึงหาทางหลีกเลี่ยง ทั้งนี้เพื่อสร้างความมั่นใจในความปลอดภัย ของตนเองพฤติกรรมที่แสดงความก้าวร้าวเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ หากเกิดขึ้นเพื่อรักษากฏ ระเบียบ สังคมรูปแบบนี้จะแสดงการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงอย่างเต็มที่สังคมจะเชื่อ บุคคลที่มีคุณวุฒิวัยวุฒิสูงหรือผู้เชี่ยวชาญ และไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนรุ่นใหม่ เท่าไรนัก ในการทางานต้องการข้อมูลและการวางแผนอย่างเป็นทางการ และมักไม่ชอบ ร่วมงานกับผู้ที่มีอายุน้อยกว่า ทั้งนี้เพื่อป้องกันความขัดแย้งหรือเพื่อประสิทธิภาพของการ เจรจาต่อรองต่าง ๆ ให้ดียิ่งขึ้น
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ลักษณะสังคมที่หลีกเลี่ยงความไม่แน่นอนต่า (Low-Uncertainty Avoidance) สังคมประเภทนี้จะชอบความท้าทายไม่ยึดติดกับกฏต่าง ๆ เท่าไร นัก ทาให้สมาชิกมีแนวโน้มที่จะเกิดความเครียดหรือความวิตกกังวลเกี่ยวกับอนาคต น้อยกว่าประเภทแรก การดาเนินชีวิตสามารถปรับเปลี่ยนผ่อนผันหรือยืดหยุ่นตาม สถานการณ์ การทางานไม่จาเป็นต้องกฎระเบียบ อย่างเคร่งครัด มีทัศนคติที่ดีต่อคน รุ่นใหม่ เน้นระบบเสรีนิยม เชื่อถือในความสามารถของบุคคลและคานึงถึงสามัญ สานึกมากกว่าผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีคุณวุฒิ จึงทาให้ผู้คนยอมรับฟังความคิดเห็นกัน และกันมากกว่า (เมตตา วิวัฒนานุกูล, 2548, หน้า 71)
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประเทศที่อยู่ในลักษณะของวัฒนธรรมแบบอิงบริบทสูง(High Context Culture) นี้ได้แก่ ประเทศในแถบตะวันออกหรือเอเชีย เช่น ประเทศญี่ปุ่น จีน ไทย โดยมีการให้ ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมภายนอก สถานการณ์ พฤติกรรม การติดต่อสื่อสารด้วยภาษาไม่ใช่ภาษาพูดหรือภาษาเขียน ซึ่งจะมีการใช้ ค่อนข้างมาก (อาการกิริยาบางอย่าง เช่น การสบสายตาตรง ๆ กับบุคคลอื่น ๆ จะ น้อยการแสดงสีหน้ามักเรียบเฉย หรือแสดงอาการเขินอาย อิริยาบถจะมองดู เรียบร้อย ส่วนช่องว่างบุคคลจะมีระยะที่ห่าง) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะยึด ความสัมพันธ์ที่ยาวนาน หรือใช้เวลาในการทาความรู้จักกันก่อนและความสัมพันธ์ ส่วนบุคคล และมักนาความรู้สึกส่วนตัวเข้าไปปะปนด้วย
  • 15. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ส่วนประเทศที่มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมแบบอิงบริบทต่า (Low Context Culture Concept) จะมีลักษณะที่ตรงกันข้ามกับประเทศที่มีลักษณะ High Context Culture ได้แก่ประเทศทางตะวันตก เช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมัน ออสเตรีย ที่รูปแบบการติดต่อสื่อสารจะมีแนวโน้มที่เป็นลักษณะตรง ๆ ไม่ อ้อมค้อม ไม่ปิดบังความรู้สึก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลจะเป็นแบบทางการ การทาธุรกิจหรือการเจรจาทางธุรกิจหรือทาข้อตกลงจะเน้นการยึดเรื่องการทา สัญญา หรือความถูกต้องตามกฎหมาย มากกว่าใช้ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล มีการให้ ความสาคัญกับแนวคิด หลักการ และเหตุผล ส่วนช่องว่างระหว่างบุคคลจะมีน้อย และมีการใช้ภาษากายในการติดต่อสื่อสาร การทักทาย จะมีการสัมผัสร่างกายกัน และกัน เช่น การจับมือ การสวมกอด มีการแสดงออกทางสีหน้าในอารมณ์ต่าง ๆ และมักจะสบตากันตรง ๆ (ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์, 2554, หน้า 141)
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประเทศเพื่อนบ้านของไทยส่วนใหญ่จะมีความคล้ายคลึงกับประเทศไทยในเรื่อง ปัจจัย ที่ส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมที่คล้าย ๆ กันในด้านการดารงชีวิตของสังคมในโลก แถบตะวันออก ได้แก่ประวัติศาสตร์ความเป็นชาติพันธุ์ การมีศูนย์ร่วมจิตใจคือ พระมหากษัตริย์ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ค่านิยม ประเพณี เป็นต้น
