SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
สรุปสาระสําคัญ
แผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และบานหวยคลุม หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
(จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมเวสเทิรนแกรนด จังหวัดราชบุรี)
จัดทําโดย
คณะทํางานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตุลาคม ๒๕๕๓
คํานํา
สรุปสาระสําคัญของแผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
(บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖) จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการวางแผน
ปฏิบัติงานสําหรับหนวยงานตางๆ ที่เขารวมโครงการหมูบานไทย-จีน ไรมลพิษ ใหเปนไปใน
ทิศทางเดียวกัน ไมซ้ําซอน และอํานวยประโยชนสูงสุดตอชุมชนในพื้นที่เปาหมาย
กระบวนการในการจัดทําแผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
แบบบูรณาการในครั้งนี้ (เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมเวสตเทิรน แกรนด ราชบุรี)
นอกจากจะไดกรอบแผนการปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ที่มีความ
ชัดเจนมากยิ่งขึ้นแลว ยังเปนการเปดโอกาสใหผูรับผิดชอบจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ไดปรับ
ความคิดและความเขาใจใหตรงกัน ทั้งในสวนของวัตถุประสงค/เปาหมายที่แทจริงของโครงการ
กรอบระยะเวลาในการดําเนินโครงการ ตลอดจนพื้นที่ดําเนินการ เพื่อใหทุกหนวยงานสามารถ
ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมาย
ขอขอบคุณ นายศิริพงศ หังสพฤกษ รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ที่กรุณาใหเกียรติมาเปนประธานและอยูรวมกระบวนการตลอดทั้งวัน ขอขอบคุณ นายเธียรเอก
ติยพงศพัฒนา ที่มาเปนวิทยากรจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน จนไดกรอบแผนปฏิบัติ
งานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ที่มีความชัดเจน
คณะทํางานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ตุลาคม ๒๕๕๓
แผนปฏิบัติงาน
โครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
บานถ้ําหิน และบานหวยคลุม ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
๑.หลักการและเหตุผล
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดําริใหดําเนินงานพัฒนา
คุณภาพชีวิตประชาชนในถิ่นทุรกันดารมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๓ ทั้งดานโภชนาการ สุขภาพอนามัย
การศึกษา อาชีพ ตลอดจนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมทองถิ่น โดย
เริ่มตนการพัฒนาที่โรงเรียน แลวขยายไปสูชุมชน ปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๓) มีสถานศึกษาใน
โครงการ ๗๑๑ แหง และนักเรียน ๑๐๖,๑๖๕ คน มีชุมชนที่อยูในโครงการจํานวน ๑,๔๑๑ แหง
นอกจากนั้นแลวสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังทรงทําโครงการรวมมือ
ในการพัฒนากับประเทศตางๆ อีกหลายประเทศ ซึ่งสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนอีกประเทศหนึ่ง
ในป ๒๕๕๓ มีพระราชดําริใหรวมมือกับกระทรวงอนุรักษสิ่งแวดลอมของสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ทําโครงการหมูบานไรมลพิษ โดยสาธารณรัฐประชาชนจีนไดคัดเลือกหมูบานใน
มณฑลยูนนาน เขาเปนหมูบานไรมลพิษ ในสวนของประเทศไทยนั้น ประชาชนในชุมชนบานถ้ํา
หิน และบานหวยคลุม ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี พรอมใจที่จะเขารวมการ
ดําเนินงานในโครงการดังกลาว
1.๑ ขอมูลพื้นฐานชุมชน
บานถ้ําหิน ตั้งอยูหมูที่ ๕ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เปนหมูบาน
หนึ่งที่อยูในโครงการตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อยู
บริเวณชายแดนประเทศไทยและสหภาพพมา มีพื้นที่ประมาณ ๑๐๐ ตารางกิโลเมตร มีลําหวยขนาด
ใหญไหลผานกลางหมูบาน พื้นที่สวนใหญเปนภูเขาสลับที่ราบเชิงเขาเล็กนอย โดยบริเวณเชิงเขา
สวนใหญเปนปาเสื่อมโทรมผสมกับปาไผ บนยอดเขาเปนปาเต็ง และปาดงดิบ
ประชากร มีทั้งหมด ๘๕๗ คน หรือ ๒๐๔ ครัวเรือน เปนชาย ๔๕๐ คน และ
หญิง ๔๐๗ คน ประชากร สวนใหญเปนชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง และผูพลัดถิ่นชาว
พมาซึ่งอาศัยอยูในศูนยพักพิงที่ทางราชการจัดตั้งให
โรงเรียน มีจํานวน ๑ แหง คือ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน
เปดสอนระดับชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปที่ ๖ โดยในปการศึกษา ๒๕๕๒ มีนักเรียน ๑๔๑ คน
สถานีอนามัย มีจํานวน ๑ แหง คือ สถานีอนามัยบานถ้ําหิน
อีกทั้งยังมีศูนยพักพิงชั่วคราว จํานวน ๑ แหง ตั้งอยูตอนบนของหมูบานซึ่งเปน
พื้นที่ตนน้ํา โดยมี ผูพลัดถิ่นชาวพมาอาศัยอยูรวมกันจํานวนมาก
บานหวยคลุม ตั้งอยูหมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี มีพื้นที่
ประมาณ ๙.๐๓ ตารางกิโลเมตร มีลําหวยขนาดใหญไหลผานกลางหมูบาน พื้นที่สวนใหญเปนภูเขา
สลับที่ราบเชิงเขาเล็กนอย โดยบริเวณเชิงเขาสวนใหญเปนปาเสื่อมโทรมผสมกับปาไผ บนยอดเขา
เปนปาเต็ง และปาดงดิบ
ประชากร มีทั้งหมด ๖๐๗ คน หรือ ๒๒๓ ครัวเรือน เปนชาย ๒๘๐ คน และ
หญิง ๖๐๗ คน ประชากรสวนใหญเปนชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง
อาชีพ ประชาชนบานถ้ําหินและบานหวยคลุม สวนใหญประกอบอาชีพดาน
การเกษตร ตลอดทั้ง ๒ ฝงของลําหวย เชน การทําไรมันสําปะหลัง สวนยางพารา สวนผลไม และ
เลี้ยงสัตว เปนตน
1.๒ สภาพปญหาของชุมชน
-การอพยพยายถิ่นฐานของประชาชนจากภูมิภาคอื่น เขามาอยูอาศัยในชุมชนเปน
จํานวนมากเพื่อมาประกอบอาชีพทางการเกษตร เชน ประชาชนจากภาคใต ยายเขามาอยูเพื่อทําสวน
ยางพารา เปนตน กอใหเกิดปญหาการบุกรุกเผาทําลายพื้นที่ปาไม เพื่อขยายพื้นที่ใชทําการเกษตร
อีกทั้งโรคติดตอที่ติดมากับคนตางถิ่น
-โรคติดตอนําโดยแมลง สวนหนึ่งเปนปญหาพื้นฐานเดิมที่มีการติดตออยูในชุมชน
เชนโรคมาลาเลีย และไขเลือดออก ซึ่งอยูในความสามารถที่จะควบคุมไดหากเกิดกับคนทองถิ่น อีก
สวนหนึ่งมาจากผูที่อพยพยายถิ่นฐาน เชน โรคชิคุนกุนยา ซึ่งติดตอจากคนชาวภาคใต และโรค
มาลาเลีย ซึ่งติดตอจากผูผลัดถิ่นชาวพมา
-การดูแลสุขภาพและอนามัยชุมชน เนื่องจากสถานีอนามัยมีบุคลากรนอยไม
เหมาะสมกับขนาดพื้นที่ซึ่งมีขนาดใหญและประชากรมีจํานวนที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหการดูแลในเรื่อง
