SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
ปาณัท ทองพ่วง
ผู้ช่วยนักวิจัย
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com
ผู้เขียน : ปาณัท ทองพ่วง
ภาพปก : https://cdn5.img.sputniknews.com/images/105446/96/1054469691.jpg
เผยแพร่ : สิงหาคม 2560
ที่อยู่
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร
กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
บทสรุปผู้บริหาร
ในปี 2017 นี้เป็นวาระครบรอบ 25 ปีความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับประเทศสถานทั้ง 5 แห่งเอเชีย
กลาง อันได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน โดยในช่วง
20 ปีนับตั้งแต่ปี 1992-2012 การค้าระหว่างจีนกับภูมิภาคนี้เพิ่มขึ้นถึง 100 เท่า ความสัมพันธ์ที่กลับมา
ใกล้ชิด “อีกครั้ง” ระหว่างจีนกับเอเชียกลางนั้นยิ่งเพิ่มมากขึ้นภายหลังจากจีนทามหายุทธศาสตร์สาย
ไหมใหม่ OBOR ช่วงราวสิบปีมานี้ ความคืบหน้าหรือล่าช้าของโครงการก่อสร้างเส้นทางคมนาคม ท่อส่ง
น้ามันและก๊าซ ถนน ทางรถไฟ ฯลฯ และการเดินทางเยือนของผู้นาจีนกับเอเชียกลางซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้ง
มาก ตกเป็นหัวข้อข่าวและหัวข้องานวิชาการในโลกตะวันตกอยู่เสมอ นี่จึงทาให้เกิดความสนใจที่จะ
ศึกษาภาพรวมของบทบาทของจีนในเอเชียกลางในปัจจุบันนี้ นามาสู่รายงานวิจัยชิ้นนี้
เอเชียกลางเป็นภูมิภาคที่มีความสาคัญมากทางภูมิรัฐศาสตร์ของโลกมาช้านาน เพราะอยู่
ระหว่างเอเชียและยุโรปในแกนนอน และระหว่างรัสเซียกับตะวันออกกลางในแกนตั้ง ภูมิภาคจึงมีอีกชื่อ
ว่า “ยูเรเซีย (Eurasia)” ที่มาจากคาว่ายุโรปบวกเอเชีย เอเชียกลางเป็นดินแดนที่ไม่มีทางออกทะเล
(landlock) แต่มีสถานะเป็น “สะพานเชื่อม” ทางบกระหว่างอารยธรรม จักรวรรดิ และมหาอานาจสาคัญ
ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยประเทศ “สถาน” ทั้งห้า ดังกล่าวไป เอเชียกลางเป็นเพื่อน
บ้านของจีนทางตะวันตก มีขนาดใหญ่ราวเกือบครึ่งหนึ่งของจีน (ประมาณ 8 เท่าของไทย) เป็นดินแดน
กว้างใหญ่ แต่แห้งแล้ง และมีประชากรน้อยเพียง 68 ล้านคน
จีนเคยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดติดต่อกับเอเชียกลางในยุคที่เส้นทางสายไหมโบราณรุ่งเรืองเมื่อ
2,000 ปีมาแล้ว แต่ซบเซาลงไปพร้อมกับความเสื่อมของเส้นทางสายนั้น และฟื้นกลับมาคึกคักแน่น
แฟ้นอีกครั้งนับแต่สถาปนาความสัมพันธ์ในทศวรรษ 1990 ในภาพรวม บทบาทของจีนในเอเชียกลางใน
ยุคร่วมสมัยจาแนกได้เป็นเรื่องสาคัญ 3 เรื่องคือ ด้านภูมิรัฐศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจและพลังงาน และด้าน
ความมั่นคง บทบาททั้งสามเรื่องเชื่อมโยงและส่งเสริมกัน
ในด้านภูมิรัฐศาสตร์ เอเชียกลางก็กลับมามีความสาคัญด้วยเหตุผลเดียวกับเมื่อในอดีต คือ เมื่อ
จีนจะสร้างเส้นทางสายไหม (ใหม่) ไปทางตะวันตก เอเชียกลางเป็นหน้าด่านแรกที่สาคัญที่สุดที่จีนจะ
เชื่อมต่อไปยังรัสเซีย ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และยุโรปได้ ในด้านเศรษฐกิจและพลังงาน ด้วย
เศรษฐกิจจีนที่อิ่มตัว มีศักยภาพล้นเกิน และชะลอตัวลงทาให้จีนต้องแผ่ขยายเคลื่อนย้ายไปลงทุนค้าขาย
ในเอเชียกลางที่อยู่ติดกันและยังมีช่องว่างในการเติบโตและพัฒนาอยู่มาก อีกทั้งเอเชียกลางยังอุดมไป
ด้วยพลังงาน ทั้งน้ามันและก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งแร่ธาตุสาคัญ จีนในฐานะประเทศผู้บริโภคพลังงานมาก
ที่สุดของโลก จึงต้องการดึงเอาพลังงานของเอเชียกลางมาขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศของตน การใช้
พลังงานจากเอเชียกลางยังมีข้อดีตรงที่ช่วยลดการพึ่งพิงการขนส่งพลังงานทางทะเล ซึ่งเป็นจุดอ่อนที่จีน
ตระหนักหากถูก “ปิดล้อม” จากตะวันตก และประการที่สาม เสถียรภาพทางการเมืองและความมั่นคงใน
เอเชียกลาง ซึ่งมีความอ่อนไหวในประเด็นนี้ มีความสาคัญกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของจีนในเอเชีย
กลาง เส้นทางสายไหมใหม่ และความมั่นคงของจีนเอง โดยเฉพาะในมณฑลซินเจียง ที่มีปัญหาความไม่
สงบจากขบวนการแบ่งแยกดินแดนมุสลิมอุยกูร์ ที่กระจายตัวในเอเชียกลางเช่นกัน
ทั้งสามประเด็นหลักนี้ผลักดันให้จีนเข้าไปมีบทบาทอย่างมากทั้งทางการทูต ความมั่นคง และ
โดยเฉพาะเศรษฐกิจ ในเอเชียกลาง เป็นที่มาของมูลค่าการค้า เครือข่ายโครงสร้างการคมนาคม ถนน
ราง และเครือข่ายท่อส่งพลังงานเอเชียกลางสู่จีน อันโยงใยไปทั่วทั้งภูมิภาค กาลังก่อสร้างอยู่ และจะเพิ่ม
มากขึ้นอีกในอนาคต จีนเข้าไปวางท่อส่งน้ามันและก๊าซธรรมชาติจากแหล่งสารองในคาซัคสถานและ
เติร์กเมนิสถานตามลาดับ ผ่านทุกประเทศที่เหลือในเอเชียกลาง เข้าสู่จีนทางมณฑลซินเจียง จีนเข้าไป
สร้างทางรถไฟสายจีน-เคอร์กีซสถาน-อุซเบกิสถาน และเข้าไปสร้างความร่วมมือต่อต้านการก่อการร้าย
และร่วมซ้อมรบชายแดนกับอุซเบกิสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน สินค้าที่ผลิตจากจีนครองตลาด
ในประเทศต่างๆ ของเอเชียกลาง จีนเป็นคู่ค้าสาคัญอันดับหนึ่งหรือสองของทุกประเทศในภูมิภาคนี้ไม่
ทางส่งออกก็นาเข้าหรือทั้งคู่ จีนเข้าไปลงทุนก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานในประเทศเหล่านี้ ให้ความ
ช่วยเหลือทางการเงิน และเผยแพร่วัฒนธรรมจีน ซึ่งบทบาทในด้านต่างๆ ของจีนนี้แม้จะมีมาก่อน แต่
นอกเหนือจากความสัมพันธ์ทวิภาคีกับประเทศต่างๆ แล้ว ก็ครอบคลุมอยู่ภายใต้ร่มใหญ่ของมหา
ยุทธศาสตร์ OBOR ซึ่งชูความร่วมมือทางเศรษฐกิจเป็นธงนา กับองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้
(Shanghai Cooperation Organization: SCO) ซึ่งชูธงความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคงเป็นธง
นา ทั้งสองกรอบพหุภาคีนี้เป็นเครื่องมือหลักของจีนในการดาเนินความร่วมมือกับเอเชียกลาง
บทบาทในด้านต่างๆ ที่เพิ่มขึ้นอย่างสูงของจีนในเอเชียกลางนั้น ใช่ว่าจะไม่เผชิญกับความ
หวาดระแวงหรือความไม่พอใจจากประชาชนในภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ดี ในภาพรวม กล่าวได้ว่ามีความ
ต่อต้านน้อยและความร่วมมือแน่นแฟ้นมาก เพราะจีนใช้เศรษฐกิจเป็นธงนาหลัก ไม่ตั้งเงื่อนไขทาง
การเมือง รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนระบอบการเมืองในประเทศเหล่านี้ การเข้ามาของจีนในภูมิภาคนี้จึง
ถูกมองไปในทางที่เป็น “โอกาส” และเป็น “อนาคต” ในการพัฒนาประเทศที่สาคัญอย่างยิ่งยวดสาหรับทั้ง
จีนและประเทศต่างๆ ในเอเชียกลาง
สารบัญ
หน้า
บทนา
บทที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น 1
บทที่ 2 ความสาคัญของเอเชียกลาง 6
ความสาคัญของเอเชียกลางต่อจีน 11
บทที่ 3 บทบาทจีนในเอเชียกลาง 12
บทบาทด้านพลังงาน 18
บทบาทด้านโครงข่ายคมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน 28
บทบาทด้านความมั่นคง 34
บทบาทด้าน Soft Power 35
บทที่ 4 บทสรุป 36
บรรณานุกรม 38
บทนา
จีนพัฒนาประเทศมาเป็นลาดับขั้น จากการตั้งประเทศในยุคเหมา มาสู่การปฏิรูปและเปิด
ประเทศในยุคเติ้ง มาในวันนี้ ในยุคสีจิ้นผิง จีนกาลังก้าวออกสู่โลก การก้าวออกสู่โลกเป็นยุทธศาสตร์
ใหญ่ในระดับที่เป็นอีกขั้นหนึ่งของการพัฒนาประเทศจีน ในยุคนี้ จีนออกไปทุกภูมิภาคทั่วทั้งโลก มาก
น้อยต่างกัน ภูมิภาคเอเชียกลางเป็นหนึ่งในนั้น ที่จีนให้ความสาคัญมากในฐานะเพื่อนบ้าน (ที่มีอาณา
เขตติดกัน 3 จาก 5 ประเทศ คือ คาซัคสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน) ในฐานะทาเลยุทธศาสตร์
ที่จะเชื่อมต่อไปยังภูมิภาคอื่น ตามยุทธศาสตร์ One Belt One Road และที่สาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากันคือ
เป็นแหล่งพลังงานทางเลือกที่สาคัญใกล้บ้านเพื่อป้อนเศรษฐกิจจีน
ช่วงทศวรรษที่ผ่านมาโลกเห็นว่าบทบาทของจีนในภูมิภาคเอเชียกลางเพิ่มสูงขึ้นมากอย่างเห็น
ได้ชัด ในทุกด้านไม่ว่าเศรษฐกิจ การเมือง ความมั่นคง การทูต โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจและพลังงาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจีนประกาศมหายุทธศาสตร์ One Belt One Road ในปี 2013 (ซึ่งการประกาศ
แผนเส้นทางสายไหมทางบกนั้นก็ทาที่คาซัคสถาน ประเทศใหญ่สุดในเอเชียกลางนี่เอง) ในช่วง 20 ปีนับ
จากประเทศเอเชียกลางทั้ง 5 คือ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เคอร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน และทาจิกิ
สถานได้รับเอกราชและสถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับจีนในปี 1992 จนถึงปี 2012 การค้า
ระหว่างจีนกับภูมิภาคนี้เพิ่มขึ้นถึง 100 เท่า1
ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ความคืบหน้าหรือชะงักงันของการ
ก่อสร้างเส้นทางรถไฟ ท่อส่งน้ามันและก๊าซ ถนน อุโมงค์ ด่านทางบก ฯลฯ หรือการเยี่ยมเยือนที่เกิดขึ้น
ถี่อย่างมากระหว่างผู้นาประเทศเอเชียกลางกับผู้นาจีน ถูกรายงานในข่าวและนามาวิเคราะห์เสมอในโลก
วิชาการ แสดงให้เห็นว่าโลกจับจ้องความสัมพันธ์ที่สนิทแนบแน่นขึ้นในเวลาอันสั้นของจีนและเอเชีย
กลางมากทีเดียว
อย่างไรก็ดี การวิเคราะห์ของสื่อและวงวิชาการตะวันตกต่อบทบาทจีนในเอเชียกลางมักบิดเบี้ยว
ด้วยอคติที่มีต่อจีนอยู่เสมอ ผู้ติดตามศึกษาเรื่องนี้จากงานตะวันตกจะพบเสมอว่างานส่วนใหญ่ถูกเสนอ
ผ่านกรอบคิดที่ว่าจีนมีวาระซ่อนเร้นบางอย่างอยู่เสมอในการเข้าไปในเอเชียกลาง พวกเขามักเชื่อว่าจีน
ใช้เรื่องเศรษฐกิจบังหน้า และ “เหตุผลหลัก” คือต้องการเพิ่มอิทธิพลด้านภูมิรัฐศาสตร์ การทหาร และ
ความมั่นคงในภูมิภาคนี้มากกว่า จานวนมากมักชี้ต่อไปว่าที่จีนต้องการสร้างเสถียรภาพและสถาปนา
1
Bernado Mariani. China’s Role and Interests in Central Asia. Saferworld. ออนไลน์
file:///C:/Users/DELL/Downloads/chinas-role-and-interests-in-central-asia.pdf.
อานาจของตนให้เข้มแข็งในภูมิภาคนี้ เพื่อกระชับอานาจของตนในซินเจียง เนื่องจากข้อเท็จจริงมีอยู่ว่ามี
สายสัมพันธ์ใกล้ชิดทั้งทางเชื้อชาติ ศาสนา และความเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐระหว่างชาวอุยกูร์ที่กระจาย
ตัวอยู่ในเอเชียกลาง และที่อยู่ในฝั่งซินเจียง
หลังจากทาการศึกษามาในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ข้าพเจ้าได้เขียนงานชิ้นนี้ขึ้นด้วยมุมมองที่ว่าใน
ความเป็นจริง สาหรับจีนเองนั้นยากที่จะบอกว่าอะไรเป็นเหตุผลที่สาคัญกว่ากันระหว่างเศรษฐกิจ
พลังงาน การเมือง หรือความมั่นคงในการที่จีนเข้าไปในเอเชียกลางในปัจจุบัน เพราะเหตุผลเหล่านี้
แท้จริงแล้วเกี่ยวเนื่องและส่งเสริมซึ่งกันและกันอยู่เสมอ และที่จริงจีนก็คงจะไม่ได้มีวาระซ่อนเร้นหรือ
แผนการใหญ่แอบแฝงอะไรมากมายดังที่นักวิเคราะห์ตะวันตกมักตีความไปต่างๆ นานา ข้าพเจ้าเห็นว่า
กรอบคิดที่ดีที่สุดที่จะช่วยให้เรามองบทบาทของจีนในเอเชียกลางได้อย่างตรงไปตรงมา ก็คือการยึดตาม
หลักเหตุผลพื้นฐานและความเป็นจริง
หากให้กล่าวว่าอะไรคือเหตุผลที่จีนเข้าไปในเอเชียกลางมากมายขนาดนี้ ข้าพเจ้าจะตอบในที่นี้
ว่าเหตุผลหลักๆ ที่มักถูกพูดถึงกันประมาณสามเรื่อง คือ หนึ่ง เพื่อเข้าไปหาตลาด หาพลังงาน และแร่
ธาตุมาป้อนเศรษฐกิจจีน สอง เพื่อใช้เอเชียกลางเป็นสะพานเชื่อมไปยังยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้
และสามเพื่อสร้างเสถียรภาพในภูมิภาคแห่งนั้นและกระชับความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้าย
เพื่อประกันความมั่นคงในซินเจียง ทั้งสามเรื่องนั้นล้วนมีน้าหนักและส่งเสริมกัน
หากใช้หลักเหตุผลพื้นฐานจะเห็นว่าการที่จีนหันไปหาเอเชียกลางในช่วงที่ผ่านมานั้น
“สมเหตุสมผล” อยู่แล้วในหลายๆ ทาง เพราะเมื่อจีนในฐานะผู้บริโภคพลังงานอันดับหนึ่งของโลก ไม่มี
พลังงานสารองเพียงพอก็จาเป็นต้องหาแหล่งพลังงานภายนอก ซึ่งเมื่อเพื่อนบ้านทางตะวันตกที่อยู่
ติดกันอย่างเอเชียกลางอุดมสมบูรณ์ด้วยน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งแร่ธาตุสาคัญ ก็ไม่แปลกที่จีนจะ
พยายามเชื่อมท่อทางบกเพื่อนาพลังงานจากเอเชียกลางมาใช้ในประเทศ ซึ่งแน่นอนว่าสะดวกและ
ปลอดภัยสาหรับจีนมากกว่าการขนส่งทางทะเลที่ควบคุมโดยสหรัฐอเมริกาตลอดทางจากตะวันออก
กลางมาถึงจีนอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ เป็นที่รู้กันดีว่าเศรษฐกิจจีนเข้าสู่สภาวะ New Normal
มีความอิ่มตัวและล้นเกินของศักยภาพในหลายภาคส่วน โดยเฉพาะภาคการก่อสร้าง ที่ทาให้การเติบโต
ของเศรษฐกิจจีนชะลอตัวลง จีงไม่แปลกที่จีนจะขยายฐานการค้า การลงทุน การก่อสร้างโครงสร้าง
พื้นฐาน ออกไปยังที่ที่มียังมีช่องว่างในการเติบโตหรือกล่าวง่ายๆ คือยังด้อยพัฒนาอยู่ในทางเศรษฐกิจ
ซึ่งเอเชียกลางก็เป็นเช่นนั้น ประการที่สอง ด้วยที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ชัดเจนว่าหากจีนจะฟื้นเส้นทางสาย
ไหมทางบก เชื่อมโยงเข้ากับรัสเซีย ตะวันออกกลาง และยุโรป ย่อมไม่พ้นที่จะต้องวางโครงการคมนาคม
ผ่านเอเชียกลาง และประการที่สาม นับแต่แตกตัวจากสหภาพโซเวียต ทราบกันดีว่าเอเชียกลางเป็น
ภูมิภาคที่มีปัญหาเรื่องเสถียรภาพทางการเมืองและความมั่นคง ทั้งจากความขัดแย้งของชาติพันธุ์ต่างๆ
ในภูมิภาคเอง กลุ่มต่อต้านรัฐบาลในประเทศต่างๆ ขบวนการธุรกิจผิดกฎหมายทั้งค้าอาวุธและยาเสพ
ติด กลุ่มติดอาวุธหัวรุนแรงทั้งที่เกี่ยวกับการแบ่งแยกดินแดนอุยกูร์และไม่เกี่ยว และแรงกระเพื่อมจาก
ความไม่สงบในอัฟกานิสถานที่อยู่ติดทางตอนใต้ของภูมิภาค เหตุจลาจลเมื่อปี 2010 และเหตุระเบิด
สถานทูตจีนในเคอร์กีซสถานเมื่อปี 2016 ย่อมเป็นตัวอย่างที่กระตุ้นให้ทางการจีนตระหนักถึงผลกระทบ
ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่เอเชียกลางขาดเสถียรภาพ โดยเฉพาะผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ
พลังงานของจีนในเอเชียกลาง และเสถียรภาพในมณฑลซินเจียงที่อยู่ติดกัน จีนจึงต้องหันมาสร้างเสริม
เสถียรภาพทั้งทางการเมืองและความมั่นคงในเอเชียกลาง ด้วยการกระตุ้นความกินดีอยู่ดีของคนเอเชีย
กลางผ่านความร่วมมือด้านต่างๆ โดยเฉพาะภายใต้ยุทธศาสตร์ OBOR ซึ่งย่อมเป็นวิธีสาคัญที่จะช่วย
สร้างเสถียรภาพทางการเมืองในเอเชียกลางได้ ร่วมกับการกระชับความร่วมมือด้านความมั่นคงและ
การทหาร เช่น การซ้อมรบร่วมบริเวณชายแดนระหว่างจีนกับประเทศในเอเชียกลาง เป็นต้น
โดยสรุป จะเห็นได้ว่ามีปัจจัยหลายประการที่ผลักดันให้จีนหันไปสู่เอเชียกลางโดยมิจาเป็นต้องมี
แผนการอะไรซ่อนเร้นอยู่เบื้องหลัง อย่างไรก็ตาม การกล่าวเช่นนี้มิได้หมายความว่าจีนจะเข้าหาเอเชีย
กลางอย่างไร้ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวกับเอเชียกลางที่ชัดเจนที่สุดของจีนก็คือ OBOR ร่วมกับ
SCO สองร่มใหญ่ของความร่วมมือนี้ย่อมเป็นกรอบหรือเวทีใหญ่ที่รองรับการขมวดเอาความเชื่อมโยง
ด้านเศรษฐกิจ พลังงาน คมนาคม โครงสร้างพื้นฐาน การค้าการลงทุน การเมือง การทูต ความมั่นคง
การทหาร สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ที่จีนทากับเอเชียกลางทั้งก่อนและหลังที่จะมี OBOR และ SCO เข้าไว้อย่าง
ครอบคลุม
บทบาทของจีนในเอเชียกลางในภาพใหญ่นั้นต้องถือว่าสมประโยชน์ทั้งสองฝ่าย ฝ่ายเอเชียกลาง
ได้โอกาสใหญ่อย่างน้อยในรอบ 2,000 ปีนับแต่กาเนิดของเส้นทางสายไหมโบราณที่จะยกระดับตัวเอง
ทางเศรษฐกิจ การทูต ส่วนจีนนั้น การเข้าไปดาเนินกิจกรรมในทุกมิติ โดยเฉพาะทางเศรษฐกิจในเอเชีย
กลางย่อมเป็นโอกาส เพราะเมื่อกล่าวถึงเรื่องการหันสู่ตะวันตกหรือยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมสู่
ตะวันตกของจีนนั้น มักจะพบว่ามีแต่เรื่องของโอกาสและพื้นที่ในการทาสิ่งใหม่ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
พัฒนาสิ่งใหม่ๆ สร้างความร่วมมือใหม่ๆ เทียบกับแนวการต่างประเทศดั้งเดิมของจีนซึ่งเทน้าหนักไปที่
ฝั่งตะวันออก ซึ่งในเวลานี้ก็อิ่มตัวแล้วในประเทศ ส่วนแนวโน้มสถานการณ์ระหว่างประเทศทางฝั่ง
ตะวันออกนี้ก็ติดขัด ตึงเครียด และคุกรุ่นขึ้นเป็นระยะ จากหลายประเด็นในความสัมพันธ์จีน เกาหลี
เหนือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน อาเซียน สหรัฐอเมริกา และทะเลจีนใต้ บรรยากาศความอึดอัดใน
สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศทางตะวันออก น่าจะทาให้ต่อจากนี้นั้น สาหรับจีน โอกาส ความร่วมมือ
การพัฒนา และการเติบโตน่าจะมีอยู่ทางฝั่งตะวันตก ทั้งในเอเชียกลาง และไกลออกไป มากกว่าฝั่ง
ตะวันออกของประเทศ
บทความนี้จะกล่าวถึงบทบาทของจีนในเอเชียกลางในด้านต่างๆ ที่สาคัญ ประวัติความเป็นมา
และพัฒนาการในปัจจุบัน น่าจะเป็นประโยชน์สาหรับประเทศไทยทั้งในส่วนของประเทศเราเองลาพัง
และในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นอีกภูมิภาคที่จีนออกมาหาเช่นกัน
แม้จะในรูปแบบที่ต่างออกไป
กรอบคิดและขอบเขตของการศึกษา
ในส่วนของกรอบคิด งานวิจัยชิ้นนี้ทาการศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลบนหลักเหตุผลพื้นฐาน
และความเป็นจริง โดยมิได้ยืนอยู่บนกรอบการวิเคราะห์ที่สันนิษฐานว่าจีนมีวาระซ่อนเร้นบางอย่างที่
