SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  99
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือสําหรับผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบื ้องต้ น
่
สําหรับบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรับปรุง 2554
มาตรการคัด
กรองปัญหาการ
ดื่มสุราและการ
บําบัดแบบสั้น

มาตรการ
บําบัดรักษาภาวะ
ถอนพิษสุรา

มาตรการดูแล
ระยะยาวหลัง
การรักษา

มาตรการ
บําบัดรักษาและ
ฟื้นฟูสภาพ
สถานการณ์ปัญหาการดื่มสุ รา

คู่มือสําหรั บผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบืองต้ น
้
สําหรั บบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรั บปรุ ง 2554
ปริมาณการดื่มสุราทั่วโลกเปรียบเทียบเป็นแอลกอฮอล์
บริสุทธิ์ต่อประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปต่อปี

Per capita
consumption (litres)
< 2.5
2.50-4.99
5.00-7.49
7.50-9.99
10.00-12.49
>12.50

Data not available/applicable

WHO Global Status Report on Alcohol and Health 2010
คะแนนลักษณะการดื่ม
(Pattern of Drinking Score)

Drinking Patterns
Mostly risky drinking pattern
Least risky drinking pattern
Data not available/applicable

WHO Global Status Report on Alcohol and Health 2010
่
จํานวนคนไทยที่ดื่มสุ ราใน 12 เดือนที่ผานมา
รายงานการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย
ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552
ความชุกของความผิดปกติพฤติกรรมดื่มสุ ราในคนไทย

การสํารวจระบาดวิทยาระดับชาติ; 2551. กรมสุขภาพจิต.
สถานการณ์ดานผลกระทบ
้
ของการดื่มสุ รา

คู่มือสําหรั บผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบืองต้ น
้
สําหรั บบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรั บปรุ ง 2554
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ปริมาณ

รูปแบบการ
ดื่ม

โรคเรื้อรัง

คุณภาพของ
เครื่องดื่ม
การบาดเจ็บ
และอุบัติเหตุ

ผลลัพธ์ต่อสุขภาพ
เหตุของการเสียชีวิต
ผลกระทบต่อสุ ขภาพ
กลุมโรคที่เกิดจากแอลกอฮอล์โดยตรง เช่น Alcoholic psychosis, 
่
Alcohol dependence, Alcohol abuse,                   
Alcoholic polyneuropathy, Alcoholic 
cardiomyopathy,          Alcoholic gastritis, 
Alcoholic liver cirrhosis

กลุ่มโรคที่ได้รับอิทธิพลจากแอลกอฮอล์ เช่น cancer, stroke,
Hypertension, Cardiac arrhythmias, Heart failure,
Fetal Alcohol Syndrome, Depression
กลุ่มผลกระทบต่อสุขภาพแบบฉับพลัน เช่น Accidental injury,
Poisoning, Suicide, Interpersonal violence and assaults
โรคที่มีเหตุเสียชีวิตจากแอลกอฮอล์
6.0% กลุ่มโรคประสาทและจิตเวช
14.0% โรคหลอดเลือด
และหัวใจ และเบาหวาน

12.0% อุบัติเหตุ
แบบตั้งใจ

21.6% มะเร็ง

16.6% ตับแข็ง

29.6% อุบัติเหตุ
แบบไม่ตั้งใจ

0.1% คลอดก่อนกําหนดและ
WHO Global Status Report on Alcohol and Health 2010 น้ําหนักแรกคลอดต่ํากว่าเกณฑ์
DALY: Disability-Adjusted Life Years
หน่วยวัดที่รวมปัญหาจากการตายก่อนวัยอันควร กับ การอยู่อย่างทุพลภาพ
Death/Life expectancy

death

80 yr
Years lost due to
premature death (YLLs)
40 yr
Years lived with disability
(YLDs)
20 yr

ill
birth

DALY =YLL +YLD

0 yr
Causes of Disability Burden in YLDs 
by Sex, Thailand 2004
YLD
Male
Rank
Disease
1 Alcohol dependence/harmful use
2 Depression
3 Schizophrenia
4 Deafness
5 Anaemia
6 Osteoarthritis
7 Asthma
8 Diabetes
9 Drug dependence/harmful use
10 Cataracts