ดังกลาวทําไดไมทั่วถึง กอใหเกิดปญหาการเจ็บปวยดวยโรคตางๆ และปญหาการจัดสภาพแวดลอม
ชุมชนไมถูกหลักสุขอนามัย
-ขยะมูลฝอย และการปลอยของเสียลงสูลําน้ํา เนื่องจากประชาชนมีจํานวนมาก
และตั้งชุมชนอยูติดกับลําน้ําตามแนวยาวโดยตลอดลําน้ําตั้งแตบริเวณพื้นที่ตนน้ําจนถึงทายน้ํา
สงผลใหมีปญหาเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยที่มีจํานวนมากซึ่งหากมีการคัดแยกจะทําใหขยะ
บางสวนสามารถนํามาใชประโยชนได เชน เศษเหลือจากการเกษตร หรือการประกอบอาหาร
สามารถนํามาหมักเปนกาซชีวภาพหรือปุยหมักได กระดาษใชแลวก็สามารถนํากลับมาใชใหมได
หรือขายได เปนตน อีกทั้งปญหาการปลอยของเสียลงสูลําน้ําหวยคลุมซึ่งเปนแหลงน้ําหลักของ
ชุมชน โดยเฉพาะที่ศูนยพักพิงชั่วคราวซึ่งตั้งอยูบริเวณตนน้ําและมีผูอพยพจํานวนมาก ประกอบกับ
การจัดการขยะและของเสียของศูนยที่ไมดีพอ ของเสียดังกลาวจึงไหลลงสูลําน้ําทําใหชุมชนที่อยู
ตอนลางไดรับผลกระทบ
-สารเคมีตกคาง เนื่องจากประชาชนสวนใหญในชุมชนทําอาชีพทางการทําเกษตร
โดยใชปุยเคมีและยาฆาแมลง จํานวนมาก จึงเกิดปญหาสารเคมีตกคางอยูในพื้นที่ และสวนหนึ่ง
ไหลลงสูลําน้ําหวยคลุม
-ความยากจน ประชาชนสวนใหญมีฐานะยากจน ขาดความรูพื้นฐานในการ
ดํารงชีวิต และประกอบอาชีพ
-สภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม เนื่องจากมีการใชพื้นที่ปาใน
การทําเกษตรจํานวนมากจึงทําใหสูญเสียทรัพยากรปาไม อีกทั้งในชวงฤดูแลงยังเกิดไฟปาจากการ
เผาทําลายพื้นที่เพื่อทําการเกษตร จนในบางครั้งเกิดเปนไฟปาลุกลามไปทั่วทั้งพื้นที่
2.วัตถุประสงคทั่วไป
2.๑ เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมชุมชนใหดีขึ้น
2.๒ เพื่อพัฒนาใหเปนแบบอยางการพัฒนาหมูบานไรมลพิษ
2.๓ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณการพัฒนาและเสริมสรางความสัมพันธที่ดีระหวาง
ประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีน
3.วัตถุประสงคเฉพาะ
3.๑ เพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทน
3.๒ เพื่อสงเสริมการทําเกษตรอินทรียในชุมชน
3.๓ เพื่อพัฒนาสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดลอม และการควบคุมโรคติดตอ
3.๔ เพื่อปองกันและแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและการบริหารจัดการน้ําเพื่อการอุปโภคของ
ประชาชน
๔.๕ เพื่อการอนุรักษทรัพยากรปาไมของชุมชน
๔.๖ เพื่อรวบรวมวัฒนธรรมดานการอนุรักษ
4.พื้นที่โครงการ
1) โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน หมูที่ ๕ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัด
ราชบุรี
๒) พื้นที่ชุมชนบานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และพื้นที่ชุมชนบานหวยคลุม หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง
อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
๔.๑ พื้นที่ดําเนินการ :
พื้นที่นํารอง (ดําเนินการภายใน ก.พ. ๕๔)
-โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน หมูที่ ๕
-ชุมชนหวย ๘ หมูที่ ๖ และ ชุมชนหวย ๑๐ หมูที่ ๕ และ ๖
พื้นที่ขยายผล (ดําเนินการภายใน ต.ค. ๕๔)
-ชุมชนทั้ง ๒ ฝงถนนหลัก ในพื้นที่บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และบานหวยคลุม หมูที่ ๖
แผนที่ แสดงพื้นที่การดําเนินงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
๔.๒ กลุมเปาหมาย :
• ครูและนักเรียนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน
• ชาวบานในชุมชนหวย ๘ และ หวย ๑๐ จํานวน ๔๐ ครัวเรือน
• ชาวบานที่อาศัยอยู ๒ ฝงถนนหลัก ในพื้นที่บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ
บานหวยคลุม หมูที่ ๖
(ระยะนํารอง)
(ระยะขยายผล)
๕.ระยะเวลาดําเนินการ : ปงบประมาณ ๒๕๕๓-๕๔
๖.กรอบการดําเนินงาน : ประกอบดวยแผนปฏิบัติงาน ๕ ดาน
๑) การสงเสริมการใชพลังงานทดแทน
-แผนการใชพลังงานทดแทนจากกาซชีวภาพ และเตากาซชีวมวล
๒) การสงเสริมการทําเกษตรอินทรียในชุมชน
-แผนการสาธิตการปองกันและกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี
-แผนการสงเสริมการผลิตพืชอาหารปลอดภัยและไดมาตรฐาน
๓) การพัฒนาสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดลอม และการควบคุมโรคติดตอ
-แผนการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
-แผนการปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงแบบปลอดสารเคมี
๔) การปองกันและแกไขปญหาคุณภาพน้ําเพื่อการอุปโภคของ
-แผนการการจัดการคุณภาพน้ําและน้ําเสีย
-โครงการอนุรักษฟนฟูแหลงน้ําพรอมระบบกระจายน้ํา
๕) การอนุรักษทรัพยากรปาไมของชุมชน
-แผนการพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษทรัพยากรปาไม
-แผนการปลูกหญาแฝกอนุรักษดินและน้ํา เพื่อรักษาสิ่งแวดลอม
-แผนการหมูบานรักษวัฒนธรรม
หนวยงานที่เขารวมโครงการความรวมมือไทย-จีนหมูบานไรมลพิษ
ระดับสวนกลาง
สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ผูประสานงานหลัก)
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย
กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
กรมควบคุมมลพิษ
กรมปาไม
ระดับหนวยงาน/ สวนราชการ (ในอําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี)
สํานักงานจังหวัดราชบุรี (ผูประสานงานหลัก)
สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ ๘
สํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาล ภาค ๘
สํานักงานทรัพยากรน้ํา ภาค ๗
สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดราชบุรี
สํานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดราชบุรี
สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี
สํานักงานพลังงานจังหวัดราชบุรี
สํานักงานปศุสัตวจังหวัดราชบุรี
สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี
สํานักงานสาธารณสุขอําเภอสวนผึ้ง
กรมควบคุมโรค
ระดับชุมชน
ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ (ผูประสานงานหลัก)
นายกองคการบริหารสวนตําบลสวนผึ้ง
ผูใหญบาน หมูที่ ๕ และ หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง
ผูนําศาสนาในชุมชนหวย ๘ และ หวย ๑๐
ผังกระบวนงานเชื่อมโยงกิจกรรมตางๆ
ในโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
(สําหรับใหแตละหนวยงานใชในการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ)