มากกว่าเหตุผลทางเศรษฐกิจในการเข้าไปมีบทบาทในเอเชียกลาง อันเป็นกรอบการวิเคราะห์ที่พบได้ใน
งานศึกษาส่วนใหญ่ในเรื่องนี้ของตะวันตก
สาหรับของเขตของการศึกษา งานชิ้นนี้ศึกษาบทบาทของจีนในเอเชียกลางที่เกิดขึ้นในช่วง 25
ปีนับตั้งแต่การสถาปนาความสัมพันธ์ของประเทศต่างๆ ในเอเชียกลางกับจีนในปี 1992-2017 โดย
วิเคราะห์บทบาทของจีนในภูมิภาคนี้ด้านการเมือง การทูต ความมั่นคง การทหาร และโดยเฉพาะทาง
เศรษฐกิจเป็นหลัก แบ่งประเด็นการศึกษาออกเป็น ภูมิหลังและข้อมูลทั่วไปของภูมิภาคเอเชียกลาง
ความสาคัญของเอเชียกลางต่อจีน ภาพรวมบทบาทของจีนในเอเชียกลาง และบทบาทของจีนในแต่ละ
ประเทศในเอเชียกลาง
1
บทที่ 1
ข้อมูลเบื้องต้น
ภาพที่ 1 ภูมิภาค ‘เอเชียกลาง’
ที่มาภาพ global.britannica.com
2
เอเชียกลาง (Central Asia-บางแห่งยังคงเรียกว่า Middle Asia) เป็นชื่อเรียกภูมิภาคหนึ่งของ
โลก ซึ่งมีอาณาเขตดังภาพที่ 1 คือ ทิศตะวันตกตั้งแต่ทะเลแคสเปียนจรดจีนทางทิศตะวันออก และจาก
รัสเซียทางทิศเหนือจรดอิหร่านและอัฟกานิสถานทางทิศใต้ การเรียกว่า ‘เอเชียกลาง’ นี้ ความจริงเป็น
การเรียกแบบตะวันตก ในขณะที่จีนเรียกดินแดนแถบนี้ว่า ดินแดนตะวันตก (Western Region) มาแต่
โบราณ เอเชียกลางในปัจจุบันมีอาณาเขตประมาณ 4 ล้านตารางกิโลเมตร (ประเทศไทยมีเนื้อที่ราว 5
แสนตารางกิโลเมตร เอเชียกลางจึงมีขนาดประมาณ 8 เท่าของประเทศไทย ขณะที่ประเทศจีนมีเนื้อที่
ราว 9 ล้าน 6 แสน ตารางกิโลเมตร เอเชียกลางจึงใหญ่ประมาณเกือบครึ่งหนึ่งของจีน) ประกอบด้วยทุก
ประเทศ “สถาน” รวม 5 ประเทศ ยกเว้นอัฟกานิสถานและปากีสถาน ได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน
เคอร์กิซสถาน เติร์กเมนิสถาน และทาจิกิสถาน โดยคาซัคสถานเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และทาจิ
กิสถานมีขนาดเล็กที่สุด
ดินแดนและผู้คน
ภาพที่ 2 “เอเชียกลาง” ในแผนที่โลก
ที่มาภาพ https://en.wikipedia.org/wiki/Central_Asia#/media/File:Central_Asia_(orthographic_projection).svg
เอเชียกลางเป็นดินแดนกว้างใหญ่ที่มีประชากรเบาบาง ดังที่กล่าวไปว่า มีขนาดเกือบครึ่งหนึ่ง
ของจีน ประมาณแปดเท่าของประเทศไทย แต่มีประชากรพอๆ กับประเทศไทย คือ ราว 68 ล้านคน ชน
ชาติหลักที่อาศัยในดินแดนนี้ 5 กลุ่ม เรียงจากมากไปน้อย คือ อุซเบก คาซัค ทาจิก เติร์กเมน และ เคอร์
3
กิซ โดยอุซเบกิสถานมีประชากรจานวนมากที่สุด ราว 32 ล้านคน รองลงมาคือคาซัคสถานราว 18 ล้าน
คน ทาจิกิสถาน 8 ล้านคน และเติร์กเมนิสถานกับเคอร์กีซสถานราวประเทศละ 6 ล้านคน2
เอเชียกลางตั้งอยู่ใจกลางของแผ่นดิน “ยูเรเซีย” ห่างจากทะเลมาก จึงจึงมีภูมิอากาศที่แห้งแล้ง
ดินแดนส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้าสเต็ปป์ (steppe) คือ ทุ่งหญ้าต้นสั้นๆ และทะเลทรายอันกว้างใหญ่
โดยรวม ครึ่งบนของเอเชียกลางบริเวณประเทศคาซัคสถานเป็นทุ่งหญ้าสเต็ปป์ ส่วนครึ่งล่างจะเป็น
ทะเลทราย ที่สาคัญ คือ ทะเลทราย Karakum และ Kyzylkum กับดินแดนขรุขระและเทือกเขาสูงด้าน
ตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณประเทศเคอร์กีซสถานและทาจิกิสถาน ขอบเขตด้านตะวันออกและด้านใต้ของ
เอเชียกลางถูกกั้นด้วยเทือกเขาสาคัญหลายแห่ง เช่น เทือกเขาอัลไต (Altai) เทือกเขาเทียน ชาน (Tian
Shan) และเทือกเขา Pamirs ซึ่งต่อเนื่องกับตะวันตกของจีน ตอนเหนือของอัฟกานิสถาน และอิหร่าน3
ภูมิภาคนี้เป็นดินแดนที่มีน้าน้อย แหล่งน้าหลักของเอเชียกลางอยู่ที่แม่น้าสองสายสาคัญ คือ
แม่น้า Syr Darya และ Amu Darya ซึ่งไหลจากตะวันออกเฉียงใต้ไปสู่ตะวันตกเฉียงเหนือลงสู่ทะเลอารัล
(Aral sea) ทะเลสาบน้าเค็ม ซึ่งเคยเป็นแหล่งน้าสาคัญมากอีกแห่งของภูมิภาค ร่วมกับทะเลสาบใหญ่อีก
แห่ง คือ ทะเลสาบบัลคาช (Lake Balkhash) ซึ่งได้น้าสาคัญมาจากแม่น้าอิลี (Ili) ซึ่งไหลมาจากมณฑล
ซินเจียงของจีน (โปรดดูภาพที่ 3 และ 4)
ภาพที่ 3 แผนที่ภูมิประเทศเอเชียกลาง
2
Starr, S. F. (2013). Lost Enlightenment : Central Asia's Golden Age from the Arab Conquest to Tamerlane.
Princeton University Press.
3
The Editors of Encyclopædia Britannica. Central Asia. ออนไลน์ https://www.britannica.com/place/Central-
Asia.
4
ที่มาภาพ http://www.freeworldmaps.net/asia/central/centralasia-geography-map.jpg
ภาพที่ 4 แผนที่ภูมิประเทศเอเชียกลาง
ที่มาภาพ http://www.freeworldmaps.net/asia/central/centralasia-physical-map.jpg
เหตุที่กล่าวถึงทะเลอารัลว่า “เคย” เป็นแหล่งน้าสาคัญนั้น เพราะในอดีต อย่างช้าจนถึงช่วงท้าย
ของศตวรรษที่แล้ว ทะเลอารัลยังคงถือเป็นทะเลสาบใหญ่อันดับสี่ของโลก แต่นโยบายของโซเวียตใน
ทศวรรษ 1960 ในการผันน้าจากแม่น้า Amu Darya และ Syr Darya สองแหล่งน้าหลักที่ไหลลงสู่ทะเล
อารัล ไปทาการเกษตร โดยเฉพาะปลูกฝ้ายขนานใหญ่4
ทาให้น้าในทะเลอารัลลดลงเรื่อยๆ จนเกือบแห้ง
ในปัจจุบัน
4
The Aral Sea Crisis. ออนไลน์ http://www.columbia.edu/~tmt2120/introduction.htm
5
ภาพที่ 5 ภาพถ่ายดาวเทียมของทะเลอารัลในปี 1989 และปี 2014
ที่มาภาพ https://en.wikipedia.org/wiki/Aral_Sea#/media/File:AralSea1989_2014.jpg
6
บทที่ 2
ความสาคัญของเอเชียกลาง
เอเชียกลาง (Central/Middle Asia) เป็นภูมิภาคที่คนส่วนใหญ่ในโลกปัจจุบันลืมเลือนไป
น้อยคนนักจะนึกออกว่าอยู่ส่วนใหญ่ของโลก แม้เอเชียกลางจะเป็นภูมิภาคที่ไม่ติดทะเล (landlock) แต่
เอเชียกลางคือสะพานเชื่อมทางบก (land bridge) ที่เมื่อหลายพันปีก่อน อารยธรรมต่างๆ ต้องตัดผ่าน
เพื่อเดินทางติดต่อค้าขายหรือทาสงครามระหว่างกันมาแต่โบราณอย่างไรก็ตาม เอเชียกลางคือ
ศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองของโลก ในสมัยที่ผู้คนยังเดินทางติดต่อค้าขายหรือแม้แต่ทาสงคราม
ขยายอาณาเขตกันทางบก เอเชียกลางเป็นจุดกึ่งกลางที่เชื่อมจีนกับกรีก โรมัน ยุโรป เปอร์เซีย อาหรับ
อินเดีย เป็นจุดที่ “เส้นทางสายไหม” โบราณ ซึ่งมีมาตั้งแต่สองพันกว่าปีที่แล้ว พาดผ่านไปยังดินแดน
ต่างๆ ก่อให้เกิดชุมทางการค้าสาคัญตลอดเส้นทาง ซึ่งหลายแห่งเติบโตกลายเป็นเมืองหรือแม้แต่เมือง
หลวงของประเทศในปัจจุบัน เช่น เมืองฉางอาน (Chang’an) ตุนหวง (Dunhuang) เทอรพาน (Turpan)
คัชการ์ (Kashgar) เฟอร์กานา (Ferghana) ซาร์มาคานท์ (Samarkand) บูคาร่า (Bukhara)5
แบกแดด
(Baghdad) ดามัสกัส (Damascus) และคอนสแตนติโนเปิล (Constantinople)6
เอเชียกลางไม่เป็นแต่
เพียงชุมทางการค้าของเส้นทางสายไหม แต่ยังเฟื่องฟูและเป็นศูนย์กลางของ ความรู้ ศิลปวิทยาการ นัก
คิดและนักปรัชญาแห่งยุคสมัย ความเชื่อ ศาสนา รวมทั้งความคิดทางสถาปัตยกรรมต่างๆ ซึ่งยังปรากฏ
หลักฐานให้เห็นอยู่ในอาคารสาคัญหลายแห่งในเมืองเรืองนามแห่งเอเชียกลางทุกวันนี้ ไม่ว่า ซาร์มา
คานท์ บูคาร่า อัลมาตี เป็นต้น นักคิดและนักปรัชญาแห่งเอเชียกลางที่มีชื่อเสียง เช่น Al-Farabi
(Alpharabius) เกิดที่คาซัคสถานหรืออัฟกานิสถานในปัจจุบัน Ibn Sina (Avicenna) ชาวเมืองบูคาร่า ซึ่ง
อยู่ในประเทศอุซเบกิสถานปัจจุบัน ผู้แต่งหนังสือเรื่อง Canon of Medicine และ Al-Biruni ชาวแคว้น
Khwarezm ซึ่งปัจจุบันคาบเกี่ยวอยู่ระหว่างอุซเบกิสถานและเติร์กเมนิสถาน ท่านเหล่านี้มีชีวิตอยู่เมื่อ
ราวพันปีมาแล้ว เป็นนักคิดและผู้รอบรู้หลายศาสตร์ (polymath) ตั้งแต่ ปรัชญา การเมือง ดนตรี ไป
จนถึง การแพทย์และคณิตศาสตร์ เช่นเดียวกับผู้ทรงภูมิในสมัยโบราณหลายท่านทั่วโลก และเป็นที่รู้จัก
ดีทั้งในโลกตะวันตกและตะวันออก
5
เฟอร์กานา ซาร์มาคานท์ และบูคาร่า อยู่ในเอเชียกลางในปัจจุบัน
6
CCTV. One Belt One Road Documentary Episode One: Common Fate (Improved Video version).
https://www.youtube.com/watch?v=twqpsJhqPKY เผยแพร่เมื่อ 23 ก.พ. 2017
7
ภาพที่ 6 Al-Farabi
ที่มาภาพ http://www.muslimheritage.com/uploads/Al-Farabi1.jpg
ภาพที่ 7 Ibn Sina (Avicenna)
ที่มาภาพ
http://static.wixstatic.com/media/98845c_cbb0bd8bd2224a92999391680788b014.jpg/v1/fill/w_619,h_839/9884
5c_cbb0bd8bd2224a92999391680788b014.jpg
8
ภาพที่ 8 Al-Biruni
ที่มาภาพ http://poygam.com/wp-content/uploads/2017/05/d1bab6a72db08a0825ded35f945c7f2a.jpg
ศาสตราจารย์ หวัง กางอู่ นักประวัติศาสตร์ชาวออสเตรเลียเชื้อสายจีน แห่งมหาวิทยาลัย
แห่งชาติสิงคโปร์ ได้สร้างทฤษฎีในการอธิบายประวัติศาสตร์โลกว่า ก่อนยุคที่มหาอานาจทางทะเลจะ
ขึ้นมาเป็นใหญ่นับจากยุคอาณานิคมเป็นต้นมา เอเชียกลางคือ “แกน” ของประวัติศาสตร์โลกเสมอมา7
เนื่องจากทาเลที่ตั้งที่คั่นอยู่ตรงกลางระหว่างอารยธรรมสาคัญบนพื้นทวีปของโลก ไม่ว่าอารยธรรมจีน
ทางตะวันออก อารยธรรมเปอร์เซียและอิสลามทางใต้และตะวันตก อารยธรรมเติร์ก กรีกและยุโรป ทาง
ตะวันตก และ อารยธรรมสลาฟ (รัสเซีย) ทางเหนือ อารยธรรมต่างๆ ที่สูงส่งกว่าคนเร่ร่อนแห่งเอเชีย
กลางเหล่านี้ เมื่อจะติดต่อค้าขายกับอารยธรรมอีกฟากหนึ่งก็ต้องสร้างสันติกับชาวเผ่าเร่รอนแห่งเอเชีย
กลางก่อนจึงจะเดินทางผ่านไปได้ นอกจากนี้ ชาวเผ่าเร่ร่อนไม่ว่ามองโกล เติร์ก ฮัน แมนจู จากทุ่งหญ้า
แห่งเอเชียกลางก็มักจะบุกเข้าไปในอาณาจักรที่มีอารยธรรมสูงส่งกว่าตนที่อยู่รายรอบเป็นระยะ และ
มักจะชนะ ได้ปกครอง พร้อมกับรับเอาวัฒนธรรมที่เจริญกว่ามาใช้ด้วย
หลังเส้นทางสายไหมโบราณที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่สองร้อยปีก่อนคริสตกาลในสมัยราชวงศ์ฮั่น เสื่อม
โทรมลงไป เพราะการเดินทางค้าขายและคมนาคมขนส่งย้ายจากทางบกไปทางทะเล เอเชียกลางที่เป็น
ศูนย์กลาง ชุมทาง เศรษฐกิจ ความคิด ความรู้ ระดับโลก มีความเป็นดินแดนนานาชาติ ก็ค่อยๆ สูญ
7
Ooi Kee Beng. The Eurasian Core and its edges: Dialogues with Wang Gungwu on the History of the World.
Singapore: ISEAS publishing.2015.
9
หายไป โดยเฉพาะเมื่อตกอยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา อดีตดินแดน
cosmopolitan แห่งนี้ก็กลายเป็นเพียง “เขตอิทธิพล” “หลังบ้าน” ของโซเวียตรัสเซีย
เอเชียกลางเริ่มกลับมาสู่ความสนใจของโลกอีกครั้ง หลังโซเวียตล่มสลายเมื่อปี 1991 และเกิด
ประเทศเอกราชใหม่บนดินแดนเก่าแก่แห่งนี้ขึ้นมา 5 ประเทศ คือ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิ
สถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน เป็นการ “เปิด” ดินแดนแห่งนี้ออกสู่โลก อีกครั้ง เป็นโอกาสและ
ความท้าทายใหม่ของมหาอานาจอื่นๆ
สาหรับมหาอานาจอื่น เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย และ จีน การที่
เอเชียกลางหลุดออกมาจากรัสเซียก็เป็นโอกาสให้เข้าไปแสวงหาประโยชน์ในดินแดนนี้ได้มากขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานที่มีอุดมสมบูรณ์ในดินแดนแห่งทั้งน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม
สาหรับจีน ในช่วงต้นของการได้เอกราชของเอเชียกลาง ก็นามาซึ่งความประเด็นการจัดการปัญหาการ
ปักปันชายแดนใหม่ ซึ่งก็ใช้เวลาประมาณหนึ่งทศวรรษ ก็จัดการกันเสร็จเรียบร้อย จากนั้นมาก็เป็นเรื่อง
ของโอกาส
เอเชียกลางกลับคืนความสาคัญในระดับโลกอีกครั้ง ด้วยเหตุสาคัญสองประการคือ เหตุผลด้าน
ภูมิรัฐศาสตร์และการกลับคืนมาของเส้นทางสายไหม กับความอุดมสมบูรณ์ของพลังงานในภูมิภาค
การพูดถึงการฟื้นคืนของเส้นทางสายไหมเฟื่องฟูขึ้นในโลกตะวันตกและตะวันออกมาระยะหนึ่ง
แล้ว สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปพูดถึงมันในฐานะที่เป็นเครื่องมือที่จะดึงให้เอเชียกลางพ้นจากการ
ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลรัสเซียในมุมมองของพวกเขา ขณะที่จีน ตุรกี อิหร่าน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย และ
ปากีสถาน ต่างอ้างถึงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับดินแดนแห่งนี้ แน่นอนว่า ย้อนกลับไปไกล
ก่อนที่ “ม่านเหล็ก” แห่งสหภาพโซเวียตจะปกคลุมลงมาที่ดินแดนแห่งนี้8
อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการพูดถึงการกลับมาของเส้นทางสายไหม แม้แต่วาทกรรมว่าด้วยการ
สร้างเส้นทางสายไหมใหม่ (New Silk Road) ขึ้นจากหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาเองก็ตาม แต่
ประเทศที่ในปัจจุบันเห็นชัดแล้วว่าฟื้นเส้นทางสายไหมใหม่กลับขึ้นมาจริงๆ ก็คือ ประเทศจีน ด้วยมหา
ยุทธศาสตร์ One Belt One Road และนั่นก็ทาให้เอเชียกลางกลับมามีความสาคัญทางภูมิรัฐศาสตร์
อย่างยิ่งยวด เพราะในภาพรวม เส้นทาง OBOR คือ เส้นทางคมนาคมขนส่งที่เชื่อมจีน เข้ากับยุโรป ผ่าน
ยูเรเซีย หรือ เอเชียกลาง เป็นสาคัญนั่นเอง เอเชียกลางจึงเป็นตัวต่อสาคัญที่ขาดเสียมิได้ในแผนการ
OBOR ของจีน ในวาระหนึ่ง จีนได้เคยกล่าวว่า “เป้าหมายสูงสุดของความริเริ่ม One Belt One Road
คือการฟื้นความรุ่งโรจน์ในอดีตของภูมิภาคยูเรเซีย”9
8
Marlene Laruelle, Jean-Francois Huchet, Sebastien Peyrouse and Bayram Balci eds. China and India in
Central Asia: A New Great Game? New York: Palgrave Macmillan. 2010
9
เพิ่งอ้าง
10
ควบคู่ไปกับความสาคัญด้านทาเลที่ตั้ง เอเชียกลางกลับมาสู่ความสาคัญระดับโลกในปัจจุบันใน
ฐานะดินแดนที่ร่ารวยพลังงาน ไม่ว่าน้ามันดิบหรือก๊าซธรรมชาติ ในยุคที่ประเทศต่างๆ ล้วนพยายาม
กระจายความเสี่ยงด้วยการลดการพึ่งพาการนาเข้าพลังงานจากตะวันออกกลางเป็นหลัก จากความ
ปั่นปวนในภูมิภาคนั้นซึ่งน่าจะทอดยาวไปอีกนาน เอเชียกลางจึงเป็นอีกแหล่งพลังงานทางเลือกของ
ประเทศต่างๆ ในโลก ท่อส่งน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติจากแหล่งในเอเชียกลาง และบริเวณใกล้เคียง (ที่
สาคัญคือบริเวณทะเลสาบแคสเปียน) เช่น เขตคอเคซัส และอิหร่าน นั้นโยงใยไปทั่วทุกทิศ ไม่ว่าเหนือ
ใต้ ออก ตก ไม่ว่าไปสู่รัสเซีย จีน สู่ตะวันออกกลาง สู่คอเคซัส และตุรกี ต่อไปยังยุโรป ดังนั้น
มหาอานาจทั้งหน้าเก่า เช่น รัสเซีย และหน้าใหม่ อย่างจีน สหรัฐ สหภาพยุโรป รวมไปถึง ญี่ปุ่น อินเดีย
เกาหลีใต้ ฯลฯ จึงต่างเข้ามาหาโอกาสในภูมิภาคนี้ ในโลกวันนี้ เอเชียกลางจึงเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่ “เนื้อ
หอม” ด้วยทาเลที่ตั้งและด้วยแหล่งพลังงานที่สะสมเอาไว้ใต้ผืนดิน
ภาพที่ 9 โครงข่ายท่อส่งก๊าซธรรมชาติบริเวณ “ยูเรเซีย” ไปยังดินแดนรอบข้าง (เส้นสีแดงคือท่อที่มีอยู่แล้ว สีเขียวคือ
โครงการที่กาลังอยู่ระหว่างดาเนินการ)
ที่มาภาพ http://www.marcon.com/library/country_briefs/uzbekistan/7.gif
11
ความสาคัญของเอเชียกลางต่อจีน
ดินแดนที่เป็นเอเชียกลางในปัจจุบันไม่เป็นที่รู้จักของจีนอย่างเป็นทางการก่อนการเดินทางไป
สารวจดินแดนตะวันตกของ Zhang Qian ตัวแทนของจักรพรรดิหวูแห่งราชวงศ์ฮั่น (Hun Wudi) เมื่อราว
200 ปีก่อนคริสตกาล Zhang Qian ออกเดินทางจากนครฉางอาน (Chang’an) เมืองหลวงของราชวงศ์
ฮั่น (บริเวณเมืองซีอาน) ในปัจจุบัน ไปทางตะวันตก เขาใช้เวลาเดินทางกว่า 10 ปี และกลับมารายงาน
จักรพรรดิแห่งต้าฮั่น ทุกวันนี้จีนถือว่า Zhang Qian เป็นผู้บุกเบิกตะวันตกของจีน รวมทั้งเส้นทางสาย
ไหมด้วย
ความสาคัญของเอเชียกลางในอดีตสาหรับจีนตั้งแต่ยุคราชวงศ์ฮั่น ถัง ซ่ง ลงมาถึงหยวน ซึ่ง
เป็นยุคที่เส้นทางสายไหมทางบกเฟื่องฟู จีนเข้าไปในเอเชียกลางด้วยเหตุผลหลักคือเพื่อค้าขาย
แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ความรู้ บนเส้นทางสายไหม และเพื่อเดินทางเชื่อมต่อไปยังเอเชียใต้
ตะวันออกกลาง และยุโรป นาเอาสินค้าจากจีน ที่สาคัญคือ ผ้าไหม ซึ่งตะวันตกไม่สามารถผลิตได้และ
เป็นที่นิยมมีราคาดั่งทอง รวมทั้งสินค้าอื่น เช่น เครื่องกระเบื้อง และวิทยาการเทคโนโลยี เช่น การทาดิน
ปืน กระดาษ และเข็มทิศ ออกไปเผยแพร่ และนาสินค้าจากยุโรปกลับมา
ในปัจจุบัน นอกจากเอเชียกลางจะเป็นทางผ่านสาคัญของจีนออกไปทางตะวันตกในมหา
ยุทธศาสตร์ One Belt One Road ซึ่งถือเป็นความสาคัญทางเศรษฐกิจการค้าเป็นสาคัญแล้ว เอเชีย
กลางยังสาคัญต่อจีนทางด้านความมั่นคงและเสถียรภาพในประเทศจีนอีกด้วย เพราะเสถียรภาพใน
เอเชียกลางมีผลอย่างมากต่อสถานการณ์ความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยในมณฑลซินเจียงของจีนที่
อยู่ติดกัน นอกจากนั้น เอเชียกลางยังมีความสาคัญในฐานะแหล่งพลังงานทางเลือกของจีน เพื่อเสริม
ความมั่นคงทางพลังงานให้กับจีน เป็นตัวเลือกนอกจากการนาเข้าน้ามันและก๊าซธรรมชาติผ่านการ
ขนส่งทางทะเล ซึ่งต้องผ่านน่านน้าซึ่งสหรัฐมีอิทธิพลเหนืออยู่ตลอดเส้นทาง โดยเฉพาะที่จุดเสี่ยงบริเวณ
ช่องแคบมะละกา10
10
ชวลิตา อุ๋ยจ๋าย. บทคัดย่อ ใน ภาคนิพนธ์ เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าไปมีบทบาทของสหรัฐอเมริกา รัสเซีย
และจีน ในภูมิภาคเอเชียกลาง ค.ศ. 2000-2010. แผนกวิชารัสเซียศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2554. ออนไลน์ http://www.russianstudies-tu.com/library/research2554-1/research2554_057.pdf.
12
บทที่ 3
บทบาทจีนในเอเชียกลาง