Female
YLD
%
('000)
314 17.9
137
7.8
110
6.2
105
6.0
85
4.8
79
4.5
77
4.4
73
4.1
71
4.0
61
3.5

%
11.9
7.2
6.9
6.8
6.8
6.7
6.3
5.4
4.9
4.4

YLD
('000)
191
117
111
110
110
108
101
86
79
71

Disease
Depression
Osteoarthritis
Cataracts
Deafness
Anaemia
Schizophrenia
Anxiety disorders
Diabetes
Asthma
Dementia
Causes of Disability Adjusted Life Year 
(DALYs) by Sex, Thailand 2004
DALY
Male
Rank

Disease

1 HIV/AIDS
2 Traffic accidents
3 Stroke
4 Alcohol dependence/harmful use
5 Liver and bile duct cancer
6 COPD
7 Ischaemic heart disease
8 Diabetes
9 Cirrhosis
10 Depression

Female
DALY
%
('000)
645 11.3
584 10.2
332
5.8
332
5.8
280
4.9
187
3.3
184
3.2
175
3.1
144
2.5
137
2.4

%
7.4
6.9
6.4
4.6
3.4
3.0
3.0
2.8
2.7
2.6

DALY
Disease
('000)
313 Stroke
291 HIV/AIDS
271 Diabetes
191 Depression
142 Ischaemic heart disease
125 Traffic accidents
124 Liver and bile duct cancer
118 Osteoarthritis
115 COPD
111 Cataracts
ภาระโรคและการบาดเจ็บที่เกี่ยวกับแอลกอฮอล์
38.8% กลุ่มโรค
ประสาทและจิตเวช

9.6% ตับแข็ง

26.3% อุบัติเหตุ
แบบไม่ตั้งใจ

6.2% โรคหลอด
เลือดและหัวใจ
และเบาหวาน

0.2% คลอดก่อนกําหนดและ
น้ําหนักแรกคลอดต่ํากว่าเกณฑ์
8.1% มะเร็ง
10.8% อุบัติเหตุ
แบบตั้งใจ

WHO Global Status Report on Alcohol and Health 2010
สถานการณ์การดูแลผูมีปัญหาการดื่มสุ รา
้
ในระบบสุ ขภาพ

คู่มือสําหรั บผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบืองต้ น
้
สําหรั บบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรั บปรุ ง 2554
ปัญหาการดื่มสุ ราในสถานบริ การสุ ขภาพ
Review prevalence of alcohol use disorders in general hospital

OPD : 20% ‐ DM, HT
IPD : Male 30%; Female 8% 
ER : 29% alcohol related problems
Trauma: > 50% alcohol intoxication
ส่ วนใหญ่ไม่ได้รับการประเมินหรื อตรวจวินิจฉัยในปัญหาการดื่มสุ รา
และขาดการส่ งต่อเพื่อรับการรักษาอย่างเหมาะสม
สถานการณ์การปั ญหาการดื่มสุราและการเข้าถึงบริการ
รายงานข้ อมูล 8 โรค
ปี 2551

ข้ อมูลระบาดวิทยาของ
กรมสุขภาพจิต ปี 2551
1.2 ล้านคน

DEPRESSION

1.5 แสนคน

12.5 %

9.0 แสนคน

ANXIETY DISORDERS

3.4 แสนคน

37.7 %

5.3 ล้านคน

ALCOHOL USE DISORDERS

2.3%

1.2 แสนคน
(สารเสพติด)
สถานพยาบาลที่ให้บริ การ
ปี 2551 คนไทยอายุ 15-59 ปี มีปัญหาพฤติกรรมดื่มสุรา 5 ล้ านคน
โดยจัดว่าติดหล้ า 3 ล้ านคน
(การศึกษาระบาดวิ ทยาโรคจิ ตเวชโดยกรมสุขภาพจิ ต 2551)

คนไทยที่เข้ ารับการรักษาผู้ป่วยในด้ วยปั ญหาการดื่มสุรา 64,434
ราย ในปี 2551
(สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขปี 2551)