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  แต่บางประเทศเพื่อนบ้านและประเทศไทยก็อาจมีความแตกต่างกันในเรื่องบางเรื่อง เช่นด้านการเมือง ระบบการปกครอง หรือ ภาษา ซึ่งในเรื่องการเมืองนั้นประเทศ เพื่อนบ้านบางประเทศยังมีการปกครองแบบสังคมนิยมไม่ได้เป็นประชาธิปไตย ทั้งนี้ ด้วยสาเหตุของการเกิดข้อพิพาททางการเมืองการปกครองหรือการถูกครอบครอง โดยจักรวรรดินิยมมาก่อน ซึ่งส่งผลทาให้ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านอยู่ใน สภาพที่ห่างเหินกันและไม่มีการศึกษาวิจัยในระหว่างกันอย่างจริงจัง หรือเกิดความ หวาดระแวงซึ่งกันและกันซึ่งมีความแตกต่างจากกลุ่มประเทศในแถบยุโรปที่มี ความสัมพันธ์กันค่อนข้างใกล้ชิดและมีระบบการใช้เงินสกุลเดียวกัน (ยูโร) มีการ อนุญาต ให้ประชาชนเดินทางไปมาระหว่างกันได้อย่างสะดวกโดยไม่ต้องมีวีซ่าเพื่อ ขอเดินทางเข้าประเทศ (ผศ.ดร.เพ็ชรี ธูปะวิเชตร์, 2554, หน้า 307)
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ในการศึกษาวัฒนธรรมการจัดการของประเทศเพื่อนบ้าน ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะวิเชตร์ ได้นาเสนอขั้นตอนในการศึกษาวัฒนธรรมการจัดการ โดยเริ่มจากการศึกษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชนชาติ ลักษณะของภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ศาสนา ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ สภาพสังคม วัฒนธรรม ระบบการศึกษา เทคโนโลยีหรือภูมิปัญญาที่ใช้ตลอดจนประวัติศาสตร์ การถูกรุกรานหรือครอบครองประเทศในอาณานิคม ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้เราค่อย ๆ เข้าใจวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านและสามารถนาไปสู่การสรุป การวิเคราะห์ วัฒนธรรมการจัดการของประเทศเพื่อนบ้านต่างๆ ได้ในที่สุด โดยนาผลการศึกษา ของ Geert Hofstede ที่ได้ทาการศึกษามิติด้านวัฒนธรรมการจัดการของ ประเทศสิงโปร์ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ มาประกอบ (ผศ.ดร.เพ็ญศรี รูปะ วิเชตร์ , 2554, หน้า 311)
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ วัฒนธรรมการจัดการหรือแนวคิดเรื่องวัฒนธรรมที่ได้ศึกษาในบทเรียนนี้จะช่วยให้เรา เข้าใจมาตรฐานของการแสดงออกของแต่ละชนชาติเพื่อทาให้การมีความสัมพันธ์หรือ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันได้ดาเนินไปอย่างราบรื่น เพราะปัญหาด้านความไม่เข้าใจกันส่วนใหญ่ มักอยู่ บนพื้นฐานของการตีความตามความคิด ความเชื่อหรือปทัสถานของสังคมตนเอง ซึ่งปัจจุบันเรื่องของมิติทางวัฒนธรรมก็เป็นส่วนหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทและเป็นเรื่องที่ ทุกคนควรสนใจหันมาทาการศึกษา ซึ่งทฤษฏีของ Geert Hofstede ได้รับการยอมรับ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการและผลกระทบจากวัฒนธรรมที่มีต่อการทางานระหว่างเชื้อ ชาติ นอกจากนี้เรายังสามารถนาทฤษฏีที่ได้ศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการทาธุรกิจระหว่าง ประเทศ ซึ่ง Hofstede ได้แบ่งมิติทางวัฒนธรรมออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1. เน้นความ เป็นปัจเจกบุคคล (individualism) และการเน้นความเป็นกลุ่ม (collectivism) 2. ความแตกต่างระหว่างอานาจของแต่ละบุคคลในสังคม (Power Distance) 3. การเน้นลักษณะความเป็นชาย (Masculinity)และการเน้นลักษณะความเป็นหญิง (Femininity) 4. การหลีกเลี่ยงความไม่แน่นอน (Uncertainty Avoidance)
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการข้ามวัฒนธรรมเกิดจากอะไร 2. ใครเป็นเจ้าของทฤษฏีมิติทางวัฒนธรรม 3. มิติทางวัฒนธรรมแบ่งได้เป็นกี่มิติ 4. คนไทยอยู่ในมิติทางวัฒนธรรมของใดบ้าง 5. หากเจอนักธุรกิจชาวอเมริกาท่านจะนามิติทางวัฒนธรรมข้อใดมาใช้ 6. หากเจอนักธุรกิจชาวเกาหลีท่านจะนามิติทางวัฒนธรรมข้อใดมาใช้ 7. ท่านสามารถนามิติทางวัฒนธรรมไปประยุกต์ใช้กับงานในอนาคตได้อย่างไร 8. ประเทศในแถบใดจัดเป็นวัฒนธรรมแบบอิงบริบทสูง 9. ประเทศในแถบใดจัดเป็นวัฒนธรรมแบบอิงบริบทต่า 10. ประเทศไทยจัดเป็นแบบอิงบริบทสูงหรือต่า