จีนกับเอเชียกลางเป็นเพื่อนบ้านที่มีความสัมพันธ์ติดต่อกันมาช้านาน โดยเฉพาะในช่วงที่
เส้นทางสายไหมโบราณยังรุ่งเรือง เมื่อเส้นทางดังกล่าวซบเซาลงไป ความสัมพันธ์ของจีนกับเอเชียกลาง
ก็ลดน้อยลงตามไปด้วย ในช่วงต่อจากนั้น เอเชียกลางก็ได้ตกไปอยู่ใต้อิทธิพลของอานาจอื่น โดยเฉพาะ
จักรวรรดิรัสเซีย และสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา จนพึ่งพิงใกล้ชิดกับโซเวียตรัสเซียเป็นหลัก มากกว่า
จีน เอเชียกลางกลับมามีความสัมพันธ์กับจีนอย่างสาคัญอีกครั้งก็ภายหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลาย
ในปี 1991 และประเทศสถานทั้ง 5 ที่ได้รับเอกราชใหม่เริ่มสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็น
ทางการกับประเทศต่างๆ รวมทั้งกับประเทศจีน นับจนถึงปี 2017 นี้ก็ได้ 25 ปี ความสัมพันธ์ระหว่างจีน
และเอเชียกลางเติบโตขยายตัวอย่างก้าวกระโดด ก็ด้วยบทบาทของจีนที่เพิ่มมากขึ้นในภูมิภาคนั้น
ในช่วงราว 20 ปีมานี้
ประเทศทั้งห้าในเอเชียกลางเป็นประเทศร่ารวยได้ปานกลางและยากจน มีขนาดเศรษฐกิจ
พิจารณาจาก GDP ที่เป็นกาลังซื้อจริงตาม ตารางที่ 1
ลาดับของโลก ประเทศ ล้านดอลลาร์สหรัฐ
1 จีน 21,417,150
2 สหรัฐอเมริกา 18,569,100
19 ไทย 1,164,928
41 คาซัคสถาน 449,621
61 อุซเบกิสถาน 207,470
80 เติร์กเมนิสถาน 95,586
129 ทาจิกิสถาน 26,031
135 เคอร์กีซสถาน 21,601
ตารางที่ 1 GDP (กาลังซื้อจริง : PPP) ของประเทศเอเชียกลางเทียบกับประเทศอื่น ในปี 2016
ที่มา http://databank.worldbank.org/data/download/GDP_PPP.pdf
บทบาทของจีนในเอเชียกลางในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 3 ด้านหลัก ซึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ได้แก่ ด้านพลังงาน ด้านโครงข่ายคมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน (ซึ่งเป็นบทบาทที่หนักมาในทาง
เศรษฐกิจ) และด้านความมั่นคง ซึ่งจะได้กล่าวไล่ไปในแต่ละด้าน
13
หากมองในทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันกล่าวได้ว่าจีนมีน้าหนักทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 1 แล้วใน
ภูมิภาคเอเชียกลาง เหนือกว่ารัสเซียและประเทศในสหภาพยุโรป ซึ่งมีน้าหนักทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้
รองลงมา
จากข้อมูลปี 2015 ในทางการค้า จีนเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของเอเชียกลาง ทั้งนาเข้าและส่งออก
โดยจีนเป็นผู้นาเข้าและส่งออกสินค้าอันดับ 1 หรือ 2 ของเกือบทุกประเทศในเอเชียกลาง เริ่มจาก
คาซัคสถาน ส่งออกไปยัง จีน 15.1% รัสเซีย 12.3% ฝรั่งเศส 9.3% เยอรมัน 7.9% อิตาลี 6.7% และ
กรีซ 4.1% ขณะที่นาเข้าจากรัสเซียเป็นอันดับหนึ่งที่ 32.9% ตามมาด้วย จีน 25.9% และเยอรมัน
4.2%11
อุซเบกิสถาน ส่งออกไปยังสวิตเซอร์แลนด์ 25.9% จีน 17.6% คาซัคสถาน 14.2% ตุรกี
9.9% รัสเซีย 8.4% บังกลาเทศ 6.9% และนาเข้าจากจีน 20.8% รัสเซีย 20.8% เกาหลีใต้ 11.9%
คาซัคสถาน 10.8% ตุรกี 4.6% และเยอรมัน 4.4%12
ส่วนเติร์กเมนิสถานส่งออกไปยัง จีนมากถึง 68.7% ตุรกี 4.9% และนาเข้าจากตุรกี 25.1%
รัสเซีย12.3% จีน 11% สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 9.1% คาซัคสถาน 5.2% เยอรมัน 4.6% และอิหร่าน
4.5%13
เคอร์กีซสถาน ส่งออกไปยังสวิตเซอร์แลนด์ 26.1% อุซเบกิสถาน 22.6% คาซัคสถาน
20.8% สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4.9% ตุรกี 4.5% อัฟกานิสถาน 4.5% รัสเซีย 4.2% และนาเข้าจากจีน
56.6% รัสเซีย 17.2% และคาซัคสถาน 10%14
ส่วนทาจิกิสถานส่งออกไปยังตุรกี 19.8% คาซัคสถาน 17.6% สวิตเซอร์แลนด์ 13.7%
อิหร่าน 8.7% อัฟกานิสถาน 7.5% รัสเซีย 5.1% จีน 4.9% อิตาลี 4.8% และนาเข้าจากจีน 42.3%
รัสเซีย 18% คาซัคสถาน 13.1% และอิหร่าน 4.7%15
สาหรับสินค้าหลักที่เอเชียกลางส่งออกไปขายจีนได้แก่พลังงาน โดยเฉพาะน้ามัน ในกรณี
ของคาซัคสถาน และก๊าซธรรมชาติในกรณีเติร์กเมนิสถาน รวมทั้งอุซเบกิสถาน ส่วนในกรณีของเคอร์กีซ
11
CIA. The World Factbook. Kazakhstan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world-
factbook/fields/2050.html#kz.
12
CIA. The World Factbook. Uzbekistan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world-
factbook/geos/uz.html
13
CIA. The World Factbook. Turkmenistan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world-
factbook/geos/tx.html
14
CIA. The World Factbook. Kygyzstan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world-
factbook/geos/kg.html.
15
The World Factbook. CIA. Tajikistan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world-
factbook/geos/ti.html.
14
สถานและทาจิกิสถานสองประเทศซึ่งไม่มีทรัพยากรพลังงานมากนัก จึงส่งออกไปยังจีนไม่มากนัก ส่วน
ใหญ่ได้แก่พวกสินค้าเกษตร เป็นหลัก
ด้านการลงทุน
ภาพรวมของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ในเอเชีย
กลางนั้น มีสองส่วนหลัก ส่วนแรกคือการลงทุนในการนาทรัพยากรธรรมชาติจากภูมิภาคดังกล่าว
มาใช้ ที่สาคัญคือ น้ามันและก๊าซธรรมชาติ แร่ที่เป็นโลหะและไม่ใช่โลหะ การสารวจหาแหล่งทรัพยากร
เหล่านี้ และธุรกิจที่ต่อเนื่องได้แก่การแปรรูป/ขนถ่ายทรัพยากรเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ เช่น การทาเหมือง
การถลุงแร่ การแปรรูปน้ามันและก๊าซธรรมชาติ (อุตสาหกรรมเคมี) และการลงทุนสร้างโครงสร้างในการ
ขนถ่ายพลังงานเหล่านี้สู่ประเทศผู้ใช้ (การสร้างท่อส่งน้ามันและก๊าซ) การลงทุนในกิจการเหล่านี้คิดเป็น
ราวครึ่งหนึ่ง (50%) ของ FDI ในทุกประเทศเอเชียกลาง (ยกเว้นทาจิกิสถาน) ผลผลิตจากกิจการที่
เงินทุนเหล่านี้ไปลงส่วนใหญ่มักส่งออกไปยังประเทศภายนอก
อีกส่วนสาคัญของการลงทุน FDI จากต่างประเทศในเอเชียกลางเข้าไปยังภาคส่วนที่รองรับ
ตลาดภายในภูมิภาค เช่น การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ การค้า การเงิน การก่อสร้าง และการสื่อสาร
การลงทุนในส่วนนี้สูงเป็นพิเศษในประเทศเคอร์กีซสถานและทาจิกิสถาน ซึ่งไม่มีแหล่งน้ามันหรือก๊าซ
ธรรมชาติมากนัก การลงทุน FDI ในภาคเกษตรในเอเชียกลางนั้นแทบไม่ปรากฏ
จีนเป็นผู้ลงทุน FDI อันดับ 1 ใน 3 ประเทศของเอเชียกลาง คือ เคอร์กีซสถาน (24 เปอร์เซ็นต์)
เติร์กเมนิสถาน (39 เปอร์เซ็นต์) และทาจิกิสถาน (21 เปอร์เซ็นต์) และเป็นผู้ลงทุนอันดับ 5 ใน
คาซัคสถาน (4.6 เปอร์เซ็นต์) และอันดับ 6 ในอุซเบกิสถาน (4 เปอร์เซ็นต์) ตามตารางที่ 2-6
ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์ ล้านดอลลาร์สหรัฐ
1 เนเธอร์แลนด์ 37 7,655
2 สหรัฐอเมริกา 16 3,423
3 สวิตเซอร์แลนด์ 12 2,589
4 ฝรั่งเศส 5 1,137
5 จีน 4.6 960
6 รัสเซีย 4.2 867
7 เบลเยียม 3.4 710
8 สหราชอาณาจักร 3.3 684
9 ญี่ปุ่น 2.2 470
10 เกาหลีใต้ 1.7 358
15
ตารางที่ 2 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในคาซัคสถาน เมื่อปี 2016
ที่มา : National Bank of Kazakhstan. Gross inflow of direct investment in Kazakhstan from foreign direct
investors: breakdown by countries. ออนไลน์ http://www.nationalbank.kz/?docid=469&switch=english
ในจานวนเงิน FDI รวม 20,637 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2016 ที่ผ่านมานี้ 34 เปอร์เซ็นต์ เป็นการ
ลงทุนในด้านการทาเหมืองพลังงานและแร่ธาตุอื่นๆ โดยเป็นการลงทุนในการขุดเจาะและนาน้ามันและ
ก๊าซธรรมชาติมาใช้ 27 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ก็เป็นการลงทุนในการผลิตสินค้าประเภทต่างๆ อีก 18
เปอร์เซ็นต์16
ตารางที่ 3 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในเคอร์กีซสถาน เมื่อปี 2012
ที่มา National Statistical Committee of the Kyrgyz Republic. Structure of Foreign Direct Investment Inflows to
the Kyrgyz Republic, 2012 https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting-central-
asia-economic-centers-final-report.pdf
37 เปอร์เซ็นต์ของ FDI ในประเทศเคอร์กีซสถาน คือ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และการผลิต
สินค้าอุปโภคบริโภค 21 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในอุตสาหกรรมถลุงแร่โลหะต่างๆ และ 12 เปอร์เซ็นต์
คือ การลงทุนในกิจการด้านน้ามันและก๊าซธรรมชาติ
16
National Bank of Kazakhstan. Gross inflow of direct investment in Kazakhstan from foreign direct
investors: breakdown by residents' types of economic activities. ออนไลน์
http://www.nationalbank.kz/?docid=469&switch=english
ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์
1 จีน 24
2 แคนาดา 22
3 สหราชอาณาจักร 12
4 คาซัคสถาน 6
5 เยอรมัน 6
6 เกาหลีใต้ 5
7 รัสเซีย 4
16
ตารางที่ 4 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในทาจิกิสถาน เมื่อปี 2012
ที่มา Statistical Agency of the Republic of Tajikistan. Structure of Foreign Direct Investment Inflows to
Tajikistan, 2012. ออนไลน์ https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting-central-
asia-economic-centers-final-report.pdf
19 เปอร์เซ็นต์ของ FDI ในทาจิกิสถาน คือการลงทุนในกิจการเหมืองแร่ 18 เปอร์เซ็นต์คือ
การลงทุนในด้านการสื่อสาร 14 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนด้านการเงิน การลงทุนด้านการเจาะ
สารวจแหล่งพลังงานและแร่ธาตุ คิดเป็น 7 เปอร์เซ็นต์ การลงทุนในการก่อสร้าง คิดเป็น 7
เปอร์เซ็นต์เช่นกัน และอีก 6 เปอร์เซ็นต์เป็นการลงทุนด้านการผลิตและส่งกระแสไฟฟ้า
ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์
1 จีน 21
2 รัสเซีย 18
3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 17
4 สหราชอาณาจักร 16
5 อิหร่าน 7
6 ตุรกี 5
17
ตารางที่ 5 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในเติร์กเมนิสถาน เมื่อปี 2012
ที่มา Financial Times fDi Intelligence (2013) Structure of Foreign Direct Investment Inflows to
Turkmenistan, 2012. ออนไลน์ https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting-
central-asia-economic-centers-final-report.pdf
26 เปอร์เซ็นต์ ของ FDI ในปี 2012 อยู่ที่การลงทุนในกิจการด้านการขุดเจาะพลังงานน้ามันและ
ก๊าซธรรมชาติ 27 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในการขนส่งพลังงาน 25 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนใน
อุตสาหกรรมเคมี 24 เปอร์เซ็นต์คือ การลงทุนในด้านการแปรรูป (processing) พลังงาน
ตารางที่ 6 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในอุซเบกิสถาน เมื่อปี 2012
ที่มา Financial Times fDi Intelligence (2013) Structure of Foreign Direct Investment Inflows to
Uzbekistan, 2012. ออนไลน์ https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting-central-
asia-economic-centers-final-report.pdf
30 เปอร์เซ็นต์ของการลงทุน FDI ในประเทศอุซเบกิสถานเมื่อปี 2012 คือ การแปรรูปพลังงาน
น้ามันและก๊าซธรรมชาติ 28 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในอุตสาหกรรมเคมี 15 เปอร์เซ็นต์คือ การลงทุนใน
การขุดเจาะพลังงานน้ามันและก๊าซธรรมชาติ 11 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิตสินค้า
อื่นๆ
ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์
1 จีน 39
2 รัสเซีย 16
3 กลุ่มประเทศอ่าว
เปอร์เซีย
12
4 ตุรกี 9
5 แคนาดา 8
ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์
1 รัสเซีย 37
2 เกาหลีใต้ 21
3 สหรัฐอเมริกา 9
4 อาเซียน 7
5 กลุ่มประเทศอ่าว
เปอร์เซีย
5
6 จีน 4
18
บทบาทด้านพลังงาน
ภาพที่ 10 ท่อส่งน้ามันและก๊าซธรรมชาติจากเอเชียกลางสู่จีน
ที่มาภาพ https://www.stratfor.com/image/map-central-asia-china-energy-infrastructure
บทบาทด้านพลังงานน้ามัน
จากข้อมูลของ US. Energy Information Administration (EIA) ในปี 2015 จีนเป็นประเทศที่
บริโภคน้ามันประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ของการบริโภคน้ามันในโลก สูงเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก
สหรัฐอเมริกา (ซึ่งบริโภคน้ามันอยู่ที่ 20 เปอร์เซ็นต์ของโลก)17
และเป็นประเทศผู้นาเข้าน้ามันดิบมาก
ที่สุดของโลก แซงหน้าสหรัฐอเมริกาอย่างช้าตั้งแต่ปี 201618
เดิมนั้นจีนก็เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ใน
โลก ที่นาเข้าพลังงานจากตะวันออกกลางเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ความไร้เสถียรภาพในภูมิภาคนั้น
ประกอบกับการต้องพึ่งพาการขนส่งพลังงานดังกล่าวทางเรือผ่านน่านน้าที่สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ควบคุม
17
US. Energy Information Administration. What countries are the top producers and consumers of oil?.
ออนไลน์ https://www.eia.gov/tools/faqs/faq.php?id=709&t=6.
18
Daniel Workman. Crude Oil Imports by Country. World’s Top Exports. ออนไลน์
http://www.worldstopexports.com/crude-oil-imports-by-country/
19
ทาให้จีนรู้สึกถึงความไม่มั่นคงทางพลังงาน และพยายามกระจายแหล่งนาเข้าพลังงานของตนไปยังที่
อื่นๆ ซึ่งแน่นอนว่าภูมิภาคเอเชียกลาง ในฐานะที่อุดมด้วยพลังงานทั้งน้ามันและก๊าซธรรมชาติ รวมทั้ง
แร่ธาตุอื่นๆ และยังเป็นเพื่อนบ้านของจีน ก็เป็นหนึ่งในแหล่งพลังงานทางเลือกนั้น
สาหรับบทบาทหลักด้านน้ามันของจีนในเอเชียกลางนั้น อยู่ในคาซัคสถานเป็นหลัก คาซัคสถาน
มีปริมาณน้ามันสารองเป็นอันดับที่ 11 ของโลก และในปี 2016 ส่งออกน้ามันดิบเป็นอันดับที่ 12 ของ
โลก19
(แต่มิได้เป็นสมาชิก OPEC)20
และเป็นประเทศที่ส่งออกน้ามันกินมูลค่าถึง 48 เปอร์เซ็นต์ของการ
ส่งออกของประเทศในปี 201521
โดยจีนเข้าไปประมูลสัมปทานสารวจและขุดเจาะน้ามันในแหล่งน้ามัน
แห่งต่างๆ ของคาซัคสถาน เช่น ในปี 2005 บรรษัทน้ามันแห่งชาติของจีน (China National Petroleum
Corporation: CNPC) ชนะการประมูลเข้าซื้อกิจการของบริษัท PetroKazakhstan บริษัทน้ามันสัญชาติ
แคนาดาที่ผลิตน้ามันในคาซัคสถาน ด้วยจานวนเงินกว่า 4.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ และเมื่อถึงปี 2008
จีนก็เข้าไปดาเนินการผลิตน้ามันกว่า 1 ใน 3 ของคาซัคสถานแล้ว
แกนหลักของการเข้าไปเอาน้ามันจากคาซัคสถานของจีนอยู่ที่ “ท่อส่งน้ามันคาซัคสถาน-จีน”
(ดูภาพที่ ) ซึ่งถือเป็นท่อส่งน้ามันตรงท่อแรกและท่อที่สาคัญที่สุดจากเอเชียกลางสู่จีน มีความยาวราว
3,000 กม. นาน้ามันดิบจากแหล่งผลิตในทะเลแคสเปียนบริเวณเมือง Atyrau ฝั่งตะวันตกสุดของ
คาซัคสถาน ข้ามมาเข้าสู่จีนทางตะวันตก ไปสู่โรงกลั่นที่มณฑลซินเจียง โดย CNPC เข้าไปลงนามใน
สัญญาสร้างท่อส่งน้ามันดังกล่าวกับคาซัคสถาน ตั้งแต่ปี 1999 ปัจจุบัน ท่อส่งน้ามันสาย Atyrau-
Alashankou อยู่ในความดูแลร่วมกันของ CNPC กับ KazMunaiGaz รัฐวิสาหกิจน้ามันของคาซัคสถาน
19
Daniel Workman. Crude Oil Exports by Country. World’s Top Exports. ออนไลน์
http://www.worldstopexports.com/worlds-top-oil-exports-country/.
20
OPEC. Annual Statistical Bulletin 2016 .ออนไลน์ http://www.opec.org/opec_web/en/publications/202.htm.
21
The Observatory of Economic Complexity. Kazakhstan. ออนไลน์
http://atlas.media.mit.edu/en/profile/country/kaz/
20
ภาพที่ 11 แหล่งนาเข้าน้ามันดิบของจีนในปี 2014
ที่มาภาพ https://www.eia.gov/beta/international/analysis.cfm?iso=CHN
ในปี 2014 ในจานวนน้ามันดิบที่จีนนาเข้าทั้งหมด มาจากคาซัคสถานประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ ซึ่ง
แม้จะยังน้อยอยู่เมื่อเทียบกับการนาเข้าจากแหล่งอื่นๆ แต่มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้น ในเดือนกันยายน 2013
เมื่อสีจิ้นผิงเยือนคาซัคสถานและประกาศแผนการ OBOR ทางบกครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยนาซาร์บาเยฟ
นั้น จีนกับคาซัคสถานก็ได้ลงนามในสัญญาหลายฉบับเกี่ยวกับข้อตกลงด้านน้ามันและก๊าซ ซึ่งมีมูลค่า
รวมกว่า 3 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ22
ดังนั้น สัดส่วนการนาเข้าน้ามันและพลังงานอื่นๆ จากคาซัคสถาน
เข้าสู่จีนจึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อโครงการสร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายพลังงานระหว่างจีนกับเอเชียกลาง
พัฒนาไปมากขึ้นภายใต้ความก้าวหน้าของ OBOR
22
Bernado Mariani. China’s Role and Interests in Central Asia. Saferworld. ออนไลน์
file:///C:/Users/DELL/Downloads/chinas-role-and-interests-in-central-asia.pdf.
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง
บทบาทของจีนในเอเชียกลาง