คนไทยเข้ ารับบริ การโรคจากสารเสพติด 117,233 คน ในปี 2551
(รายงานข้อมูล 8 โรค ทัวประเทศ ศูนย์สารสนเทศ กรมสุขภาพจิ ต ปี
่
อัตราการเข้าถึงบริการต่ํามาก
2551)
บทบาทของบุคลากรสุ ขภาพ
ในการดูแลผูมีปัญหาการดื่มสุ รา
้

คู่มือสําหรั บผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบืองต้ น
้
สําหรั บบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรั บปรุ ง 2554
แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการดื่มสุรา
การป้องกันแบบปฐมภูมิ : Universal
Education Empowerment

ประชาชนทั่วไป ผู้ไม่ดื่ม
social drinkers

Engineering Enforcement Environment

การป้องกันแบบทุติยภูมิ : Selected

ประชากรกลุ่มเสี่ยง

Screening

Hazardous drinkers
Harmful drinkers

Brief intervention

การป้องกันแบบตติยภูมิ : Indicated
Detoxification

ประชากรกลุ่มป่วย

Psychosocial Ix: MI, CBT, 12 step

Alcohol dependents

Relapse Prevention: Medication
Self-help Gr.

สาวิตรี อัษณางค์กรชัย 2546
สรุ ป
การดื่มสุรา ไม่เพียงแต่ก่อให้ เกิดปั ญหาส่วนบุคคลเท่านัน
้
แต่มีผลกระทบถึงครอบครัว สังคม สิงแวดล้ อม เศรษฐกิจ
่
การแก้ ไขปั ญหาการดื่มสุรา ไม่ใช่บทบาทของคนใดคนหนึง หรื อ
่
หน่วยงานใดหน่วยงานหนึง แต่เป็ นความรับผิดชอบร่วมกันทังผู้ดื่ม
่
้
บุคคลรอบข้ าง ชุมชน บุคลากรสุขภาพทุกระดับ บุคลากรด้ านกฎหมาย
นโยบาย สังคมสงเคราะห์ ฯลฯ
การดูแลแก้ ไขปั ญหาการดื่มสุรา ต้ องทําไปพร้ อมกันทังระบบ ไม่
้
สามารถแก้ ไขปั ญหาเพียงจุดใดจุดหนึงได้
่
โปรแกรมการดูแลผู้มปัญหาการดืมสุ ราในระบบสุ ขภาพ
ี
่
THE INTEGRATED MANAGEMENT FOR 
ALCOHOL INTERVENTION PROGRAM IN 
HEALTH SYSTEM: I‐MAP HEALTH
มาตรการคัด
กรองปัญหาการ
ดื่มสุราและการ
บําบัดแบบสั้น

มาตรการ
บําบัดรักษาภาวะ
ถอนพิษสุรา

มาตรการดูแล
ระยะยาวหลัง
การรักษา

มาตรการ
บําบัดรักษาและ
ฟื้นฟูสภาพ
1

2

3

4

มาตรการที่ 1
การจัดการระยะแรก

มาตรการที่ 2
การบําบัดภาวะถอนพิษสุรา

มาตรการที่ 3
การบําบัดรักษาและฟื้ นฟูสภาพ

การคัดกรอง
ปั ญหาการดื่มสุรา

การประเมินความเสี่ยง
การเกิดภาวะถอนพิษสุรา

การประเมินปั ญหาการดื่ม
สุราอย่างครอบคลุม

กลุมเพื่อนช่วยเหลือกันเอง
่
เพื่อปองกันการกลับดื่มซํ้า
้

การให้คาแนะนําหรือ
ํ
การบําบัดแบบสั้น

การเฝ้ าระวังความเสี่ยง
การเกิดภาวะถอนพิษสุรา

การรักษาด้วย
จิตสังคมบําบัด

การบําบัดสุราโดยองค์กร
ศาสนา (วิถีพทธ)
ุ

การรักษาภาวะ
ถอนพิษสุรา

การรักษาด้วยยา

การแก้ไขปั ญหาสุราโดย
การมีสวนร่วมของชุมชน
่

การประเมิน/รักษาภาวะ
โรคร่วม/แทรกซ้อนทางกาย

การช่วยเหลือด้าน
ครอบครัว

กลุมผูตดสุรานิรนาม
่ ้ ิ
(Alcoholic Anonymous)