การปองกันกําจัด
ศัตรูพืชโดยชีววิธี
หมูบาน
ไรมลพิษ
การผลิตเกษตรอินทรีย
การปองกันโรคติดตอ
ใชพลังงานสะอาด
การรักษาปา
ปองกันการพังทลายหนาดิน พัฒนาแหลงน้ําผิวดิน
พัฒนาแหลงน้ําบาดาล
การจัดการน้ําเสีย
การจัดการขยะ
คุณภาพน้ําพลังงานชีวภาพ
พลังงานชีวมวล
ลานบานสวย
ประวัติศาสตรชุมชน
การทอผา เพิ่มรายได
การรับรองคุณภาพ
สินคาเกษตร
การปรับปรุงดิน
ทางชีวภาพ
กิจกรรมภายใตแผนงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
(ที่ดําเนินการแลว หรือ ดําเนินการไปตามปกติ)
แผน โรงเรียน ชุมชน
การสงเสริมการใช
พลังงานทดแทน
- สงเสริมความรู -
การสงเสริมการทํา
เกษตรอินทรียใน
ชุมชน
- สาธิตการกําจัดศัตรูพืช
- ปรับปรุงบํารุงดิน
- พืช อาหารปลอดภัย
- ปรับปรุงบํารุงดิน (บานหวยคลุม)
- กลุมเกษตรอินทรีย (บานหวยคลุม)
การพัฒนาสุขาภิบาล
อนามัยสิ่งแวดลอม
และการควบคุม
โรคติดตอ
<--------------------------------------- ควบคุมปองกันโรค --------------------------------------->
- สํารวจลูกน้ํา - ใหความรูเกี่ยวกับวิธีปองกันโรคมาลาเรีย
การปองกันและแกไข
ปญหาคุณภาพน้ําเพื่อ
การอุปโภคของ
ประชาชน
<---------------------------------- สํารวจพัฒนาแหลงน้ําผิวดิน ---------------------------------->
<--------------------------- ตั้งคณะทํางานสํารวจความตัองการใชน้ํา -------------------------->
<--------------------------- สํารวจคุณภาพน้ําหวยคลุม (ทุก ๓ เดือน) -------------------------->
- สํารวจเพื่อออกแบบการจัดสรรน้ํา (แลวเสร็จ
ประมาณ มี.ค. ๕๔)
-
- สงเสริมการปลูกหญาแฝก -
การอนุรักษทรัพยากร
ปาไมของชุมชน
- -
กิจกรรมภายใตแผนงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
(ที่จะตองดําเนินการเพิ่มเติม)
แผน โรงเรียน ชุมชน
การสงเสริมการใช
พลังงานทดแทน
<--------------------------- การสนับสนุนเทคโนโลยีที่เหมาะสม ** --------------------------->
- การจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอน - การสงเสริมกระบวนการเรียนรู **
- การจัดศึกษาดูงานนอกสถานที่ ** -
การสงเสริมการทํา
เกษตรอินทรียใน
ชุมชน
- การสงเสริมยุวหมอดิน ** - การทําปฏิทินการปลูกพืช (บานหวยคลุม) **
- - การปรับปรุงดิน (ชุมชนหวย ๘ และ ๑๐) **
- - การจัดตลาดสินคาอินทรีย
การพัฒนาสุขาภิบาล
อนามัยสิ่งแวดลอม
และการควบคุม
โรคติดตอ
<----------------------- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมปองกันโรค ** ----------------------->
<----------------------------------- การทําลายแหลงเพาะพันธุยุง ** ---------------------------------->
<--------------------- การลด/ แยกขยะ และนําขยะมาใชประโยชนใหม ** ------------------------>
<---------------------------------------- สุขอนามัยการใชสวม ** --------------------------------------->
<------------------------- การใชประโยชนจากขยะเปยก เพื่อทําแกสชีวภาพ------------------------->
- การจัดตั้งธนาคารขยะ ** -
การปองกันและแกไข
ปญหาคุณภาพน้ําเพื่อ
การอุปโภคของ
ประชาชน
<----------------------- การอบรมการใชน้ําอยางรูคา (รวมถึงการใชน้ําฝน) ** --------------------->
<------------------------------------- การเปลี่ยนพฤติกรรมการใชน้ํา ----------------------------------->
<------------------------- การจัดทําระบบประปา (น้ําบาดาล/น้ําผิวดิน) ** -------------------------->
- - การจัดทําระบบบําบัดน้ําเสีย
(หมูบานละ ๒ แหง) **
- - การเก็บตัวอยางน้ําที่นําไปผลิตน้ําประปา
เพื่อนําไปตรวจสอบ **
- - การปลูกหญาแฝก
- - การตรวจสอบคุณภาพน้ําฝน **
- - การศึกษาปริมาณและความตองการใชน้ํา**
หมายเหตุ ** สามารถดําเนินการไดแลวเสร็จภายใน ๕ เดือน
กระบวนการดําเนินโครงการ (ที่ตองรวมกันทําตอไป)
ขั้นตอนที่ ๑ : ชี้แจงชุมชน
ขั้นตอนที่ ๒ : การสํารวจขอมูลในพื้นที่เปาหมาย
ขั้นตอนที่ ๓ : การฝกอบรม
ขั้นตอนที่ ๔ : ประสานงานชุมชน
ขั้นตอนที่ ๕ : การติดตาม สนับสนุนโครงการ
รางปฏิทินกระบวนการดําเนินโครงการ
ขั้นตอน ตค.
๕๓
พย.
๕๓
ธค.
๕๓
มค.
๕๔
กพ.
๕๔
มีค.
๕๔
เมย.
๕๔
พค.
๕๔
มิย.
๕๔
กค.
๕๔
สค.
๕๔
กย.
๕๔
ดําเนินการเรงดวนในพื้นที่นํารอง ดําเนินการในพื้นที่ขยายผล
๑. ชี้แจงชุมชน วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
วันที่
๕
๒. สํารวจขอมูล ภายใน
วันที่
๓๑
๓. ฝกอบรม หนวยงานที่เกี่ยวของ
ประสานงาน
และดําเนินการ
๔. ประสานชุมชน ตอเนื่องตลอดป / ตามคํารองขอจากหนวยงานที่เกี่ยวของ
๕. ติดตาม
สนับสนุนโครงการ
ตอเนื่องตลอดป
ขั้นตอนที่ ๑ (ชี้แจงชุมชน)
วัตถุประสงค เพื่อชี้แจงและทําความเขาใจกับชาวบาน เกี่ยวกับรายละเอียดโครงการฯความ
รวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ พื้นที่ที่ดําเนินการ กิจกรรมตางๆ ที่จะ
ดําเนินการ
กิจกรรม กลุมเปาหมาย กําหนดเวลา ผูรับผิดชอบ
- ประชุมชาวบาน ชาวบานที่อาศัยในพื้นที่
บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ
บานหวยคลุม หมูที่ ๖
วันที่ ๕
ของทุกเดือน
นายสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน
(นายก อบ.ต.สวนผึ้ง)
มือถือ ๐๘๑-๘๕๖๒๖๐๒
โทร. ๐๓๒-๓๙๕๔๙๒ ตอ
๑๒
ขั้นตอนที่ ๒ (การสํารวจขอมูลในพื้นที่เปาหมาย)
วัตถุประสงค เพื่อจัดทําชุดแบบสอบถามที่ครอบคลุมในทุกประเด็นที่ตองการสํารวจ เพื่อ
นําไปใชในการเก็บขอมูลในพื้นที่ ไดแก ขอมูลพื้นฐาน การใชน้ํา น้ําเสีย ขยะ ภูมิ
ปญญา ดัชนีลูกน้ํา ฯลฯ
กิจกรรม กลุมเปาหมาย กําหนดเวลา ผูรับผิดชอบ
๑. ออกแบบแบบสอบถาม
(พรอมคําอธิบายสําหรับ
การตอบคําถาม)
ชาวบานที่อาศัยในพื้นที่
นํารอง (ชุมชนหวย ๘ หมู
ที่ ๖ และ ชุมชนหวย ๑๐
หมูที่ ๕ และ ๖)
๒๙ ก.ย. - ๓ ต.ค.
๒๕๕๓
หนวยงานที่จําเปนตองเก็บ
ขอมูลพื้นที่
๒. สงแบบสอบถามให
สํานักงานทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
จังหวัดราชบุรี (ทสจ.
ราชบุรี) รวบรวม
maree_44@hotmail.com
ภายในวันที่
๔ ต.ค. ๒๕๕๓
หนวยงานที่จําเปนตองเก็บ
ขอมูลพื้นที่
๓. จัดทําแบบสอบถาม ภายในวันที่
๖ ต.ค. ๒๕๕๓
นส.มาลี ศรีรัตนธรรม
(ทสจ. ราชบุรี)
มือถือ ๐๘๑-๗๕๒๐๗๙๔
maree_44@hotmail.com
๔. สงแบบสอบถามคืน
กลับใหแตละหนวยงาน
ตรวจสอบ
ภายในวันที่
๘ ต.ค. ๒๕๕๓
นส.มาลี ศรีรัตนธรรม
(ทสจ.ราชบุรี)
และ หนวยงานตางๆ
๕. ลงสํารวจและเก็บ
ขอมูลพื้นที่
๑๑-๑๕ ต.ค.