More Related Content

What's hot

รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
Manoonpong Srivirat
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
iceskywalker
 
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนจุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
Cheeses 'Zee
 
TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014
Zabitan
 

What's hot (15)

ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีนระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
ระบอบประชาธิปไตยแบบจีน
 
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
รายงานการประชุมเวทียุทธศาสตร์ครั้งที่ 7 เรื่อง อนาคตเศรษฐกิจไทย : พึ่งพิงเศรษ...
 
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทยสถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
สถานการณ์และแนวโน้มใหม่ของโลกกับการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของไทย
 
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
ผู้นำจีนคณะใหม่หลังการประชุมสมัชชาใหญ่พรรคคอมมิวนิสต์จีน ครั้งที่ 19 : บทเรีย...
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1)
 
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
ภาพรวมความคิดและยุทธศาสตร์ของจีนในปัจจุบัน ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างปร...
 
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
World Think Tank Monitors l มิถุนายน 2559
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียนโครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
โครงงานสถานที่ท่องเที่ยวในอาเซียน
 
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียนจุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
จุดเด่น 10 ประเทศในอาเซียน
 
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกรเส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
เส้นทางการค้าและโลจิสติกส์สู่แดนมังกร
 
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
ยุทธศาสตร์จีนและสหรัฐอเมริกาในทศวรรษ 2020
 
TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014TAT Tourism Journal 1/2014
TAT Tourism Journal 1/2014
 
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
World thank think monitor ครั้งที่ 4 เดือนกันยายน 2558
 

Similar to บทบาทของจีนในเอเชียกลาง

จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
Klangpanya
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
Jar 'zzJuratip
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศโลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
Klangpanya
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
Klangpanya
 

Similar to บทบาทของจีนในเอเชียกลาง (20)

World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
World Think Tank Monitor มีนาคม 2561
 
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
World Think Thank Monitors กรกฎาคม พ.ศ.2558
 
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
World Think Tank Monitor พฤศจิกายน 2560
 
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยจีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
จีน : อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
 
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
World Think Tank Monitor ธันวาคม 2559
 
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
ปักกิ่ง "นครแห่งอนาคต"
 
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
World Think Tank Monitor ฉบับที่ 25 ประจำเดือนกันยายน 2560
 
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาวบทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
บทบาทของจีนในอาเซียน กรณีศึกษามาเลเซีย พม่า กัมพูชา และลาว
 
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีนความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
ความสำเร็จทางยุทธศาสตร์ของเศรษฐกิจจีน
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียนโครงงานหนูชื่ออาเซียน
โครงงานหนูชื่ออาเซียน
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศโลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
โลกหลังโควิด-19: บริบทใหม่ในมุมมองไทยและต่างประเทศ
 
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลกปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
ปากีสถาน : ความสำคัญทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์โลก
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ... ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ที่สุดที่จีนได้รับจากการปฏิรูป (ด้านเศรษฐกิจและการบริหารภ...
 