การบําบัดแบบสั้น หลังผ่าน
การรักษาภาวะถอนพิษสุรา

มาตรการที่ 4
การดูแลระยะยาวหลังการรักษา

การบําบัดเชิงรุกในชุมชน
(PACT MODEL)
สถานพยาบาลเฉพาะทาง
2 3

1

4

1

2

3

4

1

2

3

โรงพยาบาลทั ่วไป

โรงพยาบาลชุมชน

สถานีอนามัย/PCU

1

ผูตดสุรา (alcohol
้ ิ
dependence)

4

ผูดื่มแบบอันตราย
้
(harmful use)
4

2

ผูดื่มแบบเสี่ยง
้
(hazardous use)
3
ผูไม่ดื่ม (abstinence)
้
Intervention

Alcohol 
screening
Brief 
intervention
Detoxification
Alcohol

ร.พ. PCU ชุมช
ร.พ.
ทัวไป/ศูนย์ ชุมชน
น
่
ต้องทํา ต้องทํา ต้องทํา น่าทํา
ต้องทํา

ต้องทํา ต้องทํา น่าทํา

ต้องทํา
ต้องทํา

ต้องทํา
ต้องทํา

-

‐

‐

‐
มาตรการที่ 1
มาตรการคัดกรองปัญหาการดืมสุ ราและบําบัดแบบสั้ น
่
(ALCOHOL SCREENING AND BRIEF 
INTERVENTION)
มาตรการคัด
กรองปัญหาการ
ดื่มสุราและการ
บําบัดแบบสั้น

มาตรการ
บําบัดรักษาภาวะ
ถอนพิษสุรา

มาตรการดูแล
ระยะยาวหลัง
การรักษา

มาตรการ
บําบัดรักษาและ
ฟื้นฟูสภาพ
กลุ่มเป้ าหมาย ผูให้บริ การ และกิจกรรมบริ การ
้
กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อปัญหาการดื่มสุรา เช่น ผู้ป่วยอุบัติเหตุ ผู้ป่วยโรคทางกายที่
สัมพันธ์กับปัญหาการดื่มสุรา เช่น ผู้ป่วยตับแข็ง กระเพาะอักเสบ
ผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร และผู้สูงอายุ
ผู้ให้บริการ
บุคลากรสุขภาพทุกระดับ
อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนําชุมขน นักเรียน นักศึกษา ที่ผ่านการอบรม

กิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 การคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา (Alcohol screening)
กิจกรรมที่ 2 การให้คําแนะนํา/ปรึกษาเบื้องต้น (Brief Intervention)
ลักษณะพฤติกรรมการดื่ม
The Drinkers’ pyramid

5%

• ผู้ดื่มแบบติด (Alcohol dependence)

20%

• ผู้ดื่มแบบอันตราย (Harmful drinking)
• ผู้ดื่มแบบเสี่ยง (Hazardous drinking)

35%

• ผู้ดื่มแบบมีความเสี่ยงต่ํา
(Low risk drinker)

40%

• ผู้ไม่ดื่ม (Abstainer)
WHO 2001
ลักษณะพฤติกรรมการดื่มของคนไทย
The Drinkers’ pyramid

2.2%
3.3%
23.6%
71.2%

• ผู้ดื่มแบบติด
(Alcohol dependence)
AUDIT > 20
• ผู้ดื่มแบบอันตราย
(Harmful drinking)
AUDIT 16-19
• ผู้ดื่มแบบเสี่ยง
(Hazardous drinking)
AUDIT 8-15
• ผู้ดื่มแบบมีความเสี่ยงต่ํา
(Low risk drinker)
AUDIT 0-7

ที่มา: สถานภาพการบริโภคสุรา พ.ศ. 2550, คณะกรรมการบริหารเครือข่ายวิชาการสารเสพติด
1. การดื่มแบบมีความเสี่ยงต่ํา: Low Risk Drinking
ไม่ดื่มสุรามากกว่า 2 ดื่มมาตรฐาน ต่อวัน
เหล้า 35%: 60 cc (4 ฝา)
ไวน์ 12%: 2 แก้ว
เบียร์ 5%: 1.5 กระป๋ อง