๒๕๕๓
นายสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน
(นายก อบ.ต.สวนผึ้ง)
มือถือ ๐๘๑-๘๕๖๒๖๐๒
โทร. ๐๓๒-๓๙๕๔๙๒ ตอ
๑๒
๖. วิเคราะหขอมูลแบบ
สอบถาม
ภายในวันที่
๒๐ ต.ค. ๒๕๕๓
นส.มาลี ศรีรัตนธรรม
(ทสจ. ราชบุรี)
๗. รายงานผลการสํารวจ
ใหทุกหนวยงานทราบ
เพื่อนําขอมูลไปใชในการ
วางแผนการทํางาน
ภายในวันที่
๓๑ ต.ค. ๒๕๕๓
นส.มาลี ศรีรัตนธรรม
(ทสจ. ราชบุรี)
ขั้นตอนที่ ๓ (การฝกอบรม)
วัตถุประสงค เพื่อรวมกันกําหนดชวงเวลาการฝกอบรมในภาพรวมใหมีความเหมาะสม
สอดคลอง ไมซ้ําซอน โดยที่ประชุมไดตกลงกันมอบหมายใหมีผูประสานงาน
ดังนี้
แผนงานฝกอบรม หนวยงานหลักในการ
ประสานงาน
ผูรับผิดชอบ
ดานพลังงาน สํานักงานพลังงานจังหวัดราชบุรี นายเกริก มั่นคง
มือถือ ๐๘๓-๓๑๓๖๖๒๙
krek@energy.go.th
ดานเกษตรอินทรีย สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี นายเชาว วิเศษโชค
มือถือ ๐๘๙-๒๕๗๘๒๖๖
chaowi@hotmail.com
ดานการจัดการขยะชุมชน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม นายสากล ฐินะกุล
มือถือ ๐๘๑-๙๘๙๐๐๖๘
ดานการจัดการน้ํา สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค ๗ นส.วาทินี เพ็ญศิริ
มือถือ ๐๘๗-๒๓๑๖๔๔๖
Wathinee_eng@hotmail.com
ดานวัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี นส.ศันสนีย
มือถือ ๐๘๑-๘๗๐๙๗๙๒
ขั้นตอนที่ ๔ (ประสานงานชุมชน)
วัตถุประสงค เพื่อประสานงานกับกลุมเปาหมายในพื้นที่
หนวยงานหลักในการประสานชุมชน ผูรับผิดชอบ
ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ สวนผึ้ง พ.ต.ท.วิโรจน สุขเสริม
มือถือ ๐๘๔-๘๘๔๕๒๔๔
โทร. ๐๓๒-๓๙๕๑๕๘
BPP137@gmail.com
องคการบริหารสวนตําบลสวนผึ้ง นายกสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน
มือถือ ๐๘๑-๘๕๖๒๖๐๒
โทร. ๐๓๒-๓๙๕๔๙๒ ตอ ๑๒
ขั้นตอนที่ ๕ (การติดตาม สนับสนุนโครงการ)
วัตถุประสงค เพื่อติดตามสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมตางๆ ภายใตโครงการความรวมมือไทย-
จีน หมูบานไรมลพิษ
หนวยงานหลักในการติตามสนับสนุนโครงการ ผูรับผิดชอบ
สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี
นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง
เจาหนาที่งานภาคกลาง
มือถือ ๐๘๑-๗๒๖๒๗๕๗
petkleang@gmail.com
ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ สวนผึ้ง พ.ต.ท.วิโรจน สุขเสริม
มือถือ ๐๘๔-๘๘๔๕๒๔๔
โทร. ๐๓๒-๓๙๕๑๕๘
BPP137@gmail.com
ภาคผนวก
ปจจัยสําคัญที่สงผลตอความสําเร็จของโครงการไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
ผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ไดรวมกันสรุปปจจัยสําคัญที่จะสงผลตอความสําเร็จของ
โครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษอําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ตามพระราชดําริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖)
ไวดังนี้
ปจจัยสําคัญที่จะทําให
โครงการประสบความสําเร็จ
ปฏิบัติตามแผนการดําเนินการที่วางไว
ตั้งใจปฏิบัติงาน
รวมมือรวมใจกัน
ไดรับการตอบรับและความรวมมือจาก
ประชาชน
มีงบประมาณเพียงพอสําหรับ
ดําเนินการ
ทําจริง
ตองมีใจรักงาน
มีความรับผิดชอบ
ไมเกี่ยงงาน
มีการประสานงานที่ดี
ไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน
ปฏิบัติงานดวยความเต็มใจ
ใชกระบวนการมีสวนรวมในการ
ดําเนินการ
มีความมุงมั่น
ปจจัยสําคัญที่อาจทําให
โครงการไมประสบความสําเร็จ
ตางหนวยงานตางทํา
ราษฎรในพื้นที่ไมใหความรวมมือ
มี่มีการเขาสํารวจพื้นที่กอนดําเนินการ
พื้นที่ไมตรงตามเปาหมาย
หนวยงานไมไดดําเนินการตามแนวทาง
ที่วางแผนรวมกัน
ขาดการวางแผนการดําเนินการที่ดี
ผูนําในพื้นที่ขาดความรู ความเขาใจใน
โครงการ
ขาดความรวมมือ
ขาดการประสานงาน
การขัดแยงกันระหวางหนวยงาน
การขาดงบประมาณในการดําเนินการ
ขาดการประเมินผลที่ถูกตอง
ไมมีแผนงาน / แผนงบประมาณ
ไมมีแผนการดําเนินการที่ตอเนื่อง
ผูเขาประชุมเชิงปฏิบัติการ การบูรณาการและจัดทําแผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย – จีน หมูบานไรมลพิษ
ลําดับ หนวยงาน ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง เบอรติดตอ E-mail
๑. กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม นายสากล ฐินะกุล นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ๐๘-๑๙๘๙-๐๐๖๘ -
๒. กรมควบคุมมลพิษ นายเชาวน นกอยู นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ๐๘-๗๓๔๗-๑๒๒๑ cnokyoo@hotmail.com
๓. กรมทรัพยากรน้ําบาดาล นายสุพจน เจิมสวัสดิ์พงษ - ๐-๒๗๙๓-๑๐๓๔ Supot06@gmail.com
๔. กรมทรัพยากรน้ํา นายยรรยงค อินทฤทธิ์ วิศวกรชํานาญการพิเศษ - -
๕. สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค ๘ (ราชบุรี) น.ส.ลลิตา จันทรจุฬาลักษณ นักวิชาการสิ่งแวดลอม ๐๘-๐๕๖๕-๓๗๕๗ lalita287@gmail.com
๖. สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดราชบุรี นส.มาลี ศรีรัตนธรรม ผอ.สนง.ทสจ. ๐๘-๑๗๕๒-๐๗๙๔ maree_44@hotmail.com
๗. สํานักจัดการปาชุมชน นส.ปาริชาติ ฤทธเดช (ประชุมแทน) นักวิชาการปาไมชํานาญการ ๐๘-๑๗๒๐-๒๔๖๐ -
๘. สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ ๑๐ (ราชบุรี) นายนริศ อาจธัญกรณ ผอ.สวนจัดการปาชุมชน ๐๘-๑๔๐๗-๒๔๐๕ narit_52@hotmail.com
๙. จังหวัดราชบุรี (สํานักงานจังหวัด) นายชินวัฒน อัศโนมันต นักวิเคราะหนโยบายฯ ชํานาญการ ๐๘-๑๓๗๘-๕๒๓๘ Chin_1991@msn.com
๑๐. อําเภอสวนผึ้ง น.ส.สุภาพร มุสิกสาร ปลัดอําเภอสวนผึ้ง ๐๘-๙๒๒๐-๙๐๓๓ pm483@hotmail.com
๑๑. องคการบริหารสวนตําบลสวนผึ้ง นายสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน นายก อบต.สวนผึ้ง ๐๘-๑๘๕๖-๒๖๐๒ -
๑๒. ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ พ.ต.ท.วิโรจน สุขเสริฐ ผบ.รอย ตชด.๑๓๗ สวนผึ้ง ๐๘-๔๘๘๔-๕๒๔๔ bpp137@hotmail.com
๑๓. โรงเรียนตะเวนชายแดนบานถ้ําหิน ด.ต.สําเริง เกลี้ยงมน จนท.งาน.กร รอย ตชด.๑๓๗ ๐๘-๗๑๖๔-๗๑๙๙ Raa_rerng08@hotmail.com
๑๔. สํานักงานพลังงานจังหวัดราชบุรี นายเกริก มั่นคง นายชางเทคนิค ๐๘-๓๓๑๓-๖๖๒๙ krek@energy.go.th
๑๕. สํานักวิชาการพลังงานภาค ๔ อรุณ ยิมประเสริฐ นายชางเทคนิคอาวุโส ๐-๓๒๓๙-๑๗๐๕ -
๑๖. สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ ๔ (สคร.๔) จุฑาทิพย ชมภูนุช นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ ๐๘-๑๗๔๕-๗๖๕๗ cchompoonuch@hotmail.com
๑๗. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี นายภัลลภ จริยาภิวุฒิ - ๐๘-๑๗๕๖-๘๔๘๖ -
๑๘. สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี นางพัชราภา มนัสปญญากุล - ๐๘-๑๘๗๔-๔๕๑๐ Patcha_som@hotmail.com
๑๙. สภาวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี นายไกร ตราบดี รองประธานสภา ๐๘-๑๙๑๐-๒๒๓๙ -
๒๐. สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี นายเชาวน วิเศษโชค นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ ๐๘-๙๒๕๗-๘๒๖๖ chaowi@hotmail.com