World Think Tank Monitor มกราคม 2561
World Think Tank Monitor มกราคม 2561World Think Tank Monitor มกราคม 2561
World Think Tank Monitor มกราคม 2561
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทยประชาคมอาเซียนกับคนไทย
ประชาคมอาเซียนกับคนไทย
 

บทบาทของจีนในเอเชียกลาง

  • 2. บทบาทของจีนในเอเชียกลาง สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต รายละเอียดเพิ่มเติมที่ www.rsu-brain.com ผู้เขียน : ปาณัท ทองพ่วง ภาพปก : https://cdn5.img.sputniknews.com/images/105446/96/1054469691.jpg เผยแพร่ : สิงหาคม 2560 ที่อยู่ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-938-8826 โทรสาร 02-938-8864
  • 3. บทสรุปผู้บริหาร ในปี 2017 นี้เป็นวาระครบรอบ 25 ปีความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับประเทศสถานทั้ง 5 แห่งเอเชีย กลาง อันได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน โดยในช่วง 20 ปีนับตั้งแต่ปี 1992-2012 การค้าระหว่างจีนกับภูมิภาคนี้เพิ่มขึ้นถึง 100 เท่า ความสัมพันธ์ที่กลับมา ใกล้ชิด “อีกครั้ง” ระหว่างจีนกับเอเชียกลางนั้นยิ่งเพิ่มมากขึ้นภายหลังจากจีนทามหายุทธศาสตร์สาย ไหมใหม่ OBOR ช่วงราวสิบปีมานี้ ความคืบหน้าหรือล่าช้าของโครงการก่อสร้างเส้นทางคมนาคม ท่อส่ง น้ามันและก๊าซ ถนน ทางรถไฟ ฯลฯ และการเดินทางเยือนของผู้นาจีนกับเอเชียกลางซึ่งเกิดขึ้นบ่อยครั้ง มาก ตกเป็นหัวข้อข่าวและหัวข้องานวิชาการในโลกตะวันตกอยู่เสมอ นี่จึงทาให้เกิดความสนใจที่จะ ศึกษาภาพรวมของบทบาทของจีนในเอเชียกลางในปัจจุบันนี้ นามาสู่รายงานวิจัยชิ้นนี้ เอเชียกลางเป็นภูมิภาคที่มีความสาคัญมากทางภูมิรัฐศาสตร์ของโลกมาช้านาน เพราะอยู่ ระหว่างเอเชียและยุโรปในแกนนอน และระหว่างรัสเซียกับตะวันออกกลางในแกนตั้ง ภูมิภาคจึงมีอีกชื่อ ว่า “ยูเรเซีย (Eurasia)” ที่มาจากคาว่ายุโรปบวกเอเชีย เอเชียกลางเป็นดินแดนที่ไม่มีทางออกทะเล (landlock) แต่มีสถานะเป็น “สะพานเชื่อม” ทางบกระหว่างอารยธรรม จักรวรรดิ และมหาอานาจสาคัญ ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน ประกอบด้วยประเทศ “สถาน” ทั้งห้า ดังกล่าวไป เอเชียกลางเป็นเพื่อน บ้านของจีนทางตะวันตก มีขนาดใหญ่ราวเกือบครึ่งหนึ่งของจีน (ประมาณ 8 เท่าของไทย) เป็นดินแดน กว้างใหญ่ แต่แห้งแล้ง และมีประชากรน้อยเพียง 68 ล้านคน จีนเคยมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดติดต่อกับเอเชียกลางในยุคที่เส้นทางสายไหมโบราณรุ่งเรืองเมื่อ 2,000 ปีมาแล้ว แต่ซบเซาลงไปพร้อมกับความเสื่อมของเส้นทางสายนั้น และฟื้นกลับมาคึกคักแน่น แฟ้นอีกครั้งนับแต่สถาปนาความสัมพันธ์ในทศวรรษ 1990 ในภาพรวม บทบาทของจีนในเอเชียกลางใน ยุคร่วมสมัยจาแนกได้เป็นเรื่องสาคัญ 3 เรื่องคือ ด้านภูมิรัฐศาสตร์ ด้านเศรษฐกิจและพลังงาน และด้าน ความมั่นคง บทบาททั้งสามเรื่องเชื่อมโยงและส่งเสริมกัน ในด้านภูมิรัฐศาสตร์ เอเชียกลางก็กลับมามีความสาคัญด้วยเหตุผลเดียวกับเมื่อในอดีต คือ เมื่อ จีนจะสร้างเส้นทางสายไหม (ใหม่) ไปทางตะวันตก เอเชียกลางเป็นหน้าด่านแรกที่สาคัญที่สุดที่จีนจะ เชื่อมต่อไปยังรัสเซีย ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และยุโรปได้ ในด้านเศรษฐกิจและพลังงาน ด้วย เศรษฐกิจจีนที่อิ่มตัว มีศักยภาพล้นเกิน และชะลอตัวลงทาให้จีนต้องแผ่ขยายเคลื่อนย้ายไปลงทุนค้าขาย ในเอเชียกลางที่อยู่ติดกันและยังมีช่องว่างในการเติบโตและพัฒนาอยู่มาก อีกทั้งเอเชียกลางยังอุดมไป ด้วยพลังงาน ทั้งน้ามันและก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งแร่ธาตุสาคัญ จีนในฐานะประเทศผู้บริโภคพลังงานมาก ที่สุดของโลก จึงต้องการดึงเอาพลังงานของเอเชียกลางมาขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศของตน การใช้
  • 4. พลังงานจากเอเชียกลางยังมีข้อดีตรงที่ช่วยลดการพึ่งพิงการขนส่งพลังงานทางทะเล ซึ่งเป็นจุดอ่อนที่จีน ตระหนักหากถูก “ปิดล้อม” จากตะวันตก และประการที่สาม เสถียรภาพทางการเมืองและความมั่นคงใน เอเชียกลาง ซึ่งมีความอ่อนไหวในประเด็นนี้ มีความสาคัญกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของจีนในเอเชีย กลาง เส้นทางสายไหมใหม่ และความมั่นคงของจีนเอง โดยเฉพาะในมณฑลซินเจียง ที่มีปัญหาความไม่ สงบจากขบวนการแบ่งแยกดินแดนมุสลิมอุยกูร์ ที่กระจายตัวในเอเชียกลางเช่นกัน ทั้งสามประเด็นหลักนี้ผลักดันให้จีนเข้าไปมีบทบาทอย่างมากทั้งทางการทูต ความมั่นคง และ โดยเฉพาะเศรษฐกิจ ในเอเชียกลาง เป็นที่มาของมูลค่าการค้า เครือข่ายโครงสร้างการคมนาคม ถนน ราง และเครือข่ายท่อส่งพลังงานเอเชียกลางสู่จีน อันโยงใยไปทั่วทั้งภูมิภาค กาลังก่อสร้างอยู่ และจะเพิ่ม มากขึ้นอีกในอนาคต จีนเข้าไปวางท่อส่งน้ามันและก๊าซธรรมชาติจากแหล่งสารองในคาซัคสถานและ เติร์กเมนิสถานตามลาดับ ผ่านทุกประเทศที่เหลือในเอเชียกลาง เข้าสู่จีนทางมณฑลซินเจียง จีนเข้าไป สร้างทางรถไฟสายจีน-เคอร์กีซสถาน-อุซเบกิสถาน และเข้าไปสร้างความร่วมมือต่อต้านการก่อการร้าย และร่วมซ้อมรบชายแดนกับอุซเบกิสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน สินค้าที่ผลิตจากจีนครองตลาด ในประเทศต่างๆ ของเอเชียกลาง จีนเป็นคู่ค้าสาคัญอันดับหนึ่งหรือสองของทุกประเทศในภูมิภาคนี้ไม่ ทางส่งออกก็นาเข้าหรือทั้งคู่ จีนเข้าไปลงทุนก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานในประเทศเหล่านี้ ให้ความ ช่วยเหลือทางการเงิน และเผยแพร่วัฒนธรรมจีน ซึ่งบทบาทในด้านต่างๆ ของจีนนี้แม้จะมีมาก่อน แต่ นอกเหนือจากความสัมพันธ์ทวิภาคีกับประเทศต่างๆ แล้ว ก็ครอบคลุมอยู่ภายใต้ร่มใหญ่ของมหา ยุทธศาสตร์ OBOR ซึ่งชูความร่วมมือทางเศรษฐกิจเป็นธงนา กับองค์การความร่วมมือเซี่ยงไฮ้ (Shanghai Cooperation Organization: SCO) ซึ่งชูธงความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคงเป็นธง นา ทั้งสองกรอบพหุภาคีนี้เป็นเครื่องมือหลักของจีนในการดาเนินความร่วมมือกับเอเชียกลาง บทบาทในด้านต่างๆ ที่เพิ่มขึ้นอย่างสูงของจีนในเอเชียกลางนั้น ใช่ว่าจะไม่เผชิญกับความ หวาดระแวงหรือความไม่พอใจจากประชาชนในภูมิภาคนี้ อย่างไรก็ดี ในภาพรวม กล่าวได้ว่ามีความ ต่อต้านน้อยและความร่วมมือแน่นแฟ้นมาก เพราะจีนใช้เศรษฐกิจเป็นธงนาหลัก ไม่ตั้งเงื่อนไขทาง การเมือง รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนระบอบการเมืองในประเทศเหล่านี้ การเข้ามาของจีนในภูมิภาคนี้จึง ถูกมองไปในทางที่เป็น “โอกาส” และเป็น “อนาคต” ในการพัฒนาประเทศที่สาคัญอย่างยิ่งยวดสาหรับทั้ง จีนและประเทศต่างๆ ในเอเชียกลาง
  • 5. สารบัญ หน้า บทนา บทที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น 1 บทที่ 2 ความสาคัญของเอเชียกลาง 6 ความสาคัญของเอเชียกลางต่อจีน 11 บทที่ 3 บทบาทจีนในเอเชียกลาง 12 บทบาทด้านพลังงาน 18 บทบาทด้านโครงข่ายคมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน 28 บทบาทด้านความมั่นคง 34 บทบาทด้าน Soft Power 35 บทที่ 4 บทสรุป 36 บรรณานุกรม 38
  • 6. บทนา จีนพัฒนาประเทศมาเป็นลาดับขั้น จากการตั้งประเทศในยุคเหมา มาสู่การปฏิรูปและเปิด ประเทศในยุคเติ้ง มาในวันนี้ ในยุคสีจิ้นผิง จีนกาลังก้าวออกสู่โลก การก้าวออกสู่โลกเป็นยุทธศาสตร์ ใหญ่ในระดับที่เป็นอีกขั้นหนึ่งของการพัฒนาประเทศจีน ในยุคนี้ จีนออกไปทุกภูมิภาคทั่วทั้งโลก มาก น้อยต่างกัน ภูมิภาคเอเชียกลางเป็นหนึ่งในนั้น ที่จีนให้ความสาคัญมากในฐานะเพื่อนบ้าน (ที่มีอาณา เขตติดกัน 3 จาก 5 ประเทศ คือ คาซัคสถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน) ในฐานะทาเลยุทธศาสตร์ ที่จะเชื่อมต่อไปยังภูมิภาคอื่น ตามยุทธศาสตร์ One Belt One Road และที่สาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ากันคือ เป็นแหล่งพลังงานทางเลือกที่สาคัญใกล้บ้านเพื่อป้อนเศรษฐกิจจีน ช่วงทศวรรษที่ผ่านมาโลกเห็นว่าบทบาทของจีนในภูมิภาคเอเชียกลางเพิ่มสูงขึ้นมากอย่างเห็น ได้ชัด ในทุกด้านไม่ว่าเศรษฐกิจ การเมือง ความมั่นคง การทูต โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจและพลังงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจีนประกาศมหายุทธศาสตร์ One Belt One Road ในปี 2013 (ซึ่งการประกาศ แผนเส้นทางสายไหมทางบกนั้นก็ทาที่คาซัคสถาน ประเทศใหญ่สุดในเอเชียกลางนี่เอง) ในช่วง 20 ปีนับ จากประเทศเอเชียกลางทั้ง 5 คือ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เคอร์กีซสถาน เติร์กเมนิสถาน และทาจิกิ สถานได้รับเอกราชและสถาปนาความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการกับจีนในปี 1992 จนถึงปี 2012 การค้า ระหว่างจีนกับภูมิภาคนี้เพิ่มขึ้นถึง 100 เท่า1 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ความคืบหน้าหรือชะงักงันของการ ก่อสร้างเส้นทางรถไฟ ท่อส่งน้ามันและก๊าซ ถนน อุโมงค์ ด่านทางบก ฯลฯ หรือการเยี่ยมเยือนที่เกิดขึ้น ถี่อย่างมากระหว่างผู้นาประเทศเอเชียกลางกับผู้นาจีน ถูกรายงานในข่าวและนามาวิเคราะห์เสมอในโลก วิชาการ แสดงให้เห็นว่าโลกจับจ้องความสัมพันธ์ที่สนิทแนบแน่นขึ้นในเวลาอันสั้นของจีนและเอเชีย กลางมากทีเดียว อย่างไรก็ดี การวิเคราะห์ของสื่อและวงวิชาการตะวันตกต่อบทบาทจีนในเอเชียกลางมักบิดเบี้ยว ด้วยอคติที่มีต่อจีนอยู่เสมอ ผู้ติดตามศึกษาเรื่องนี้จากงานตะวันตกจะพบเสมอว่างานส่วนใหญ่ถูกเสนอ ผ่านกรอบคิดที่ว่าจีนมีวาระซ่อนเร้นบางอย่างอยู่เสมอในการเข้าไปในเอเชียกลาง พวกเขามักเชื่อว่าจีน ใช้เรื่องเศรษฐกิจบังหน้า และ “เหตุผลหลัก” คือต้องการเพิ่มอิทธิพลด้านภูมิรัฐศาสตร์ การทหาร และ ความมั่นคงในภูมิภาคนี้มากกว่า จานวนมากมักชี้ต่อไปว่าที่จีนต้องการสร้างเสถียรภาพและสถาปนา 1 Bernado Mariani. China’s Role and Interests in Central Asia. Saferworld. ออนไลน์ file:///C:/Users/DELL/Downloads/chinas-role-and-interests-in-central-asia.pdf.
  • 7. อานาจของตนให้เข้มแข็งในภูมิภาคนี้ เพื่อกระชับอานาจของตนในซินเจียง เนื่องจากข้อเท็จจริงมีอยู่ว่ามี สายสัมพันธ์ใกล้ชิดทั้งทางเชื้อชาติ ศาสนา และความเคลื่อนไหวต่อต้านรัฐระหว่างชาวอุยกูร์ที่กระจาย ตัวอยู่ในเอเชียกลาง และที่อยู่ในฝั่งซินเจียง หลังจากทาการศึกษามาในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ข้าพเจ้าได้เขียนงานชิ้นนี้ขึ้นด้วยมุมมองที่ว่าใน ความเป็นจริง สาหรับจีนเองนั้นยากที่จะบอกว่าอะไรเป็นเหตุผลที่สาคัญกว่ากันระหว่างเศรษฐกิจ พลังงาน การเมือง หรือความมั่นคงในการที่จีนเข้าไปในเอเชียกลางในปัจจุบัน เพราะเหตุผลเหล่านี้ แท้จริงแล้วเกี่ยวเนื่องและส่งเสริมซึ่งกันและกันอยู่เสมอ และที่จริงจีนก็คงจะไม่ได้มีวาระซ่อนเร้นหรือ แผนการใหญ่แอบแฝงอะไรมากมายดังที่นักวิเคราะห์ตะวันตกมักตีความไปต่างๆ นานา ข้าพเจ้าเห็นว่า กรอบคิดที่ดีที่สุดที่จะช่วยให้เรามองบทบาทของจีนในเอเชียกลางได้อย่างตรงไปตรงมา ก็คือการยึดตาม หลักเหตุผลพื้นฐานและความเป็นจริง หากให้กล่าวว่าอะไรคือเหตุผลที่จีนเข้าไปในเอเชียกลางมากมายขนาดนี้ ข้าพเจ้าจะตอบในที่นี้ ว่าเหตุผลหลักๆ ที่มักถูกพูดถึงกันประมาณสามเรื่อง คือ หนึ่ง เพื่อเข้าไปหาตลาด หาพลังงาน และแร่ ธาตุมาป้อนเศรษฐกิจจีน สอง เพื่อใช้เอเชียกลางเป็นสะพานเชื่อมไปยังยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และสามเพื่อสร้างเสถียรภาพในภูมิภาคแห่งนั้นและกระชับความร่วมมือด้านการต่อต้านการก่อการร้าย เพื่อประกันความมั่นคงในซินเจียง ทั้งสามเรื่องนั้นล้วนมีน้าหนักและส่งเสริมกัน หากใช้หลักเหตุผลพื้นฐานจะเห็นว่าการที่จีนหันไปหาเอเชียกลางในช่วงที่ผ่านมานั้น “สมเหตุสมผล” อยู่แล้วในหลายๆ ทาง เพราะเมื่อจีนในฐานะผู้บริโภคพลังงานอันดับหนึ่งของโลก ไม่มี พลังงานสารองเพียงพอก็จาเป็นต้องหาแหล่งพลังงานภายนอก ซึ่งเมื่อเพื่อนบ้านทางตะวันตกที่อยู่ ติดกันอย่างเอเชียกลางอุดมสมบูรณ์ด้วยน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ รวมทั้งแร่ธาตุสาคัญ ก็ไม่แปลกที่จีนจะ พยายามเชื่อมท่อทางบกเพื่อนาพลังงานจากเอเชียกลางมาใช้ในประเทศ ซึ่งแน่นอนว่าสะดวกและ ปลอดภัยสาหรับจีนมากกว่าการขนส่งทางทะเลที่ควบคุมโดยสหรัฐอเมริกาตลอดทางจากตะวันออก กลางมาถึงจีนอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ เป็นที่รู้กันดีว่าเศรษฐกิจจีนเข้าสู่สภาวะ New Normal มีความอิ่มตัวและล้นเกินของศักยภาพในหลายภาคส่วน โดยเฉพาะภาคการก่อสร้าง ที่ทาให้การเติบโต ของเศรษฐกิจจีนชะลอตัวลง จีงไม่แปลกที่จีนจะขยายฐานการค้า การลงทุน การก่อสร้างโครงสร้าง พื้นฐาน ออกไปยังที่ที่มียังมีช่องว่างในการเติบโตหรือกล่าวง่ายๆ คือยังด้อยพัฒนาอยู่ในทางเศรษฐกิจ ซึ่งเอเชียกลางก็เป็นเช่นนั้น ประการที่สอง ด้วยที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ชัดเจนว่าหากจีนจะฟื้นเส้นทางสาย ไหมทางบก เชื่อมโยงเข้ากับรัสเซีย ตะวันออกกลาง และยุโรป ย่อมไม่พ้นที่จะต้องวางโครงการคมนาคม ผ่านเอเชียกลาง และประการที่สาม นับแต่แตกตัวจากสหภาพโซเวียต ทราบกันดีว่าเอเชียกลางเป็น ภูมิภาคที่มีปัญหาเรื่องเสถียรภาพทางการเมืองและความมั่นคง ทั้งจากความขัดแย้งของชาติพันธุ์ต่างๆ ในภูมิภาคเอง กลุ่มต่อต้านรัฐบาลในประเทศต่างๆ ขบวนการธุรกิจผิดกฎหมายทั้งค้าอาวุธและยาเสพ ติด กลุ่มติดอาวุธหัวรุนแรงทั้งที่เกี่ยวกับการแบ่งแยกดินแดนอุยกูร์และไม่เกี่ยว และแรงกระเพื่อมจาก