ไม่ดื่มมากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์ หรื อ ใน 1 สัปดาห์ตองมีวนที่ไม่ดื่มเลย
้
ั
อย่างน้อย 2 วัน
แม้ วาปริ มาณสุราเพียงเล็กน้ อยก็สามารถสร้ างความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ ้น
่
ในบางสถานการณ์ได้
WHO 2001
2. การดื่มแบบเสี่ยง: Hazardous/Risky Drinking
หมายถึงรู ปแบบการดื่มในปริ มาณหรื อลักษณะที่ทาให้ผดื่ม
ํ ู้
เพิ่มความเสี่ ยงที่จะเกิดผลเสี ย
ในด้านสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิต และสังคม
ทั้งต่อตัวเองหรื อต่อผูอื่น
้
่ ้
แม้วาตัวผูดื่มจะยังไม่ป่วยด้วยโรคใด ๆ
Public health significant
WHO 2001
ความหมายของดื่มมาตรฐาน
(STANDARD DRINK)
1 drink= alcohol 10 gram
เหล้าแดง (35%) : วิสกี้ 2 ฝาใหญ่ (30cc) = 1 DRINK
1 แบน = 350 cc

1 ขวด = 700 cc

เหล้าขาว (40%)
1 เป๊ก/ตอง/ก๊ง:
¼ แบน: 3 DRINKS ¼ ขวด: 6 DRINKS
50 cc =1.5 DRINK
½ แบน: 6 DRINKS ½ ขวด: 12DRINKS
1 แบน: 12 DRINKS 1 ขวด: 24 DRINKS
ความหมายของดื่มมาตรฐาน
(STANDARD DRINK)
1 drink= alcohol 10 gram
เบียร์ (3.5 %) 1 กระป๋อง/ขวดเล็ก เช่น สิงห์ไลท์= 1 DRINK
เบียร์ (5%) 3/4 กระป๋อง/ขวดเล็ก = 1 DRINK
เช่น สิงห์ เฮเนเกน ลีโอ เชียร์ ไทเกอร์ ช้างดราฟ
เบียร์ 5% 1 ขวดใหญ่: 2.5 DRINKS
เบียร์ (6.4%) เช่น ช้าง 1/2 กระป๋อง หรือ 1/3 ขวดใหญ่= 1 DRINK
ความหมายของดื่มมาตรฐาน
(STANDARD DRINK)
1 drink= alcohol 10 gram
ไวน์ธรรมดา (alcohol 12%) 1 แก้ว (100 cc) = 1 DRINK
ไวน์คูเลอร์ (alcohol 4%) 1 ขวด (330 cc) = 1 DRINK
ความหมายของดื่มมาตรฐาน
(STANDARD DRINK)
1 drink= alcohol 10 gram
น้ําขาว อุ กระแช่ (alcohol 10%) 3 เป๊ก/ตอง/ก๊ง (50 cc) = 1 DRINK
สาโท สุราแช่ สุราพื้นเมือง (alcohol 6%) 4 เป๊ก/ตอง/ก๊ง (50 cc) = 1 DRINK

เหล้าปั่น (เหล้าผสมน้ําหวานกลิ่นผลไม้ใส่น้ําแข็ง)
มีสุรา (alcohol 40%) 3 shot (45 cc) = 1.5 DRINK
2. การดื่มแบบเสี่ยง: Hazardous/Risky Drinking
ปริมาณต่อวัน: ชาย > 5 DRINKS; หญิง > 4 DRINKS