๒๑. ศูนยบริหารศัตรูพืชจังหวัดสุพรรณบุรี สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการสงเสริมการเกษตรฯ ๐๘-๑๑๙๘-๓๗๔๔ Somkid_bio2@yahoo.com
๒๒. ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรจังหวัดราชบุรี นายวัฒนิกร เทพโพธา นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ ๐๘-๖๗๓๐-๑๓๙๔ bacterc@hotmail.com
๒๓. สํานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดราชบุรี น.ส.ดามร หนูรักษ นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ๐๘-๗๐๒๕-๑๒๓๖ iamwarin@hotmail.com
๒๔. สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต ๑๐ นายพิพัฒน สุวัชยังกูร ผอ.สวน.พัฒนาที่ดิน เขต ๑๐ ๐๘-๑๘๘๒-๔๔๖๗
๒๕. สํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาลภาค ๗ นส.วาทินี เพ็ญศิริ วิศวกรโยธาปฏิบัติการ ๐๘-๗๒๓๑-๖๔๔๖ wathinee_eng@hotmail.com
๒๖. สํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาลเขต ๘ (ราชบุรี) จ.ส.อ.จรัญ โพธิ์มณี ผอ.สวนบริหารจัดการน้ําบาดาล ๐๘-๙๘๐๙-๐๘๗๑ twrc10@yahoo.com
sunee_rb@yahoo.com
ผูประสานงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ
สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง เจาหนาที่งานภาคกลาง ๐๘-๑๗๒๖-๒๗๕๗ petkleang@gmail.com

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

แผนปฏิบัติงาน

  • 1. สรุปสาระสําคัญ แผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และบานหวยคลุม หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี (จากการประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมเวสเทิรนแกรนด จังหวัดราชบุรี) จัดทําโดย คณะทํางานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตุลาคม ๒๕๕๓
  • 2. คํานํา สรุปสาระสําคัญของแผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖) จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการวางแผน ปฏิบัติงานสําหรับหนวยงานตางๆ ที่เขารวมโครงการหมูบานไทย-จีน ไรมลพิษ ใหเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน ไมซ้ําซอน และอํานวยประโยชนสูงสุดตอชุมชนในพื้นที่เปาหมาย กระบวนการในการจัดทําแผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ แบบบูรณาการในครั้งนี้ (เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๓ ณ โรงแรมเวสตเทิรน แกรนด ราชบุรี) นอกจากจะไดกรอบแผนการปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ที่มีความ ชัดเจนมากยิ่งขึ้นแลว ยังเปนการเปดโอกาสใหผูรับผิดชอบจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ไดปรับ ความคิดและความเขาใจใหตรงกัน ทั้งในสวนของวัตถุประสงค/เปาหมายที่แทจริงของโครงการ กรอบระยะเวลาในการดําเนินโครงการ ตลอดจนพื้นที่ดําเนินการ เพื่อใหทุกหนวยงานสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุเปาหมาย ขอขอบคุณ นายศิริพงศ หังสพฤกษ รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กรุณาใหเกียรติมาเปนประธานและอยูรวมกระบวนการตลอดทั้งวัน ขอขอบคุณ นายเธียรเอก ติยพงศพัฒนา ที่มาเปนวิทยากรจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน จนไดกรอบแผนปฏิบัติ งานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ที่มีความชัดเจน คณะทํางานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตุลาคม ๒๕๕๓
  • 3. แผนปฏิบัติงาน โครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี บานถ้ําหิน และบานหวยคลุม ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ๑.หลักการและเหตุผล สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชดําริใหดําเนินงานพัฒนา คุณภาพชีวิตประชาชนในถิ่นทุรกันดารมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๓ ทั้งดานโภชนาการ สุขภาพอนามัย การศึกษา อาชีพ ตลอดจนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมทองถิ่น โดย เริ่มตนการพัฒนาที่โรงเรียน แลวขยายไปสูชุมชน ปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๓) มีสถานศึกษาใน โครงการ ๗๑๑ แหง และนักเรียน ๑๐๖,๑๖๕ คน มีชุมชนที่อยูในโครงการจํานวน ๑,๔๑๑ แหง นอกจากนั้นแลวสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังทรงทําโครงการรวมมือ ในการพัฒนากับประเทศตางๆ อีกหลายประเทศ ซึ่งสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนอีกประเทศหนึ่ง ในป ๒๕๕๓ มีพระราชดําริใหรวมมือกับกระทรวงอนุรักษสิ่งแวดลอมของสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ทําโครงการหมูบานไรมลพิษ โดยสาธารณรัฐประชาชนจีนไดคัดเลือกหมูบานใน มณฑลยูนนาน เขาเปนหมูบานไรมลพิษ ในสวนของประเทศไทยนั้น ประชาชนในชุมชนบานถ้ํา หิน และบานหวยคลุม ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี พรอมใจที่จะเขารวมการ ดําเนินงานในโครงการดังกลาว 1.๑ ขอมูลพื้นฐานชุมชน บานถ้ําหิน ตั้งอยูหมูที่ ๕ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เปนหมูบาน หนึ่งที่อยูในโครงการตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี อยู บริเวณชายแดนประเทศไทยและสหภาพพมา มีพื้นที่ประมาณ ๑๐๐ ตารางกิโลเมตร มีลําหวยขนาด ใหญไหลผานกลางหมูบาน พื้นที่สวนใหญเปนภูเขาสลับที่ราบเชิงเขาเล็กนอย โดยบริเวณเชิงเขา สวนใหญเปนปาเสื่อมโทรมผสมกับปาไผ บนยอดเขาเปนปาเต็ง และปาดงดิบ ประชากร มีทั้งหมด ๘๕๗ คน หรือ ๒๐๔ ครัวเรือน เปนชาย ๔๕๐ คน และ หญิง ๔๐๗ คน ประชากร สวนใหญเปนชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง และผูพลัดถิ่นชาว พมาซึ่งอาศัยอยูในศูนยพักพิงที่ทางราชการจัดตั้งให โรงเรียน มีจํานวน ๑ แหง คือ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน เปดสอนระดับชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปที่ ๖ โดยในปการศึกษา ๒๕๕๒ มีนักเรียน ๑๔๑ คน สถานีอนามัย มีจํานวน ๑ แหง คือ สถานีอนามัยบานถ้ําหิน
  • 4. อีกทั้งยังมีศูนยพักพิงชั่วคราว จํานวน ๑ แหง ตั้งอยูตอนบนของหมูบานซึ่งเปน พื้นที่ตนน้ํา โดยมี ผูพลัดถิ่นชาวพมาอาศัยอยูรวมกันจํานวนมาก บานหวยคลุม ตั้งอยูหมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี มีพื้นที่ ประมาณ ๙.๐๓ ตารางกิโลเมตร มีลําหวยขนาดใหญไหลผานกลางหมูบาน พื้นที่สวนใหญเปนภูเขา สลับที่ราบเชิงเขาเล็กนอย โดยบริเวณเชิงเขาสวนใหญเปนปาเสื่อมโทรมผสมกับปาไผ บนยอดเขา เปนปาเต็ง และปาดงดิบ ประชากร มีทั้งหมด ๖๐๗ คน หรือ ๒๒๓ ครัวเรือน เปนชาย ๒๘๐ คน และ หญิง ๖๐๗ คน ประชากรสวนใหญเปนชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง อาชีพ ประชาชนบานถ้ําหินและบานหวยคลุม สวนใหญประกอบอาชีพดาน การเกษตร ตลอดทั้ง ๒ ฝงของลําหวย เชน การทําไรมันสําปะหลัง สวนยางพารา สวนผลไม และ เลี้ยงสัตว เปนตน 1.