  • 8. ความไม่สงบในอัฟกานิสถานที่อยู่ติดทางตอนใต้ของภูมิภาค เหตุจลาจลเมื่อปี 2010 และเหตุระเบิด สถานทูตจีนในเคอร์กีซสถานเมื่อปี 2016 ย่อมเป็นตัวอย่างที่กระตุ้นให้ทางการจีนตระหนักถึงผลกระทบ ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่เอเชียกลางขาดเสถียรภาพ โดยเฉพาะผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและ พลังงานของจีนในเอเชียกลาง และเสถียรภาพในมณฑลซินเจียงที่อยู่ติดกัน จีนจึงต้องหันมาสร้างเสริม เสถียรภาพทั้งทางการเมืองและความมั่นคงในเอเชียกลาง ด้วยการกระตุ้นความกินดีอยู่ดีของคนเอเชีย กลางผ่านความร่วมมือด้านต่างๆ โดยเฉพาะภายใต้ยุทธศาสตร์ OBOR ซึ่งย่อมเป็นวิธีสาคัญที่จะช่วย สร้างเสถียรภาพทางการเมืองในเอเชียกลางได้ ร่วมกับการกระชับความร่วมมือด้านความมั่นคงและ การทหาร เช่น การซ้อมรบร่วมบริเวณชายแดนระหว่างจีนกับประเทศในเอเชียกลาง เป็นต้น โดยสรุป จะเห็นได้ว่ามีปัจจัยหลายประการที่ผลักดันให้จีนหันไปสู่เอเชียกลางโดยมิจาเป็นต้องมี แผนการอะไรซ่อนเร้นอยู่เบื้องหลัง อย่างไรก็ตาม การกล่าวเช่นนี้มิได้หมายความว่าจีนจะเข้าหาเอเชีย กลางอย่างไร้ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวกับเอเชียกลางที่ชัดเจนที่สุดของจีนก็คือ OBOR ร่วมกับ SCO สองร่มใหญ่ของความร่วมมือนี้ย่อมเป็นกรอบหรือเวทีใหญ่ที่รองรับการขมวดเอาความเชื่อมโยง ด้านเศรษฐกิจ พลังงาน คมนาคม โครงสร้างพื้นฐาน การค้าการลงทุน การเมือง การทูต ความมั่นคง การทหาร สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ที่จีนทากับเอเชียกลางทั้งก่อนและหลังที่จะมี OBOR และ SCO เข้าไว้อย่าง ครอบคลุม บทบาทของจีนในเอเชียกลางในภาพใหญ่นั้นต้องถือว่าสมประโยชน์ทั้งสองฝ่าย ฝ่ายเอเชียกลาง ได้โอกาสใหญ่อย่างน้อยในรอบ 2,000 ปีนับแต่กาเนิดของเส้นทางสายไหมโบราณที่จะยกระดับตัวเอง ทางเศรษฐกิจ การทูต ส่วนจีนนั้น การเข้าไปดาเนินกิจกรรมในทุกมิติ โดยเฉพาะทางเศรษฐกิจในเอเชีย กลางย่อมเป็นโอกาส เพราะเมื่อกล่าวถึงเรื่องการหันสู่ตะวันตกหรือยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมสู่ ตะวันตกของจีนนั้น มักจะพบว่ามีแต่เรื่องของโอกาสและพื้นที่ในการทาสิ่งใหม่ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ พัฒนาสิ่งใหม่ๆ สร้างความร่วมมือใหม่ๆ เทียบกับแนวการต่างประเทศดั้งเดิมของจีนซึ่งเทน้าหนักไปที่ ฝั่งตะวันออก ซึ่งในเวลานี้ก็อิ่มตัวแล้วในประเทศ ส่วนแนวโน้มสถานการณ์ระหว่างประเทศทางฝั่ง ตะวันออกนี้ก็ติดขัด ตึงเครียด และคุกรุ่นขึ้นเป็นระยะ จากหลายประเด็นในความสัมพันธ์จีน เกาหลี เหนือ เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน อาเซียน สหรัฐอเมริกา และทะเลจีนใต้ บรรยากาศความอึดอัดใน สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศทางตะวันออก น่าจะทาให้ต่อจากนี้นั้น สาหรับจีน โอกาส ความร่วมมือ การพัฒนา และการเติบโตน่าจะมีอยู่ทางฝั่งตะวันตก ทั้งในเอเชียกลาง และไกลออกไป มากกว่าฝั่ง ตะวันออกของประเทศ บทความนี้จะกล่าวถึงบทบาทของจีนในเอเชียกลางในด้านต่างๆ ที่สาคัญ ประวัติความเป็นมา และพัฒนาการในปัจจุบัน น่าจะเป็นประโยชน์สาหรับประเทศไทยทั้งในส่วนของประเทศเราเองลาพัง และในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นอีกภูมิภาคที่จีนออกมาหาเช่นกัน แม้จะในรูปแบบที่ต่างออกไป
  • 9. กรอบคิดและขอบเขตของการศึกษา ในส่วนของกรอบคิด งานวิจัยชิ้นนี้ทาการศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลบนหลักเหตุผลพื้นฐาน และความเป็นจริง โดยมิได้ยืนอยู่บนกรอบการวิเคราะห์ที่สันนิษฐานว่าจีนมีวาระซ่อนเร้นบางอย่างที่ มากกว่าเหตุผลทางเศรษฐกิจในการเข้าไปมีบทบาทในเอเชียกลาง อันเป็นกรอบการวิเคราะห์ที่พบได้ใน งานศึกษาส่วนใหญ่ในเรื่องนี้ของตะวันตก สาหรับของเขตของการศึกษา งานชิ้นนี้ศึกษาบทบาทของจีนในเอเชียกลางที่เกิดขึ้นในช่วง 25 ปีนับตั้งแต่การสถาปนาความสัมพันธ์ของประเทศต่างๆ ในเอเชียกลางกับจีนในปี 1992-2017 โดย วิเคราะห์บทบาทของจีนในภูมิภาคนี้ด้านการเมือง การทูต ความมั่นคง การทหาร และโดยเฉพาะทาง เศรษฐกิจเป็นหลัก แบ่งประเด็นการศึกษาออกเป็น ภูมิหลังและข้อมูลทั่วไปของภูมิภาคเอเชียกลาง ความสาคัญของเอเชียกลางต่อจีน ภาพรวมบทบาทของจีนในเอเชียกลาง และบทบาทของจีนในแต่ละ ประเทศในเอเชียกลาง
  • 10.
  • 11. 1 บทที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้น ภาพที่ 1 ภูมิภาค ‘เอเชียกลาง’ ที่มาภาพ global.britannica.com
  • 12. 2 เอเชียกลาง (Central Asia-บางแห่งยังคงเรียกว่า Middle Asia) เป็นชื่อเรียกภูมิภาคหนึ่งของ โลก ซึ่งมีอาณาเขตดังภาพที่ 1 คือ ทิศตะวันตกตั้งแต่ทะเลแคสเปียนจรดจีนทางทิศตะวันออก และจาก รัสเซียทางทิศเหนือจรดอิหร่านและอัฟกานิสถานทางทิศใต้ การเรียกว่า ‘เอเชียกลาง’ นี้ ความจริงเป็น การเรียกแบบตะวันตก ในขณะที่จีนเรียกดินแดนแถบนี้ว่า ดินแดนตะวันตก (Western Region) มาแต่ โบราณ เอเชียกลางในปัจจุบันมีอาณาเขตประมาณ 4 ล้านตารางกิโลเมตร (ประเทศไทยมีเนื้อที่ราว 5 แสนตารางกิโลเมตร เอเชียกลางจึงมีขนาดประมาณ 8 เท่าของประเทศไทย ขณะที่ประเทศจีนมีเนื้อที่ ราว 9 ล้าน 6 แสน ตารางกิโลเมตร เอเชียกลางจึงใหญ่ประมาณเกือบครึ่งหนึ่งของจีน) ประกอบด้วยทุก ประเทศ “สถาน” รวม 5 ประเทศ ยกเว้นอัฟกานิสถานและปากีสถาน ได้แก่ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เคอร์กิซสถาน เติร์กเมนิสถาน และทาจิกิสถาน โดยคาซัคสถานเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และทาจิ กิสถานมีขนาดเล็กที่สุด ดินแดนและผู้คน ภาพที่ 2 “เอเชียกลาง” ในแผนที่โลก ที่มาภาพ https://en.wikipedia.org/wiki/Central_Asia#/media/File:Central_Asia_(orthographic_projection).svg เอเชียกลางเป็นดินแดนกว้างใหญ่ที่มีประชากรเบาบาง ดังที่กล่าวไปว่า มีขนาดเกือบครึ่งหนึ่ง ของจีน ประมาณแปดเท่าของประเทศไทย แต่มีประชากรพอๆ กับประเทศไทย คือ ราว 68 ล้านคน ชน ชาติหลักที่อาศัยในดินแดนนี้ 5 กลุ่ม เรียงจากมากไปน้อย คือ อุซเบก คาซัค ทาจิก เติร์กเมน และ เคอร์
  • 13. 3 กิซ โดยอุซเบกิสถานมีประชากรจานวนมากที่สุด ราว 32 ล้านคน รองลงมาคือคาซัคสถานราว 18 ล้าน คน ทาจิกิสถาน 8 ล้านคน และเติร์กเมนิสถานกับเคอร์กีซสถานราวประเทศละ 6 ล้านคน2 เอเชียกลางตั้งอยู่ใจกลางของแผ่นดิน “ยูเรเซีย” ห่างจากทะเลมาก จึงจึงมีภูมิอากาศที่แห้งแล้ง ดินแดนส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้าสเต็ปป์ (steppe) คือ ทุ่งหญ้าต้นสั้นๆ และทะเลทรายอันกว้างใหญ่ โดยรวม ครึ่งบนของเอเชียกลางบริเวณประเทศคาซัคสถานเป็นทุ่งหญ้าสเต็ปป์ ส่วนครึ่งล่างจะเป็น ทะเลทราย ที่สาคัญ คือ ทะเลทราย Karakum และ Kyzylkum กับดินแดนขรุขระและเทือกเขาสูงด้าน ตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณประเทศเคอร์กีซสถานและทาจิกิสถาน ขอบเขตด้านตะวันออกและด้านใต้ของ เอเชียกลางถูกกั้นด้วยเทือกเขาสาคัญหลายแห่ง เช่น เทือกเขาอัลไต (Altai) เทือกเขาเทียน ชาน (Tian Shan) และเทือกเขา Pamirs ซึ่งต่อเนื่องกับตะวันตกของจีน ตอนเหนือของอัฟกานิสถาน และอิหร่าน3 ภูมิภาคนี้เป็นดินแดนที่มีน้าน้อย แหล่งน้าหลักของเอเชียกลางอยู่ที่แม่น้าสองสายสาคัญ คือ แม่น้า Syr Darya และ Amu Darya ซึ่งไหลจากตะวันออกเฉียงใต้ไปสู่ตะวันตกเฉียงเหนือลงสู่ทะเลอารัล (Aral sea) ทะเลสาบน้าเค็ม ซึ่งเคยเป็นแหล่งน้าสาคัญมากอีกแห่งของภูมิภาค ร่วมกับทะเลสาบใหญ่อีก แห่ง คือ ทะเลสาบบัลคาช (Lake Balkhash) ซึ่งได้น้าสาคัญมาจากแม่น้าอิลี (Ili) ซึ่งไหลมาจากมณฑล ซินเจียงของจีน (โปรดดูภาพที่ 3 และ 4) ภาพที่ 3 แผนที่ภูมิประเทศเอเชียกลาง 2 Starr, S. F. (2013). Lost Enlightenment : Central Asia's Golden Age from the Arab Conquest to Tamerlane. Princeton University Press. 3 The Editors of Encyclopædia Britannica. Central Asia. ออนไลน์ https://www.britannica.com/place/Central- Asia.
  • 14. 4 ที่มาภาพ http://www.freeworldmaps.net/asia/central/centralasia-geography-map.jpg ภาพที่ 4 แผนที่ภูมิประเทศเอเชียกลาง ที่มาภาพ http://www.freeworldmaps.net/asia/central/centralasia-physical-map.jpg เหตุที่กล่าวถึงทะเลอารัลว่า “เคย” เป็นแหล่งน้าสาคัญนั้น เพราะในอดีต อย่างช้าจนถึงช่วงท้าย ของศตวรรษที่แล้ว ทะเลอารัลยังคงถือเป็นทะเลสาบใหญ่อันดับสี่ของโลก แต่นโยบายของโซเวียตใน ทศวรรษ 1960 ในการผันน้าจากแม่น้า Amu Darya และ Syr Darya สองแหล่งน้าหลักที่ไหลลงสู่ทะเล อารัล ไปทาการเกษตร โดยเฉพาะปลูกฝ้ายขนานใหญ่4 ทาให้น้าในทะเลอารัลลดลงเรื่อยๆ จนเกือบแห้ง ในปัจจุบัน 4 The Aral Sea Crisis. ออนไลน์ http://www.columbia.edu/~tmt2120/introduction.htm
  • 15. 5 ภาพที่ 5 ภาพถ่ายดาวเทียมของทะเลอารัลในปี 1989 และปี 2014 ที่มาภาพ https://en.wikipedia.org/wiki/Aral_Sea#/media/File:AralSea1989_2014.jpg
  • 16. 6 บทที่ 2 ความสาคัญของเอเชียกลาง เอเชียกลาง (Central/Middle Asia) เป็นภูมิภาคที่คนส่วนใหญ่ในโลกปัจจุบันลืมเลือนไป น้อยคนนักจะนึกออกว่าอยู่ส่วนใหญ่ของโลก แม้เอเชียกลางจะเป็นภูมิภาคที่ไม่ติดทะเล (landlock) แต่ เอเชียกลางคือสะพานเชื่อมทางบก (land bridge) ที่เมื่อหลายพันปีก่อน อารยธรรมต่างๆ ต้องตัดผ่าน เพื่อเดินทางติดต่อค้าขายหรือทาสงครามระหว่างกันมาแต่โบราณอย่างไรก็ตาม เอเชียกลางคือ ศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองของโลก ในสมัยที่ผู้คนยังเดินทางติดต่อค้าขายหรือแม้แต่ทาสงคราม ขยายอาณาเขตกันทางบก เอเชียกลางเป็นจุดกึ่งกลางที่เชื่อมจีนกับกรีก โรมัน ยุโรป เปอร์เซีย อาหรับ อินเดีย เป็นจุดที่ “เส้นทางสายไหม” โบราณ ซึ่งมีมาตั้งแต่สองพันกว่าปีที่แล้ว พาดผ่านไปยังดินแดน ต่างๆ ก่อให้เกิดชุมทางการค้าสาคัญตลอดเส้นทาง ซึ่งหลายแห่งเติบโตกลายเป็นเมืองหรือแม้แต่เมือง หลวงของประเทศในปัจจุบัน เช่น เมืองฉางอาน (Chang’an) ตุนหวง (Dunhuang) เทอรพาน (Turpan) คัชการ์ (Kashgar) เฟอร์กานา (Ferghana) ซาร์มาคานท์ (Samarkand) บูคาร่า (Bukhara)5 แบกแดด (Baghdad) ดามัสกัส (Damascus) และคอนสแตนติโนเปิล (Constantinople)6 เอเชียกลางไม่เป็นแต่ เพียงชุมทางการค้าของเส้นทางสายไหม แต่ยังเฟื่องฟูและเป็นศูนย์กลางของ ความรู้ ศิลปวิทยาการ นัก คิดและนักปรัชญาแห่งยุคสมัย ความเชื่อ ศาสนา รวมทั้งความคิดทางสถาปัตยกรรมต่างๆ ซึ่งยังปรากฏ หลักฐานให้เห็นอยู่ในอาคารสาคัญหลายแห่งในเมืองเรืองนามแห่งเอเชียกลางทุกวันนี้ ไม่ว่า ซาร์มา คานท์ บูคาร่า อัลมาตี เป็นต้น นักคิดและนักปรัชญาแห่งเอเชียกลางที่มีชื่อเสียง เช่น Al-Farabi (Alpharabius) เกิดที่คาซัคสถานหรืออัฟกานิสถานในปัจจุบัน Ibn Sina (Avicenna) ชาวเมืองบูคาร่า ซึ่ง อยู่ในประเทศอุซเบกิสถานปัจจุบัน ผู้แต่งหนังสือเรื่อง Canon of Medicine และ Al-Biruni ชาวแคว้น Khwarezm ซึ่งปัจจุบันคาบเกี่ยวอยู่ระหว่างอุซเบกิสถานและเติร์กเมนิสถาน ท่านเหล่านี้มีชีวิตอยู่เมื่อ ราวพันปีมาแล้ว เป็นนักคิดและผู้รอบรู้หลายศาสตร์ (polymath) ตั้งแต่ ปรัชญา การเมือง ดนตรี ไป จนถึง การแพทย์และคณิตศาสตร์ เช่นเดียวกับผู้ทรงภูมิในสมัยโบราณหลายท่านทั่วโลก และเป็นที่รู้จัก ดีทั้งในโลกตะวันตกและตะวันออก 5 เฟอร์กานา ซาร์มาคานท์ และบูคาร่า อยู่ในเอเชียกลางในปัจจุบัน 6 CCTV. One Belt One Road Documentary Episode One: Common Fate (Improved Video version). https://www.youtube.com/watch?v=twqpsJhqPKY เผยแพร่เมื่อ 23 ก.พ. 2017
  • 17. 7 ภาพที่ 6 Al-Farabi ที่มาภาพ http://www.muslimheritage.com/uploads/Al-Farabi1.jpg ภาพที่ 7 Ibn Sina (Avicenna) ที่มาภาพ http://static.wixstatic.com/media/98845c_cbb0bd8bd2224a92999391680788b014.jpg/v1/fill/w_619,h_839/9884 5c_cbb0bd8bd2224a92999391680788b014.jpg