เหล้า (35%) ครึ่งแบน
ไวน์ (12%) ¾ ขวด
เบียร์ (5%) 4 กระป๋อง หรือ 4 ขวดเล็ก หรือ 2 ขวดใหญ่
3. การดื่มแบบอันตราย : Harmful Drinking
หมายถึงการดื่มแอลกอฮอล์จนได้ รับผลเสียตามมา
◦ ผลเสียต่อสุขภาพทังสุขภาพกายและสุขภาพจิต
้
◦ ผลเสียทางสังคม : การทํางาน สัมพันธภาพกับคนอื่น
ผู้ดื่มในกลุมนี ้
่
เคยประสบปั ญหาทางร่างกายและจิตใจเนื่องจากการดื่มสุราเกินเกณฑ์
มาตรฐานเป็นประจํามาแล้ ว และ/หรื อ
ได้ รับบาดเจ็บ เกิดความรุนแรง มีปัญหาทางกฎหมาย บกพร่องใน
สมรรถภาพการทํางานหรื อเกิดปั ญหาสังคมเนื่องมาจากการเมาบ่อยๆ
WHO 2001
3. Harmful Drinking/Alcohol Abuse (DSM-IV)
ในช่วง 12 เดือนที่ผานมา ผู้ป่วยดื่มสุราซํ ้า ๆ จนทําให้ เกิดปั ญหาเหล่านี ้หรื อไม่
่
ความล้มเหลวในบทบาทหน้าที่
(ที่บ้าน ทํางาน โรงเรียน)
ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ อันตราย
(เมาแล้วขับ ทํางานกับเครื่องจักร)
มีปัญหาทางกฎหมาย (ถูกจับกุม ทําผิดกฎหมาย)
มีปัญหาสัมพันธภาพ (ครอบครัว เพื่อน)

Role Failure
Risk of Body Harm
Run-in with the Law
Relationship trouble

ถ้าตอบว่า ใช่ ตั้งแต่ 1 ข้อขึ้นไป ถือว่ามีปัญหา ALCOHOL ABUSE
4. การติดสุรา : Alcohol Dependence
ลักษณะที่สาคัญอย่างน้อยสามในเจ็ดอย่างต่อไปนี้
ํ

1. TOLERANCE : ต้องเพิ่มปริ มาณการดื่มมากขึ้นจึงจะได้ฤทธิ์เท่าเดิม
2. WITHDRAWAL: มีอาการทางร่ างกายเมื่อไม่ได้ดื่ม
3. IMPAIRED CONTROL: ควบคุมการดื่มไม่ได้
4. CUT DOWN: มีความต้องการอยูเ่ สมอที่จะเลิกดื่มหรื อ
พยายามหลายครั้งแล้ว แต่ไม่สาเร็ จ
ํ
5. TIME SPENT DRINKING: หมกมุ่นกับกับการดื่มหรื อการหาสุ รามาสําหรับดื่ม
6. NEGLECT OF ACTIVITY: มีความบกพร่ องในหน้าที่ทางสังคม
อาชีพการงาน หรื อการพักผ่อนหย่อนใจ
่ ั
7. DRINKING DESPITE PROBLEMS: ยังคงดื่มอยูท้ งๆที่มีผลเสี ยเกิดขึ้นแล้ว DSM-IV
ปั ญหาการดื่มสุ ราที่พบบ่อย

คู่มือสําหรั บผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบืองต้ น
้
สําหรั บบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรั บปรุ ง 2554
ALCOHOL‐RELATED DISORDERS
พฤติกรรมการดื่มที่ผิดปกติ
Alcohol Use Disorders
ความผิดปกติทางพฤติกรรม/จิตใจที่เกิดจากสุรา
Alcohol-Induced Disorders
โรคทางกายที่สัมพันธ์กับสุรา
Alcohol related physical illness
1. ALCOHOL USE DISORDERS
F10.1

Alcohol Abuse/ Harmful use

F10.2

Alcohol Dependence

DSM-IV
2. ALCOHOL‐INDUCED DISORDERS
F10.0

Alcohol intoxication*

F10.3
F10.4
F10.5
F10.6
F10.73
F10.8

Alcohol withdrawal
Alcohol withdrawal delirium
Alcohol- induced psychotic disorder
Alcohol-induced persisting amnestic disorder
Alcohol-induced persisting dementia
Alcohol-induced mood disorder/anxiety disorder/
sexual dysfunction/sleep disorder
* ยกเว้นภาวะ Alcohol Intoxication ที่พบได้ในผู้ดื่มทั่วไป
3. โรคทางกายที่สัมพันธ์กับการดื่มสุรา
E24.4
G31.2