๒ สภาพปญหาของชุมชน -การอพยพยายถิ่นฐานของประชาชนจากภูมิภาคอื่น เขามาอยูอาศัยในชุมชนเปน จํานวนมากเพื่อมาประกอบอาชีพทางการเกษตร เชน ประชาชนจากภาคใต ยายเขามาอยูเพื่อทําสวน ยางพารา เปนตน กอใหเกิดปญหาการบุกรุกเผาทําลายพื้นที่ปาไม เพื่อขยายพื้นที่ใชทําการเกษตร อีกทั้งโรคติดตอที่ติดมากับคนตางถิ่น -โรคติดตอนําโดยแมลง สวนหนึ่งเปนปญหาพื้นฐานเดิมที่มีการติดตออยูในชุมชน เชนโรคมาลาเลีย และไขเลือดออก ซึ่งอยูในความสามารถที่จะควบคุมไดหากเกิดกับคนทองถิ่น อีก สวนหนึ่งมาจากผูที่อพยพยายถิ่นฐาน เชน โรคชิคุนกุนยา ซึ่งติดตอจากคนชาวภาคใต และโรค มาลาเลีย ซึ่งติดตอจากผูผลัดถิ่นชาวพมา -การดูแลสุขภาพและอนามัยชุมชน เนื่องจากสถานีอนามัยมีบุคลากรนอยไม เหมาะสมกับขนาดพื้นที่ซึ่งมีขนาดใหญและประชากรมีจํานวนที่เพิ่มมากขึ้น ทําใหการดูแลในเรื่อง ดังกลาวทําไดไมทั่วถึง กอใหเกิดปญหาการเจ็บปวยดวยโรคตางๆ และปญหาการจัดสภาพแวดลอม ชุมชนไมถูกหลักสุขอนามัย -ขยะมูลฝอย และการปลอยของเสียลงสูลําน้ํา เนื่องจากประชาชนมีจํานวนมาก และตั้งชุมชนอยูติดกับลําน้ําตามแนวยาวโดยตลอดลําน้ําตั้งแตบริเวณพื้นที่ตนน้ําจนถึงทายน้ํา สงผลใหมีปญหาเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยที่มีจํานวนมากซึ่งหากมีการคัดแยกจะทําใหขยะ บางสวนสามารถนํามาใชประโยชนได เชน เศษเหลือจากการเกษตร หรือการประกอบอาหาร สามารถนํามาหมักเปนกาซชีวภาพหรือปุยหมักได กระดาษใชแลวก็สามารถนํากลับมาใชใหมได หรือขายได เปนตน อีกทั้งปญหาการปลอยของเสียลงสูลําน้ําหวยคลุมซึ่งเปนแหลงน้ําหลักของ ชุมชน โดยเฉพาะที่ศูนยพักพิงชั่วคราวซึ่งตั้งอยูบริเวณตนน้ําและมีผูอพยพจํานวนมาก ประกอบกับ
  • 5. การจัดการขยะและของเสียของศูนยที่ไมดีพอ ของเสียดังกลาวจึงไหลลงสูลําน้ําทําใหชุมชนที่อยู ตอนลางไดรับผลกระทบ -สารเคมีตกคาง เนื่องจากประชาชนสวนใหญในชุมชนทําอาชีพทางการทําเกษตร โดยใชปุยเคมีและยาฆาแมลง จํานวนมาก จึงเกิดปญหาสารเคมีตกคางอยูในพื้นที่ และสวนหนึ่ง ไหลลงสูลําน้ําหวยคลุม -ความยากจน ประชาชนสวนใหญมีฐานะยากจน ขาดความรูพื้นฐานในการ ดํารงชีวิต และประกอบอาชีพ -สภาพแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม เนื่องจากมีการใชพื้นที่ปาใน การทําเกษตรจํานวนมากจึงทําใหสูญเสียทรัพยากรปาไม อีกทั้งในชวงฤดูแลงยังเกิดไฟปาจากการ เผาทําลายพื้นที่เพื่อทําการเกษตร จนในบางครั้งเกิดเปนไฟปาลุกลามไปทั่วทั้งพื้นที่ 2.วัตถุประสงคทั่วไป 2.๑ เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมชุมชนใหดีขึ้น 2.๒ เพื่อพัฒนาใหเปนแบบอยางการพัฒนาหมูบานไรมลพิษ 2.๓ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณการพัฒนาและเสริมสรางความสัมพันธที่ดีระหวาง ประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีน 3.วัตถุประสงคเฉพาะ 3.๑ เพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทน 3.๒ เพื่อสงเสริมการทําเกษตรอินทรียในชุมชน 3.๓ เพื่อพัฒนาสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดลอม และการควบคุมโรคติดตอ 3.๔ เพื่อปองกันและแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและการบริหารจัดการน้ําเพื่อการอุปโภคของ ประชาชน ๔.๕ เพื่อการอนุรักษทรัพยากรปาไมของชุมชน ๔.๖ เพื่อรวบรวมวัฒนธรรมดานการอนุรักษ 4.พื้นที่โครงการ 1) โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน หมูที่ ๕ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัด ราชบุรี ๒) พื้นที่ชุมชนบานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และพื้นที่ชุมชนบานหวยคลุม หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 6. ๔.๑ พื้นที่ดําเนินการ : พื้นที่นํารอง (ดําเนินการภายใน ก.พ. ๕๔) -โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน หมูที่ ๕ -ชุมชนหวย ๘ หมูที่ ๖ และ ชุมชนหวย ๑๐ หมูที่ ๕ และ ๖ พื้นที่ขยายผล (ดําเนินการภายใน ต.ค. ๕๔) -ชุมชนทั้ง ๒ ฝงถนนหลัก ในพื้นที่บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และบานหวยคลุม หมูที่ ๖ แผนที่ แสดงพื้นที่การดําเนินงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ๔.๒ กลุมเปาหมาย : • ครูและนักเรียนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนบานถ้ําหิน • ชาวบานในชุมชนหวย ๘ และ หวย ๑๐ จํานวน ๔๐ ครัวเรือน • ชาวบานที่อาศัยอยู ๒ ฝงถนนหลัก ในพื้นที่บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖ (ระยะนํารอง) (ระยะขยายผล)
  • 7. ๕.ระยะเวลาดําเนินการ : ปงบประมาณ ๒๕๕๓-๕๔ ๖.กรอบการดําเนินงาน : ประกอบดวยแผนปฏิบัติงาน ๕ ดาน ๑) การสงเสริมการใชพลังงานทดแทน -แผนการใชพลังงานทดแทนจากกาซชีวภาพ และเตากาซชีวมวล ๒) การสงเสริมการทําเกษตรอินทรียในชุมชน -แผนการสาธิตการปองกันและกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี -แผนการสงเสริมการผลิตพืชอาหารปลอดภัยและไดมาตรฐาน ๓) การพัฒนาสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดลอม และการควบคุมโรคติดตอ -แผนการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน -แผนการปองกันควบคุมโรคติดตอนําโดยแมลงแบบปลอดสารเคมี ๔) การปองกันและแกไขปญหาคุณภาพน้ําเพื่อการอุปโภคของ -แผนการการจัดการคุณภาพน้ําและน้ําเสีย -โครงการอนุรักษฟนฟูแหลงน้ําพรอมระบบกระจายน้ํา ๕) การอนุรักษทรัพยากรปาไมของชุมชน -แผนการพัฒนาการมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษทรัพยากรปาไม -แผนการปลูกหญาแฝกอนุรักษดินและน้ํา เพื่อรักษาสิ่งแวดลอม -แผนการหมูบานรักษวัฒนธรรม
  • 8. หนวยงานที่เขารวมโครงการความรวมมือไทย-จีนหมูบานไรมลพิษ ระดับสวนกลาง สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ผูประสานงานหลัก) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ กรมปาไม ระดับหนวยงาน/ สวนราชการ (ในอําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี) สํานักงานจังหวัดราชบุรี (ผูประสานงานหลัก) สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ ๘ สํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาล ภาค ๘ สํานักงานทรัพยากรน้ํา ภาค ๗ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดราชบุรี สํานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดราชบุรี สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี สํานักงานพลังงานจังหวัดราชบุรี สํานักงานปศุสัตวจังหวัดราชบุรี สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี สํานักงานสาธารณสุขอําเภอสวนผึ้ง กรมควบคุมโรค ระดับชุมชน ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ (ผูประสานงานหลัก) นายกองคการบริหารสวนตําบลสวนผึ้ง ผูใหญบาน หมูที่ ๕ และ หมูที่ ๖ ตําบลสวนผึ้ง ผูนําศาสนาในชุมชนหวย ๘ และ หวย ๑๐
  • 9. ผังกระบวนงานเชื่อมโยงกิจกรรมตางๆ ในโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ (สําหรับใหแตละหนวยงานใชในการประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ) การปองกันกําจัด ศัตรูพืชโดยชีววิธี หมูบาน ไรมลพิษ การผลิตเกษตรอินทรีย การปองกันโรคติดตอ ใชพลังงานสะอาด การรักษาปา ปองกันการพังทลายหนาดิน พัฒนาแหลงน้ําผิวดิน พัฒนาแหลงน้ําบาดาล การจัดการน้ําเสีย การจัดการขยะ คุณภาพน้ําพลังงานชีวภาพ พลังงานชีวมวล ลานบานสวย ประวัติศาสตรชุมชน การทอผา เพิ่มรายได การรับรองคุณภาพ สินคาเกษตร การปรับปรุงดิน ทางชีวภาพ
  • 10. กิจกรรมภายใตแผนงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ (ที่ดําเนินการแลว หรือ ดําเนินการไปตามปกติ) แผน โรงเรียน ชุมชน การสงเสริมการใช พลังงานทดแทน - สงเสริมความรู - การสงเสริมการทํา เกษตรอินทรียใน ชุมชน - สาธิตการกําจัดศัตรูพืช - ปรับปรุงบํารุงดิน - พืช อาหารปลอดภัย - ปรับปรุงบํารุงดิน (บานหวยคลุม) - กลุมเกษตรอินทรีย (บานหวยคลุม) การพัฒนาสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม และการควบคุม โรคติดตอ <--------------------------------------- ควบคุมปองกันโรค ---------------------------------------> - สํารวจลูกน้ํา - ใหความรูเกี่ยวกับวิธีปองกันโรคมาลาเรีย การปองกันและแกไข ปญหาคุณภาพน้ําเพื่อ การอุปโภคของ ประชาชน <---------------------------------- สํารวจพัฒนาแหลงน้ําผิวดิน ----------------------------------> <--------------------------- ตั้งคณะทํางานสํารวจความตัองการใชน้ํา --------------------------> <--------------------------- สํารวจคุณภาพน้ําหวยคลุม (ทุก ๓ เดือน) --------------------------> - สํารวจเพื่อออกแบบการจัดสรรน้ํา (แลวเสร็จ ประมาณ มี.ค. ๕๔) - - สงเสริมการปลูกหญาแฝก - การอนุรักษทรัพยากร ปาไมของชุมชน - -
  • 11. กิจกรรมภายใตแผนงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ (ที่จะตองดําเนินการเพิ่มเติม) แผน โรงเรียน ชุมชน การสงเสริมการใช พลังงานทดแทน <--------------------------- การสนับสนุนเทคโนโลยีที่เหมาะสม ** ---------------------------> - การจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอน - การสงเสริมกระบวนการเรียนรู ** - การจัดศึกษาดูงานนอกสถานที่ ** - การสงเสริมการทํา เกษตรอินทรียใน ชุมชน - การสงเสริมยุวหมอดิน ** - การทําปฏิทินการปลูกพืช (บานหวยคลุม) ** - - การปรับปรุงดิน (ชุมชนหวย ๘ และ ๑๐) ** - - การจัดตลาดสินคาอินทรีย การพัฒนาสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดลอม และการควบคุม โรคติดตอ <----------------------- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมปองกันโรค ** -----------------------> <----------------------------------- การทําลายแหลงเพาะพันธุยุง ** ----------------------------------> <--------------------- การลด/ แยกขยะ และนําขยะมาใชประโยชนใหม ** ------------------------> <---------------------------------------- สุขอนามัยการใชสวม ** ---------------------------------------> <------------------------- การใชประโยชนจากขยะเปยก เพื่อทําแกสชีวภาพ-------------------------> - การจัดตั้งธนาคารขยะ ** - การปองกันและแกไข ปญหาคุณภาพน้ําเพื่อ การอุปโภคของ ประชาชน <----------------------- การอบรมการใชน้ําอยางรูคา (รวมถึงการใชน้ําฝน) ** ---------------------> <------------------------------------- การเปลี่ยนพฤติกรรมการใชน้ํา -----------------------------------> <------------------------- การจัดทําระบบประปา (น้ําบาดาล/น้ําผิวดิน) ** --------------------------> - - การจัดทําระบบบําบัดน้ําเสีย (หมูบานละ ๒ แหง) ** - - การเก็บตัวอยางน้ําที่นําไปผลิตน้ําประปา เพื่อนําไปตรวจสอบ ** - - การปลูกหญาแฝก - - การตรวจสอบคุณภาพน้ําฝน ** - - การศึกษาปริมาณและความตองการใชน้ํา** หมายเหตุ ** สามารถดําเนินการไดแลวเสร็จภายใน ๕ เดือน
  • 12. กระบวนการดําเนินโครงการ (ที่ตองรวมกันทําตอไป) ขั้นตอนที่ ๑ : ชี้แจงชุมชน ขั้นตอนที่ ๒ : การสํารวจขอมูลในพื้นที่เปาหมาย ขั้นตอนที่ ๓ : การฝกอบรม ขั้นตอนที่ ๔ : ประสานงานชุมชน ขั้นตอนที่ ๕ : การติดตาม สนับสนุนโครงการ รางปฏิทินกระบวนการดําเนินโครงการ ขั้นตอน ตค. ๕๓ พย. ๕๓ ธค. ๕๓ มค. ๕๔ กพ. ๕๔ มีค. ๕๔ เมย. ๕๔ พค. ๕๔ มิย. ๕๔ กค. ๕๔ สค. ๕๔ กย. ๕๔ ดําเนินการเรงดวนในพื้นที่นํารอง ดําเนินการในพื้นที่ขยายผล ๑. ชี้แจงชุมชน วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ วันที่ ๕ ๒. สํารวจขอมูล ภายใน วันที่ ๓๑ ๓. ฝกอบรม หนวยงานที่เกี่ยวของ ประสานงาน และดําเนินการ ๔. ประสานชุมชน ตอเนื่องตลอดป / ตามคํารองขอจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ๕. ติดตาม สนับสนุนโครงการ ตอเนื่องตลอดป ขั้นตอนที่ ๑ (ชี้แจงชุมชน) วัตถุประสงค เพื่อชี้แจงและทําความเขาใจกับชาวบาน เกี่ยวกับรายละเอียดโครงการฯความ รวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ พื้นที่ที่ดําเนินการ กิจกรรมตางๆ ที่จะ ดําเนินการ กิจกรรม กลุมเปาหมาย กําหนดเวลา ผูรับผิดชอบ - ประชุมชาวบาน ชาวบานที่อาศัยในพื้นที่ บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖ วันที่ ๕ ของทุกเดือน นายสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน (นายก อบ.ต.สวนผึ้ง) มือถือ ๐๘๑-๘๕๖๒๖๐๒ โทร. ๐๓๒-๓๙๕๔๙๒ ตอ ๑๒
  • 13. ขั้นตอนที่ ๒ (การสํารวจขอมูลในพื้นที่เปาหมาย) วัตถุประสงค เพื่อจัดทําชุดแบบสอบถามที่ครอบคลุมในทุกประเด็นที่ตองการสํารวจ เพื่อ นําไปใชในการเก็บขอมูลในพื้นที่ ไดแก ขอมูลพื้นฐาน การใชน้ํา น้ําเสีย ขยะ ภูมิ ปญญา ดัชนีลูกน้ํา ฯลฯ กิจกรรม กลุมเปาหมาย กําหนดเวลา ผูรับผิดชอบ ๑. ออกแบบแบบสอบถาม (พรอมคําอธิบายสําหรับ การตอบคําถาม) ชาวบานที่อาศัยในพื้นที่ นํารอง (ชุมชนหวย ๘ หมู ที่ ๖ และ ชุมชนหวย ๑๐ หมูที่ ๕ และ ๖) ๒๙ ก.ย. - ๓ ต.ค. ๒๕๕๓ หนวยงานที่จําเปนตองเก็บ ขอมูลพื้นที่ ๒. สงแบบสอบถามให สํานักงานทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัดราชบุรี (ทสจ. ราชบุรี) รวบรวม maree_44@hotmail.com ภายในวันที่ ๔ ต.ค. ๒๕๕๓ หนวยงานที่จําเปนตองเก็บ ขอมูลพื้นที่ ๓. จัดทําแบบสอบถาม ภายในวันที่ ๖ ต.ค. ๒๕๕๓ นส.มาลี ศรีรัตนธรรม (ทสจ. ราชบุรี) มือถือ ๐๘๑-๗๕๒๐๗๙๔ maree_44@hotmail.com ๔. สงแบบสอบถามคืน กลับใหแตละหนวยงาน ตรวจสอบ ภายในวันที่ ๘ ต.ค. ๒๕๕๓ นส.มาลี ศรีรัตนธรรม (ทสจ.ราชบุรี) และ หนวยงานตางๆ ๕. ลงสํารวจและเก็บ ขอมูลพื้นที่ ๑๑-๑๕ ต.ค. ๒๕๕๓ นายสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน (นายก อบ.ต.สวนผึ้ง) มือถือ ๐๘๑-๘๕๖๒๖๐๒ โทร. ๐๓๒-๓๙๕๔๙๒ ตอ ๑๒ ๖. วิเคราะหขอมูลแบบ สอบถาม ภายในวันที่ ๒๐ ต.ค. ๒๕๕๓ นส.มาลี ศรีรัตนธรรม (ทสจ. ราชบุรี) ๗. รายงานผลการสํารวจ ใหทุกหนวยงานทราบ เพื่อนําขอมูลไปใชในการ วางแผนการทํางาน ภายในวันที่ ๓๑ ต.ค. ๒๕๕๓ นส.มาลี ศรีรัตนธรรม (ทสจ. ราชบุรี)