  • 18. 8 ภาพที่ 8 Al-Biruni ที่มาภาพ http://poygam.com/wp-content/uploads/2017/05/d1bab6a72db08a0825ded35f945c7f2a.jpg ศาสตราจารย์ หวัง กางอู่ นักประวัติศาสตร์ชาวออสเตรเลียเชื้อสายจีน แห่งมหาวิทยาลัย แห่งชาติสิงคโปร์ ได้สร้างทฤษฎีในการอธิบายประวัติศาสตร์โลกว่า ก่อนยุคที่มหาอานาจทางทะเลจะ ขึ้นมาเป็นใหญ่นับจากยุคอาณานิคมเป็นต้นมา เอเชียกลางคือ “แกน” ของประวัติศาสตร์โลกเสมอมา7 เนื่องจากทาเลที่ตั้งที่คั่นอยู่ตรงกลางระหว่างอารยธรรมสาคัญบนพื้นทวีปของโลก ไม่ว่าอารยธรรมจีน ทางตะวันออก อารยธรรมเปอร์เซียและอิสลามทางใต้และตะวันตก อารยธรรมเติร์ก กรีกและยุโรป ทาง ตะวันตก และ อารยธรรมสลาฟ (รัสเซีย) ทางเหนือ อารยธรรมต่างๆ ที่สูงส่งกว่าคนเร่ร่อนแห่งเอเชีย กลางเหล่านี้ เมื่อจะติดต่อค้าขายกับอารยธรรมอีกฟากหนึ่งก็ต้องสร้างสันติกับชาวเผ่าเร่รอนแห่งเอเชีย กลางก่อนจึงจะเดินทางผ่านไปได้ นอกจากนี้ ชาวเผ่าเร่ร่อนไม่ว่ามองโกล เติร์ก ฮัน แมนจู จากทุ่งหญ้า แห่งเอเชียกลางก็มักจะบุกเข้าไปในอาณาจักรที่มีอารยธรรมสูงส่งกว่าตนที่อยู่รายรอบเป็นระยะ และ มักจะชนะ ได้ปกครอง พร้อมกับรับเอาวัฒนธรรมที่เจริญกว่ามาใช้ด้วย หลังเส้นทางสายไหมโบราณที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่สองร้อยปีก่อนคริสตกาลในสมัยราชวงศ์ฮั่น เสื่อม โทรมลงไป เพราะการเดินทางค้าขายและคมนาคมขนส่งย้ายจากทางบกไปทางทะเล เอเชียกลางที่เป็น ศูนย์กลาง ชุมทาง เศรษฐกิจ ความคิด ความรู้ ระดับโลก มีความเป็นดินแดนนานาชาติ ก็ค่อยๆ สูญ 7 Ooi Kee Beng. The Eurasian Core and its edges: Dialogues with Wang Gungwu on the History of the World. Singapore: ISEAS publishing.2015.
  • 19. 9 หายไป โดยเฉพาะเมื่อตกอยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียและสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา อดีตดินแดน cosmopolitan แห่งนี้ก็กลายเป็นเพียง “เขตอิทธิพล” “หลังบ้าน” ของโซเวียตรัสเซีย เอเชียกลางเริ่มกลับมาสู่ความสนใจของโลกอีกครั้ง หลังโซเวียตล่มสลายเมื่อปี 1991 และเกิด ประเทศเอกราชใหม่บนดินแดนเก่าแก่แห่งนี้ขึ้นมา 5 ประเทศ คือ คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิ สถาน เคอร์กีซสถาน และทาจิกิสถาน เป็นการ “เปิด” ดินแดนแห่งนี้ออกสู่โลก อีกครั้ง เป็นโอกาสและ ความท้าทายใหม่ของมหาอานาจอื่นๆ สาหรับมหาอานาจอื่น เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย และ จีน การที่ เอเชียกลางหลุดออกมาจากรัสเซียก็เป็นโอกาสให้เข้าไปแสวงหาประโยชน์ในดินแดนนี้ได้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งพลังงานที่มีอุดมสมบูรณ์ในดินแดนแห่งทั้งน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม สาหรับจีน ในช่วงต้นของการได้เอกราชของเอเชียกลาง ก็นามาซึ่งความประเด็นการจัดการปัญหาการ ปักปันชายแดนใหม่ ซึ่งก็ใช้เวลาประมาณหนึ่งทศวรรษ ก็จัดการกันเสร็จเรียบร้อย จากนั้นมาก็เป็นเรื่อง ของโอกาส เอเชียกลางกลับคืนความสาคัญในระดับโลกอีกครั้ง ด้วยเหตุสาคัญสองประการคือ เหตุผลด้าน ภูมิรัฐศาสตร์และการกลับคืนมาของเส้นทางสายไหม กับความอุดมสมบูรณ์ของพลังงานในภูมิภาค การพูดถึงการฟื้นคืนของเส้นทางสายไหมเฟื่องฟูขึ้นในโลกตะวันตกและตะวันออกมาระยะหนึ่ง แล้ว สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปพูดถึงมันในฐานะที่เป็นเครื่องมือที่จะดึงให้เอเชียกลางพ้นจากการ ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลรัสเซียในมุมมองของพวกเขา ขณะที่จีน ตุรกี อิหร่าน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย และ ปากีสถาน ต่างอ้างถึงความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับดินแดนแห่งนี้ แน่นอนว่า ย้อนกลับไปไกล ก่อนที่ “ม่านเหล็ก” แห่งสหภาพโซเวียตจะปกคลุมลงมาที่ดินแดนแห่งนี้8 อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการพูดถึงการกลับมาของเส้นทางสายไหม แม้แต่วาทกรรมว่าด้วยการ สร้างเส้นทางสายไหมใหม่ (New Silk Road) ขึ้นจากหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกาเองก็ตาม แต่ ประเทศที่ในปัจจุบันเห็นชัดแล้วว่าฟื้นเส้นทางสายไหมใหม่กลับขึ้นมาจริงๆ ก็คือ ประเทศจีน ด้วยมหา ยุทธศาสตร์ One Belt One Road และนั่นก็ทาให้เอเชียกลางกลับมามีความสาคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ อย่างยิ่งยวด เพราะในภาพรวม เส้นทาง OBOR คือ เส้นทางคมนาคมขนส่งที่เชื่อมจีน เข้ากับยุโรป ผ่าน ยูเรเซีย หรือ เอเชียกลาง เป็นสาคัญนั่นเอง เอเชียกลางจึงเป็นตัวต่อสาคัญที่ขาดเสียมิได้ในแผนการ OBOR ของจีน ในวาระหนึ่ง จีนได้เคยกล่าวว่า “เป้าหมายสูงสุดของความริเริ่ม One Belt One Road คือการฟื้นความรุ่งโรจน์ในอดีตของภูมิภาคยูเรเซีย”9 8 Marlene Laruelle, Jean-Francois Huchet, Sebastien Peyrouse and Bayram Balci eds. China and India in Central Asia: A New Great Game? New York: Palgrave Macmillan. 2010 9 เพิ่งอ้าง
  • 20. 10 ควบคู่ไปกับความสาคัญด้านทาเลที่ตั้ง เอเชียกลางกลับมาสู่ความสาคัญระดับโลกในปัจจุบันใน ฐานะดินแดนที่ร่ารวยพลังงาน ไม่ว่าน้ามันดิบหรือก๊าซธรรมชาติ ในยุคที่ประเทศต่างๆ ล้วนพยายาม กระจายความเสี่ยงด้วยการลดการพึ่งพาการนาเข้าพลังงานจากตะวันออกกลางเป็นหลัก จากความ ปั่นปวนในภูมิภาคนั้นซึ่งน่าจะทอดยาวไปอีกนาน เอเชียกลางจึงเป็นอีกแหล่งพลังงานทางเลือกของ ประเทศต่างๆ ในโลก ท่อส่งน้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติจากแหล่งในเอเชียกลาง และบริเวณใกล้เคียง (ที่ สาคัญคือบริเวณทะเลสาบแคสเปียน) เช่น เขตคอเคซัส และอิหร่าน นั้นโยงใยไปทั่วทุกทิศ ไม่ว่าเหนือ ใต้ ออก ตก ไม่ว่าไปสู่รัสเซีย จีน สู่ตะวันออกกลาง สู่คอเคซัส และตุรกี ต่อไปยังยุโรป ดังนั้น มหาอานาจทั้งหน้าเก่า เช่น รัสเซีย และหน้าใหม่ อย่างจีน สหรัฐ สหภาพยุโรป รวมไปถึง ญี่ปุ่น อินเดีย เกาหลีใต้ ฯลฯ จึงต่างเข้ามาหาโอกาสในภูมิภาคนี้ ในโลกวันนี้ เอเชียกลางจึงเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่ “เนื้อ หอม” ด้วยทาเลที่ตั้งและด้วยแหล่งพลังงานที่สะสมเอาไว้ใต้ผืนดิน ภาพที่ 9 โครงข่ายท่อส่งก๊าซธรรมชาติบริเวณ “ยูเรเซีย” ไปยังดินแดนรอบข้าง (เส้นสีแดงคือท่อที่มีอยู่แล้ว สีเขียวคือ โครงการที่กาลังอยู่ระหว่างดาเนินการ) ที่มาภาพ http://www.marcon.com/library/country_briefs/uzbekistan/7.gif
  • 21. 11 ความสาคัญของเอเชียกลางต่อจีน ดินแดนที่เป็นเอเชียกลางในปัจจุบันไม่เป็นที่รู้จักของจีนอย่างเป็นทางการก่อนการเดินทางไป สารวจดินแดนตะวันตกของ Zhang Qian ตัวแทนของจักรพรรดิหวูแห่งราชวงศ์ฮั่น (Hun Wudi) เมื่อราว 200 ปีก่อนคริสตกาล Zhang Qian ออกเดินทางจากนครฉางอาน (Chang’an) เมืองหลวงของราชวงศ์ ฮั่น (บริเวณเมืองซีอาน) ในปัจจุบัน ไปทางตะวันตก เขาใช้เวลาเดินทางกว่า 10 ปี และกลับมารายงาน จักรพรรดิแห่งต้าฮั่น ทุกวันนี้จีนถือว่า Zhang Qian เป็นผู้บุกเบิกตะวันตกของจีน รวมทั้งเส้นทางสาย ไหมด้วย ความสาคัญของเอเชียกลางในอดีตสาหรับจีนตั้งแต่ยุคราชวงศ์ฮั่น ถัง ซ่ง ลงมาถึงหยวน ซึ่ง เป็นยุคที่เส้นทางสายไหมทางบกเฟื่องฟู จีนเข้าไปในเอเชียกลางด้วยเหตุผลหลักคือเพื่อค้าขาย แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม ความรู้ บนเส้นทางสายไหม และเพื่อเดินทางเชื่อมต่อไปยังเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และยุโรป นาเอาสินค้าจากจีน ที่สาคัญคือ ผ้าไหม ซึ่งตะวันตกไม่สามารถผลิตได้และ เป็นที่นิยมมีราคาดั่งทอง รวมทั้งสินค้าอื่น เช่น เครื่องกระเบื้อง และวิทยาการเทคโนโลยี เช่น การทาดิน ปืน กระดาษ และเข็มทิศ ออกไปเผยแพร่ และนาสินค้าจากยุโรปกลับมา ในปัจจุบัน นอกจากเอเชียกลางจะเป็นทางผ่านสาคัญของจีนออกไปทางตะวันตกในมหา ยุทธศาสตร์ One Belt One Road ซึ่งถือเป็นความสาคัญทางเศรษฐกิจการค้าเป็นสาคัญแล้ว เอเชีย กลางยังสาคัญต่อจีนทางด้านความมั่นคงและเสถียรภาพในประเทศจีนอีกด้วย เพราะเสถียรภาพใน เอเชียกลางมีผลอย่างมากต่อสถานการณ์ความมั่นคงและความสงบเรียบร้อยในมณฑลซินเจียงของจีนที่ อยู่ติดกัน นอกจากนั้น เอเชียกลางยังมีความสาคัญในฐานะแหล่งพลังงานทางเลือกของจีน เพื่อเสริม ความมั่นคงทางพลังงานให้กับจีน เป็นตัวเลือกนอกจากการนาเข้าน้ามันและก๊าซธรรมชาติผ่านการ ขนส่งทางทะเล ซึ่งต้องผ่านน่านน้าซึ่งสหรัฐมีอิทธิพลเหนืออยู่ตลอดเส้นทาง โดยเฉพาะที่จุดเสี่ยงบริเวณ ช่องแคบมะละกา10 10 ชวลิตา อุ๋ยจ๋าย. บทคัดย่อ ใน ภาคนิพนธ์ เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าไปมีบทบาทของสหรัฐอเมริกา รัสเซีย และจีน ในภูมิภาคเอเชียกลาง ค.ศ. 2000-2010. แผนกวิชารัสเซียศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2554. ออนไลน์ http://www.russianstudies-tu.com/library/research2554-1/research2554_057.pdf.
  • 22. 12 บทที่ 3 บทบาทจีนในเอเชียกลาง จีนกับเอเชียกลางเป็นเพื่อนบ้านที่มีความสัมพันธ์ติดต่อกันมาช้านาน โดยเฉพาะในช่วงที่ เส้นทางสายไหมโบราณยังรุ่งเรือง เมื่อเส้นทางดังกล่าวซบเซาลงไป ความสัมพันธ์ของจีนกับเอเชียกลาง ก็ลดน้อยลงตามไปด้วย ในช่วงต่อจากนั้น เอเชียกลางก็ได้ตกไปอยู่ใต้อิทธิพลของอานาจอื่น โดยเฉพาะ จักรวรรดิรัสเซีย และสหภาพโซเวียตในเวลาต่อมา จนพึ่งพิงใกล้ชิดกับโซเวียตรัสเซียเป็นหลัก มากกว่า จีน เอเชียกลางกลับมามีความสัมพันธ์กับจีนอย่างสาคัญอีกครั้งก็ภายหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลาย ในปี 1991 และประเทศสถานทั้ง 5 ที่ได้รับเอกราชใหม่เริ่มสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็น ทางการกับประเทศต่างๆ รวมทั้งกับประเทศจีน นับจนถึงปี 2017 นี้ก็ได้ 25 ปี ความสัมพันธ์ระหว่างจีน และเอเชียกลางเติบโตขยายตัวอย่างก้าวกระโดด ก็ด้วยบทบาทของจีนที่เพิ่มมากขึ้นในภูมิภาคนั้น ในช่วงราว 20 ปีมานี้ ประเทศทั้งห้าในเอเชียกลางเป็นประเทศร่ารวยได้ปานกลางและยากจน มีขนาดเศรษฐกิจ พิจารณาจาก GDP ที่เป็นกาลังซื้อจริงตาม ตารางที่ 1 ลาดับของโลก ประเทศ ล้านดอลลาร์สหรัฐ 1 จีน 21,417,150 2 สหรัฐอเมริกา 18,569,100 19 ไทย 1,164,928 41 คาซัคสถาน 449,621 61 อุซเบกิสถาน 207,470 80 เติร์กเมนิสถาน 95,586 129 ทาจิกิสถาน 26,031 135 เคอร์กีซสถาน 21,601 ตารางที่ 1 GDP (กาลังซื้อจริง : PPP) ของประเทศเอเชียกลางเทียบกับประเทศอื่น ในปี 2016 ที่มา http://databank.worldbank.org/data/download/GDP_PPP.pdf บทบาทของจีนในเอเชียกลางในปัจจุบันแบ่งได้เป็น 3 ด้านหลัก ซึ่งเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ได้แก่ ด้านพลังงาน ด้านโครงข่ายคมนาคมและโครงสร้างพื้นฐาน (ซึ่งเป็นบทบาทที่หนักมาในทาง เศรษฐกิจ) และด้านความมั่นคง ซึ่งจะได้กล่าวไล่ไปในแต่ละด้าน
  • 23. 13 หากมองในทางเศรษฐกิจ ปัจจุบันกล่าวได้ว่าจีนมีน้าหนักทางเศรษฐกิจเป็นอันดับ 1 แล้วใน ภูมิภาคเอเชียกลาง เหนือกว่ารัสเซียและประเทศในสหภาพยุโรป ซึ่งมีน้าหนักทางเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ รองลงมา จากข้อมูลปี 2015 ในทางการค้า จีนเป็นคู่ค้าอันดับ 1 ของเอเชียกลาง ทั้งนาเข้าและส่งออก โดยจีนเป็นผู้นาเข้าและส่งออกสินค้าอันดับ 1 หรือ 2 ของเกือบทุกประเทศในเอเชียกลาง เริ่มจาก คาซัคสถาน ส่งออกไปยัง จีน 15.1% รัสเซีย 12.3% ฝรั่งเศส 9.3% เยอรมัน 7.9% อิตาลี 6.7% และ กรีซ 4.1% ขณะที่นาเข้าจากรัสเซียเป็นอันดับหนึ่งที่ 32.9% ตามมาด้วย จีน 25.9% และเยอรมัน 4.2%11 อุซเบกิสถาน ส่งออกไปยังสวิตเซอร์แลนด์ 25.9% จีน 17.6% คาซัคสถาน 14.2% ตุรกี 9.9% รัสเซีย 8.4% บังกลาเทศ 6.9% และนาเข้าจากจีน 20.8% รัสเซีย 20.8% เกาหลีใต้ 11.9% คาซัคสถาน 10.8% ตุรกี 4.6% และเยอรมัน 4.4%12 ส่วนเติร์กเมนิสถานส่งออกไปยัง จีนมากถึง 68.7% ตุรกี 4.9% และนาเข้าจากตุรกี 25.1% รัสเซีย12.3% จีน 11% สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 9.1% คาซัคสถาน 5.2% เยอรมัน 4.6% และอิหร่าน 4.5%13 เคอร์กีซสถาน ส่งออกไปยังสวิตเซอร์แลนด์ 26.1% อุซเบกิสถาน 22.6% คาซัคสถาน 20.8% สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4.9% ตุรกี 4.5% อัฟกานิสถาน 4.5% รัสเซีย 4.2% และนาเข้าจากจีน 56.6% รัสเซีย 17.2% และคาซัคสถาน 10%14 ส่วนทาจิกิสถานส่งออกไปยังตุรกี 19.8% คาซัคสถาน 17.6% สวิตเซอร์แลนด์ 13.7% อิหร่าน 8.7% อัฟกานิสถาน 7.5% รัสเซีย 5.1% จีน 4.9% อิตาลี 4.8% และนาเข้าจากจีน 42.3% รัสเซีย 18% คาซัคสถาน 13.1% และอิหร่าน 4.7%15 สาหรับสินค้าหลักที่เอเชียกลางส่งออกไปขายจีนได้แก่พลังงาน โดยเฉพาะน้ามัน ในกรณี ของคาซัคสถาน และก๊าซธรรมชาติในกรณีเติร์กเมนิสถาน รวมทั้งอุซเบกิสถาน ส่วนในกรณีของเคอร์กีซ 11 CIA. The World Factbook. Kazakhstan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world- factbook/fields/2050.html#kz. 12 CIA. The World Factbook. Uzbekistan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world- factbook/geos/uz.html 13 CIA. The World Factbook. Turkmenistan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world- factbook/geos/tx.html 14 CIA. The World Factbook. Kygyzstan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world- factbook/geos/kg.html. 15 The World Factbook. CIA. Tajikistan. ออนไลน์ https://www.cia.gov/library/publications/the-world- factbook/geos/ti.html.
  • 24. 14 สถานและทาจิกิสถานสองประเทศซึ่งไม่มีทรัพยากรพลังงานมากนัก จึงส่งออกไปยังจีนไม่มากนัก ส่วน ใหญ่ได้แก่พวกสินค้าเกษตร เป็นหลัก ด้านการลงทุน ภาพรวมของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) ในเอเชีย กลางนั้น มีสองส่วนหลัก ส่วนแรกคือการลงทุนในการนาทรัพยากรธรรมชาติจากภูมิภาคดังกล่าว มาใช้ ที่สาคัญคือ น้ามันและก๊าซธรรมชาติ แร่ที่เป็นโลหะและไม่ใช่โลหะ การสารวจหาแหล่งทรัพยากร เหล่านี้ และธุรกิจที่ต่อเนื่องได้แก่การแปรรูป/ขนถ่ายทรัพยากรเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ เช่น การทาเหมือง การถลุงแร่ การแปรรูปน้ามันและก๊าซธรรมชาติ (อุตสาหกรรมเคมี) และการลงทุนสร้างโครงสร้างในการ ขนถ่ายพลังงานเหล่านี้สู่ประเทศผู้ใช้ (การสร้างท่อส่งน้ามันและก๊าซ) การลงทุนในกิจการเหล่านี้คิดเป็น ราวครึ่งหนึ่ง (50%) ของ FDI ในทุกประเทศเอเชียกลาง (ยกเว้นทาจิกิสถาน) ผลผลิตจากกิจการที่ เงินทุนเหล่านี้ไปลงส่วนใหญ่มักส่งออกไปยังประเทศภายนอก อีกส่วนสาคัญของการลงทุน FDI จากต่างประเทศในเอเชียกลางเข้าไปยังภาคส่วนที่รองรับ ตลาดภายในภูมิภาค เช่น การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ การค้า การเงิน การก่อสร้าง และการสื่อสาร การลงทุนในส่วนนี้สูงเป็นพิเศษในประเทศเคอร์กีซสถานและทาจิกิสถาน ซึ่งไม่มีแหล่งน้ามันหรือก๊าซ ธรรมชาติมากนัก การลงทุน FDI ในภาคเกษตรในเอเชียกลางนั้นแทบไม่ปรากฏ จีนเป็นผู้ลงทุน FDI อันดับ 1 ใน 3 ประเทศของเอเชียกลาง คือ เคอร์กีซสถาน (24 เปอร์เซ็นต์) เติร์กเมนิสถาน (39 เปอร์เซ็นต์) และทาจิกิสถาน (21 เปอร์เซ็นต์) และเป็นผู้ลงทุนอันดับ 5 ใน คาซัคสถาน (4.6 เปอร์เซ็นต์) และอันดับ 6 ในอุซเบกิสถาน (4 เปอร์เซ็นต์) ตามตารางที่ 2-6 ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์ ล้านดอลลาร์สหรัฐ 1 เนเธอร์แลนด์ 37 7,655 2 สหรัฐอเมริกา 16 3,423 3 สวิตเซอร์แลนด์ 12 2,589 4 ฝรั่งเศส 5 1,137 5 จีน 4.6 960 6 รัสเซีย 4.2 867 7 เบลเยียม 3.4 710 8 สหราชอาณาจักร 3.3 684 9 ญี่ปุ่น 2.2 470 10 เกาหลีใต้ 1.7 358
  • 25. 15 ตารางที่ 2 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในคาซัคสถาน เมื่อปี 2016 ที่มา : National Bank of Kazakhstan. Gross inflow of direct investment in Kazakhstan from foreign direct investors: breakdown by countries. ออนไลน์ http://www.nationalbank.kz/?docid=469&switch=english ในจานวนเงิน FDI รวม 20,637 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2016 ที่ผ่านมานี้ 34 เปอร์เซ็นต์ เป็นการ ลงทุนในด้านการทาเหมืองพลังงานและแร่ธาตุอื่นๆ โดยเป็นการลงทุนในการขุดเจาะและนาน้ามันและ ก๊าซธรรมชาติมาใช้ 27 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ก็เป็นการลงทุนในการผลิตสินค้าประเภทต่างๆ อีก 18 เปอร์เซ็นต์16 ตารางที่ 3 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในเคอร์กีซสถาน เมื่อปี 2012 ที่มา National Statistical Committee of the Kyrgyz Republic. Structure of Foreign Direct Investment Inflows to the Kyrgyz Republic, 2012 https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting-central- asia-economic-centers-final-report.pdf 37 เปอร์เซ็นต์ของ FDI ในประเทศเคอร์กีซสถาน คือ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และการผลิต สินค้าอุปโภคบริโภค 21 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในอุตสาหกรรมถลุงแร่โลหะต่างๆ และ 12 เปอร์เซ็นต์ คือ การลงทุนในกิจการด้านน้ามันและก๊าซธรรมชาติ 16 National Bank of Kazakhstan. Gross inflow of direct investment in Kazakhstan from foreign direct investors: breakdown by residents' types of economic activities. ออนไลน์ http://www.nationalbank.kz/?docid=469&switch=english ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1 จีน 24 2 แคนาดา 22 3 สหราชอาณาจักร 12 4 คาซัคสถาน 6 5 เยอรมัน 6 6 เกาหลีใต้ 5 7 รัสเซีย 4
  • 26. 16 ตารางที่ 4 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในทาจิกิสถาน เมื่อปี 2012 ที่มา Statistical Agency of the Republic of Tajikistan. Structure of Foreign Direct Investment Inflows to Tajikistan, 2012. ออนไลน์ https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting-central- asia-economic-centers-final-report.pdf 19 เปอร์เซ็นต์ของ FDI ในทาจิกิสถาน คือการลงทุนในกิจการเหมืองแร่ 18 เปอร์เซ็นต์คือ การลงทุนในด้านการสื่อสาร 14 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนด้านการเงิน การลงทุนด้านการเจาะ สารวจแหล่งพลังงานและแร่ธาตุ คิดเป็น 7 เปอร์เซ็นต์ การลงทุนในการก่อสร้าง คิดเป็น 7 เปอร์เซ็นต์เช่นกัน และอีก 6 เปอร์เซ็นต์เป็นการลงทุนด้านการผลิตและส่งกระแสไฟฟ้า ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1 จีน 21 2 รัสเซีย 18 3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 17 4 สหราชอาณาจักร 16 5 อิหร่าน 7 6 ตุรกี 5
  • 27. 17 ตารางที่ 5 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในเติร์กเมนิสถาน เมื่อปี 2012 ที่มา Financial Times fDi Intelligence (2013) Structure of Foreign Direct Investment Inflows to Turkmenistan, 2012. ออนไลน์ https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting- central-asia-economic-centers-final-report.pdf 26 เปอร์เซ็นต์ ของ FDI ในปี 2012 อยู่ที่การลงทุนในกิจการด้านการขุดเจาะพลังงานน้ามันและ ก๊าซธรรมชาติ 27 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในการขนส่งพลังงาน 25 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนใน อุตสาหกรรมเคมี 24 เปอร์เซ็นต์คือ การลงทุนในด้านการแปรรูป (processing) พลังงาน ตารางที่ 6 ประเทศต่างๆ ที่ลงทุน FDI ในอุซเบกิสถาน เมื่อปี 2012 ที่มา Financial Times fDi Intelligence (2013) Structure of Foreign Direct Investment Inflows to Uzbekistan, 2012. ออนไลน์ https://www.adb.org/sites/default/files/publication/159307/adbi-connecting-central- asia-economic-centers-final-report.pdf 30 เปอร์เซ็นต์ของการลงทุน FDI ในประเทศอุซเบกิสถานเมื่อปี 2012 คือ การแปรรูปพลังงาน น้ามันและก๊าซธรรมชาติ 28 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในอุตสาหกรรมเคมี 15 เปอร์เซ็นต์คือ การลงทุนใน การขุดเจาะพลังงานน้ามันและก๊าซธรรมชาติ 11 เปอร์เซ็นต์คือการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิตสินค้า อื่นๆ ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1 จีน 39 2 รัสเซีย 16 3 กลุ่มประเทศอ่าว เปอร์เซีย 12 4 ตุรกี 9 5 แคนาดา 8 ลาดับ ประเทศ เปอร์เซ็นต์ 1 รัสเซีย 37 2 เกาหลีใต้ 21 3 สหรัฐอเมริกา 9 4 อาเซียน 7 5 กลุ่มประเทศอ่าว เปอร์เซีย 5 6 จีน 4
  • 28. 18 บทบาทด้านพลังงาน ภาพที่ 10 ท่อส่งน้ามันและก๊าซธรรมชาติจากเอเชียกลางสู่จีน ที่มาภาพ https://www.stratfor.com/image/map-central-asia-china-energy-infrastructure บทบาทด้านพลังงานน้ามัน จากข้อมูลของ US. Energy Information Administration (EIA) ในปี 2015 จีนเป็นประเทศที่ บริโภคน้ามันประมาณ 13 เปอร์เซ็นต์ของการบริโภคน้ามันในโลก สูงเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจาก สหรัฐอเมริกา (ซึ่งบริโภคน้ามันอยู่ที่ 20 เปอร์เซ็นต์ของโลก)17 และเป็นประเทศผู้นาเข้าน้ามันดิบมาก ที่สุดของโลก แซงหน้าสหรัฐอเมริกาอย่างช้าตั้งแต่ปี 201618 เดิมนั้นจีนก็เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ใน โลก ที่นาเข้าพลังงานจากตะวันออกกลางเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม ความไร้เสถียรภาพในภูมิภาคนั้น ประกอบกับการต้องพึ่งพาการขนส่งพลังงานดังกล่าวทางเรือผ่านน่านน้าที่สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ควบคุม 17 US. Energy Information Administration. What countries are the top producers and consumers of oil?. ออนไลน์ https://www.eia.gov/tools/faqs/faq.php?id=709&t=6. 18 Daniel Workman. Crude Oil Imports by Country. World’s Top Exports. ออนไลน์ http://www.worldstopexports.com/crude-oil-imports-by-country/
  • 29. 19 ทาให้จีนรู้สึกถึงความไม่มั่นคงทางพลังงาน และพยายามกระจายแหล่งนาเข้าพลังงานของตนไปยังที่ อื่นๆ ซึ่งแน่นอนว่าภูมิภาคเอเชียกลาง ในฐานะที่อุดมด้วยพลังงานทั้งน้ามันและก๊าซธรรมชาติ รวมทั้ง แร่ธาตุอื่นๆ และยังเป็นเพื่อนบ้านของจีน ก็เป็นหนึ่งในแหล่งพลังงานทางเลือกนั้น สาหรับบทบาทหลักด้านน้ามันของจีนในเอเชียกลางนั้น อยู่ในคาซัคสถานเป็นหลัก คาซัคสถาน มีปริมาณน้ามันสารองเป็นอันดับที่ 11 ของโลก และในปี 2016 ส่งออกน้ามันดิบเป็นอันดับที่ 12 ของ โลก19 (แต่มิได้เป็นสมาชิก OPEC)20 และเป็นประเทศที่ส่งออกน้ามันกินมูลค่าถึง 48 เปอร์เซ็นต์ของการ ส่งออกของประเทศในปี 201521 โดยจีนเข้าไปประมูลสัมปทานสารวจและขุดเจาะน้ามันในแหล่งน้ามัน แห่งต่างๆ ของคาซัคสถาน เช่น ในปี 2005 บรรษัทน้ามันแห่งชาติของจีน (China National Petroleum Corporation: CNPC) ชนะการประมูลเข้าซื้อกิจการของบริษัท PetroKazakhstan บริษัทน้ามันสัญชาติ แคนาดาที่ผลิตน้ามันในคาซัคสถาน ด้วยจานวนเงินกว่า 4.2 พันล้านเหรียญสหรัฐ และเมื่อถึงปี 2008 จีนก็เข้าไปดาเนินการผลิตน้ามันกว่า 1 ใน 3 ของคาซัคสถานแล้ว แกนหลักของการเข้าไปเอาน้ามันจากคาซัคสถานของจีนอยู่ที่ “ท่อส่งน้ามันคาซัคสถาน-จีน” (ดูภาพที่ ) ซึ่งถือเป็นท่อส่งน้ามันตรงท่อแรกและท่อที่สาคัญที่สุดจากเอเชียกลางสู่จีน มีความยาวราว 3,000 กม. นาน้ามันดิบจากแหล่งผลิตในทะเลแคสเปียนบริเวณเมือง Atyrau ฝั่งตะวันตกสุดของ คาซัคสถาน ข้ามมาเข้าสู่จีนทางตะวันตก ไปสู่โรงกลั่นที่มณฑลซินเจียง โดย CNPC เข้าไปลงนามใน สัญญาสร้างท่อส่งน้ามันดังกล่าวกับคาซัคสถาน ตั้งแต่ปี 1999 ปัจจุบัน ท่อส่งน้ามันสาย Atyrau- Alashankou อยู่ในความดูแลร่วมกันของ CNPC กับ KazMunaiGaz รัฐวิสาหกิจน้ามันของคาซัคสถาน 19 Daniel Workman. Crude Oil Exports by Country. World’s Top Exports. ออนไลน์ http://www.worldstopexports.com/worlds-top-oil-exports-country/. 20 OPEC. Annual Statistical Bulletin 2016 .ออนไลน์ http://www.opec.org/opec_web/en/publications/202.htm. 21 The Observatory of Economic Complexity. Kazakhstan. ออนไลน์ http://atlas.media.mit.edu/en/profile/country/kaz/
  • 30. 20 ภาพที่ 11 แหล่งนาเข้าน้ามันดิบของจีนในปี 2014 ที่มาภาพ https://www.eia.gov/beta/international/analysis.cfm?iso=CHN ในปี 2014 ในจานวนน้ามันดิบที่จีนนาเข้าทั้งหมด มาจากคาซัคสถานประมาณ 2 เปอร์เซ็นต์ ซึ่ง แม้จะยังน้อยอยู่เมื่อเทียบกับการนาเข้าจากแหล่งอื่นๆ แต่มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้น ในเดือนกันยายน 2013 เมื่อสีจิ้นผิงเยือนคาซัคสถานและประกาศแผนการ OBOR ทางบกครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยนาซาร์บาเยฟ นั้น จีนกับคาซัคสถานก็ได้ลงนามในสัญญาหลายฉบับเกี่ยวกับข้อตกลงด้านน้ามันและก๊าซ ซึ่งมีมูลค่า รวมกว่า 3 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ22 ดังนั้น สัดส่วนการนาเข้าน้ามันและพลังงานอื่นๆ จากคาซัคสถาน เข้าสู่จีนจึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เมื่อโครงการสร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายพลังงานระหว่างจีนกับเอเชียกลาง พัฒนาไปมากขึ้นภายใต้ความก้าวหน้าของ OBOR 22 Bernado Mariani. China’s Role and Interests in Central Asia. Saferworld. ออนไลน์ file:///C:/Users/DELL/Downloads/chinas-role-and-interests-in-central-asia.pdf.