  • 14. ขั้นตอนที่ ๓ (การฝกอบรม) วัตถุประสงค เพื่อรวมกันกําหนดชวงเวลาการฝกอบรมในภาพรวมใหมีความเหมาะสม สอดคลอง ไมซ้ําซอน โดยที่ประชุมไดตกลงกันมอบหมายใหมีผูประสานงาน ดังนี้ แผนงานฝกอบรม หนวยงานหลักในการ ประสานงาน ผูรับผิดชอบ ดานพลังงาน สํานักงานพลังงานจังหวัดราชบุรี นายเกริก มั่นคง มือถือ ๐๘๓-๓๑๓๖๖๒๙ krek@energy.go.th ดานเกษตรอินทรีย สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี นายเชาว วิเศษโชค มือถือ ๐๘๙-๒๕๗๘๒๖๖ chaowi@hotmail.com ดานการจัดการขยะชุมชน กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม นายสากล ฐินะกุล มือถือ ๐๘๑-๙๘๙๐๐๖๘ ดานการจัดการน้ํา สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค ๗ นส.วาทินี เพ็ญศิริ มือถือ ๐๘๗-๒๓๑๖๔๔๖ Wathinee_eng@hotmail.com ดานวัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี นส.ศันสนีย มือถือ ๐๘๑-๘๗๐๙๗๙๒ ขั้นตอนที่ ๔ (ประสานงานชุมชน) วัตถุประสงค เพื่อประสานงานกับกลุมเปาหมายในพื้นที่ หนวยงานหลักในการประสานชุมชน ผูรับผิดชอบ ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ สวนผึ้ง พ.ต.ท.วิโรจน สุขเสริม มือถือ ๐๘๔-๘๘๔๕๒๔๔ โทร. ๐๓๒-๓๙๕๑๕๘ BPP137@gmail.com องคการบริหารสวนตําบลสวนผึ้ง นายกสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน มือถือ ๐๘๑-๘๕๖๒๖๐๒ โทร. ๐๓๒-๓๙๕๔๙๒ ตอ ๑๒
  • 15. ขั้นตอนที่ ๕ (การติดตาม สนับสนุนโครงการ) วัตถุประสงค เพื่อติดตามสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมตางๆ ภายใตโครงการความรวมมือไทย- จีน หมูบานไรมลพิษ หนวยงานหลักในการติตามสนับสนุนโครงการ ผูรับผิดชอบ สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง เจาหนาที่งานภาคกลาง มือถือ ๐๘๑-๗๒๖๒๗๕๗ petkleang@gmail.com ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ สวนผึ้ง พ.ต.ท.วิโรจน สุขเสริม มือถือ ๐๘๔-๘๘๔๕๒๔๔ โทร. ๐๓๒-๓๙๕๑๕๘ BPP137@gmail.com
  • 17. ปจจัยสําคัญที่สงผลตอความสําเร็จของโครงการไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ ผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการฯ ไดรวมกันสรุปปจจัยสําคัญที่จะสงผลตอความสําเร็จของ โครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษอําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (บานถ้ําหิน หมูที่ ๕ และ บานหวยคลุม หมูที่ ๖) ไวดังนี้ ปจจัยสําคัญที่จะทําให โครงการประสบความสําเร็จ ปฏิบัติตามแผนการดําเนินการที่วางไว ตั้งใจปฏิบัติงาน รวมมือรวมใจกัน ไดรับการตอบรับและความรวมมือจาก ประชาชน มีงบประมาณเพียงพอสําหรับ ดําเนินการ ทําจริง ตองมีใจรักงาน มีความรับผิดชอบ ไมเกี่ยงงาน มีการประสานงานที่ดี ไดรับความรวมมือจากทุกภาคสวน ปฏิบัติงานดวยความเต็มใจ ใชกระบวนการมีสวนรวมในการ ดําเนินการ มีความมุงมั่น ปจจัยสําคัญที่อาจทําให โครงการไมประสบความสําเร็จ ตางหนวยงานตางทํา ราษฎรในพื้นที่ไมใหความรวมมือ มี่มีการเขาสํารวจพื้นที่กอนดําเนินการ พื้นที่ไมตรงตามเปาหมาย หนวยงานไมไดดําเนินการตามแนวทาง ที่วางแผนรวมกัน ขาดการวางแผนการดําเนินการที่ดี ผูนําในพื้นที่ขาดความรู ความเขาใจใน โครงการ ขาดความรวมมือ ขาดการประสานงาน การขัดแยงกันระหวางหนวยงาน การขาดงบประมาณในการดําเนินการ ขาดการประเมินผลที่ถูกตอง ไมมีแผนงาน / แผนงบประมาณ ไมมีแผนการดําเนินการที่ตอเนื่อง
  • 18. ผูเขาประชุมเชิงปฏิบัติการ การบูรณาการและจัดทําแผนปฏิบัติงานโครงการความรวมมือไทย – จีน หมูบานไรมลพิษ ลําดับ หนวยงาน ชื่อ - นามสกุล ตําแหนง เบอรติดตอ E-mail ๑. กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม นายสากล ฐินะกุล นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ๐๘-๑๙๘๙-๐๐๖๘ - ๒. กรมควบคุมมลพิษ นายเชาวน นกอยู นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ๐๘-๗๓๔๗-๑๒๒๑ cnokyoo@hotmail.com ๓. กรมทรัพยากรน้ําบาดาล นายสุพจน เจิมสวัสดิ์พงษ - ๐-๒๗๙๓-๑๐๓๔ Supot06@gmail.com ๔. กรมทรัพยากรน้ํา นายยรรยงค อินทฤทธิ์ วิศวกรชํานาญการพิเศษ - - ๕. สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค ๘ (ราชบุรี) น.ส.ลลิตา จันทรจุฬาลักษณ นักวิชาการสิ่งแวดลอม ๐๘-๐๕๖๕-๓๗๕๗ lalita287@gmail.com ๖. สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดราชบุรี นส.มาลี ศรีรัตนธรรม ผอ.สนง.ทสจ. ๐๘-๑๗๕๒-๐๗๙๔ maree_44@hotmail.com ๗. สํานักจัดการปาชุมชน นส.ปาริชาติ ฤทธเดช (ประชุมแทน) นักวิชาการปาไมชํานาญการ ๐๘-๑๗๒๐-๒๔๖๐ - ๘. สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ ๑๐ (ราชบุรี) นายนริศ อาจธัญกรณ ผอ.สวนจัดการปาชุมชน ๐๘-๑๔๐๗-๒๔๐๕ narit_52@hotmail.com ๙. จังหวัดราชบุรี (สํานักงานจังหวัด) นายชินวัฒน อัศโนมันต นักวิเคราะหนโยบายฯ ชํานาญการ ๐๘-๑๓๗๘-๕๒๓๘ Chin_1991@msn.com ๑๐. อําเภอสวนผึ้ง น.ส.สุภาพร มุสิกสาร ปลัดอําเภอสวนผึ้ง ๐๘-๙๒๒๐-๙๐๓๓ pm483@hotmail.com ๑๑. องคการบริหารสวนตําบลสวนผึ้ง นายสมศักดิ์ เหลืองจรุงรัตน นายก อบต.สวนผึ้ง ๐๘-๑๘๕๖-๒๖๐๒ - ๑๒. ตํารวจตระเวนชายแดนที่ ๑๓๗ พ.ต.ท.วิโรจน สุขเสริฐ ผบ.รอย ตชด.๑๓๗ สวนผึ้ง ๐๘-๔๘๘๔-๕๒๔๔ bpp137@hotmail.com ๑๓. โรงเรียนตะเวนชายแดนบานถ้ําหิน ด.ต.สําเริง เกลี้ยงมน จนท.งาน.กร รอย ตชด.๑๓๗ ๐๘-๗๑๖๔-๗๑๙๙ Raa_rerng08@hotmail.com ๑๔. สํานักงานพลังงานจังหวัดราชบุรี นายเกริก มั่นคง นายชางเทคนิค ๐๘-๓๓๑๓-๖๖๒๙ krek@energy.go.th ๑๕. สํานักวิชาการพลังงานภาค ๔ อรุณ ยิมประเสริฐ นายชางเทคนิคอาวุโส ๐-๓๒๓๙-๑๗๐๕ - ๑๖. สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ ๔ (สคร.๔) จุฑาทิพย ชมภูนุช นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ ๐๘-๑๗๔๕-๗๖๕๗ cchompoonuch@hotmail.com ๑๗. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี นายภัลลภ จริยาภิวุฒิ - ๐๘-๑๗๕๖-๘๔๘๖ - ๑๘. สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี นางพัชราภา มนัสปญญากุล - ๐๘-๑๘๗๔-๔๕๑๐ Patcha_som@hotmail.com ๑๙. สภาวัฒนธรรมจังหวัดราชบุรี นายไกร ตราบดี รองประธานสภา ๐๘-๑๙๑๐-๒๒๓๙ - ๒๐. สํานักงานเกษตรจังหวัดราชบุรี นายเชาวน วิเศษโชค นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ ๐๘-๙๒๕๗-๘๒๖๖ chaowi@hotmail.com ๒๑. ศูนยบริหารศัตรูพืชจังหวัดสุพรรณบุรี สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการสงเสริมการเกษตรฯ ๐๘-๑๑๙๘-๓๗๔๔ Somkid_bio2@yahoo.com ๒๒. ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรจังหวัดราชบุรี นายวัฒนิกร เทพโพธา นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ ๐๘-๖๗๓๐-๑๓๙๔ bacterc@hotmail.com ๒๓. สํานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดราชบุรี น.ส.ดามร หนูรักษ นักวิชาการเกษตรชํานาญการ ๐๘-๗๐๒๕-๑๒๓๖ iamwarin@hotmail.com ๒๔. สํานักงานพัฒนาที่ดินเขต ๑๐ นายพิพัฒน สุวัชยังกูร ผอ.สวน.พัฒนาที่ดิน เขต ๑๐ ๐๘-๑๘๘๒-๔๔๖๗ ๒๕. สํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาลภาค ๗ นส.วาทินี เพ็ญศิริ วิศวกรโยธาปฏิบัติการ ๐๘-๗๒๓๑-๖๔๔๖ wathinee_eng@hotmail.com ๒๖. สํานักงานทรัพยากรน้ําบาดาลเขต ๘ (ราชบุรี) จ.ส.อ.จรัญ โพธิ์มณี ผอ.สวนบริหารจัดการน้ําบาดาล ๐๘-๙๘๐๙-๐๘๗๑ twrc10@yahoo.com sunee_rb@yahoo.com ผูประสานงานโครงการความรวมมือไทย-จีน หมูบานไรมลพิษ สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง เจาหนาที่งานภาคกลาง ๐๘-๑๗๒๖-๒๗๕๗ petkleang@gmail.com