Alcohol-induced pseudo-Cushing's syndrome
Degeneration of nervous system due to alcohol

G40.5
K29.2
K70.3
K70.4
K85.2
K86.0
Q86.0
T51

Epileptic seizures related to alcohol
Alcoholic gastritis
Alcoholic cirrhosis of liver
Alcoholic hepatic failure
Alcohol-induced acute pancreatitis
Alcohol-induced chronic pancreatitis
Fetal alcohol syndrome
Toxic effect of alcohol
สถานบริ การที่ควรมีการคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา
สถานบริการ
สถานพยาบาลปฐมภูมิ
ห้องฉุกเฉิน
ห้องตรวจแพทย์
ตึกผู้ป่วยในทั่วไป
คลินิกผู้ป่วยนอก

โรงพยาบาลจิตเวช

กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ป่วยทั่วไป
ผู้ป่วยอุบัติเหตุ ผู้ป่วยเมา
สุรา ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
ผู้ป่วยทั่วไป

บุคลากร
พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์
แพทย์ พยาบาล หรือบุคลากร
สุขภาพ
แพทย์เวชปฏิบัติ แพทย์เวชศาสตร์
ครอบครัว หรือบุคลากรสุขภาพ
อายุรแพทย์ แพทย์เวชปฏิบัติ หรือ
บุคลากรสุขภาพ

ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจ โรคกระเพาะ
อาหารและลําไส้ หรือโรค
ทางระบบประสาท
ผู้ป่วยจิตเวช โดยเฉพาะผู้มี จิตแพทย์ หรือบุคลากรสุขภาพ
ความเสี่ยงฆ่าตัวตาย
สถานบริ การที่ควรมีการคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา
สถานบริการ
ศาล คุก เรือนจํา

กลุ่มเป้าหมาย
ผู้ต้องคดีขับขี่ขณะเมาสุรา
ผู้ต้องคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรง

บุคลากร
เจ้าหน้าที่สืบเสาะคดีหรือผู้ให้
คําปรึกษา

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ บุคคลที่มีปัญหาทางสังคม หรือ บุคลากรของหน่วยงานพัฒนา
สุขภาพ
อาชีพการงาน (เช่น มีปัญหาชีวิต สังคมและมนุษย์
สมรส เด็กที่ถูกทอดทิ้ง เป็นต้น)
ค่ายทหาร

ทหารเกณฑ์ หรือ นายทหาร

แพทย์ หรือบุคลากรฝ่าย
การแพทย์
หน่วยงานดูแลพนักงาน พนักงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่มี เจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล หรือ
ในสถานประกอบการ ปัญหาประสิทธิภาพการทํางาน เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในที่
ขาดงาน หรือ อุบัติเหตุ
ทํางาน
กลุ่มเป้ าหมายที่ควรได้รับการคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา
ผู้ป่วยทุกคนที่อายุ 15 ปี ขึ ้นไปที่เข้ ารับบริ การสุขภาพที่หน่วยบริ การสุขภาพ
โดยเฉพาะกลุมเสี่ยง ได้ แก่
่
– ผู้ป่วยอุบติเหตุ
ั
– ผู้ป่วยวัยรุ่นชาย
– ผู้ป่วยโรคทางกายที่สมพันธ์กบปั ญหาการดื่มสุรา
ั
ั
– ผู้ป่วยจิตเวช/ยาเสพติด
NIAAA, 2003
– ผู้ป่วยโรคเรื อรัง
้
– หญิงตังครรภ์หรื อให้ นมบุตร
้
– ผู้สงอายุ
ู
วิธีการคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา
การคัดกรองโดยใช้ แบบรายงานตนเอง (self‐report techniques) 
หรื อแบบสอบถาม(Screening questionnaires)
เครื่ องมือคัดกรองทางชีวภาพ (Biological screening tests)
 การหาระดับแอลกอฮอล์ในเลือด (BAC) การตรวจระดับแอลกอฮอล์ใน
ลมหายใจหรื อนํ ้าลาย
 การตรวจระดับ gammaglutamyl transferase (GGT) 
และ mean corpuscular volume (MCV)
การคัดกรองทางคลินิก (Clinical Screening Procedures)
เครื่ องมือคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา

คู่มือสําหรั บผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบืองต้ น
้
สําหรั บบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรั บปรุ ง 2554
เครื่ องมือคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา : แบบสอบถาม
• “ในช่วงนี ้ (3 เดือนทีผ่านมา) คุณดืมเครื ่องดืมทีมีส่วนผสมของ
่
่
่ ่
แอลกอฮอล์ (สุรา) หรื อไม่”
• “ในช่วง 3 เดือนทีผ่านมา คุณเคยมี ครังหนึ่งครังใดทีดืมสุรา
่
้
้ ่ ่
มากกว่า 5 ดืมมาตรฐาน (เหล้าครึ่ งแบน/เบี ยร์ 4 กระป๋ องหรื อ
่
2 ขวดใหญ่) หรื อไม่”
• ตัวอย่างแบบคัดกรองปั ญหาการดื่มสุราที่ใช้ อย่างแพร่หลาย
เช่น Quantity‐ Frequency Questions, 
CAGE, AUDIT, T‐ACE, TWEAK
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา :
Quantity-frequency questionnaire
ความถี่: “โดยทัวไป คุณดื่มสุรากี่วนต่อสัปดาห์”                  
่
ั
ปริ มาณ : “ในแต่ละวันที่คณดื่ม คุณดื่มมากเท่าไร” X
ุ
คําตอบ positive: ผู้ชายดื่ม > 14 drink ต่อสัปดาห์
ผู้หญิงดื่ม > 7 drinks ต่อสัปดาห์
ปริมาณมากที่สุด :
“ในเดือนที่แล้ว ในวันที่คุณดื่มมากที่สุด คุณดื่มมากเท่าไร
คําตอบ positive: ” : ผู้ชายดื่ม > 4 drink ต่อวัน
ผู้หญิงดื่ม > 3 drinks ต่อวัน
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา : CAGE
C CUT DOWN
หรื อไม่
A ANNOYED
ดื่ม

คุณเคยคิดที่จะลดปริ มาณการดื่มของคุณลง
เคยมีใครทําให้คุณรําคาญโดยตําหนิคุณเรื่ องการ

สุ ราหรื อไม่
G GUILTY คุณเคยรู ้สึกไม่ดีหรื อรู ้สึกผิดเพราะว่า คุณดื่มสุ รา
หรื อไม่

E EYE-OPENER คุณเคยต้องดื่มสุ ราเป็ นสิ่ งแรกในตอนเช้าทันทีที่
คุณตื่นนอน เพื่อแก้อาการเมาค้าง หรื อเพื่อให้สามารถทําอะไรต่อไปได้
หรื อไม่
เครื่องมือคัดกรองปัญหาการดื่มสุรา : CAGE
ใน 1 ปี ที่ผานมา ถ้ าตอบ
่
“ใช่” ตังแต่ 2 ข้ อขึ ้นไป ผู้ป่วยอาจจะมี ภาวะติดสุรา
้
(Alcohol  dependence)
“ไม่” ทุกข้ อ ผู้ป่วยอาจจะยังมี ความเสี่ยง เพราะดื่มมาก
Sensitivity 43‐94% ; Specificity 85‐95%
for detecting alcohol abuse and alcohol dependence
เครื่ องมือคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา

คู่มือสําหรั บผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบืองต้ น
้
สําหรั บบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรั บปรุ ง 2554
เครื่ องมือคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา : AUDIT
• พัฒนาโดย WHO เพื่อเป็ นเครื่ องมือแบบง่าย ใช้ คดกรองผู้ที่ดื่มมาก
ั
เกินไปและสามารถให้ การช่วยเหลือได้
• Cross‐national standardization
• สามารถใช้ ได้ ใน primary care setting
• สามารถใช้ แบบ self‐rating หรื อใช้ โดยคนทัวไปได้ เน้ นการดื่มใน
่
ปั จจุบน
ั
• สามารถแยกกลุมผู้ดื่มแบบมีความเสี่ยง ดื่มแบบมีปัญหา และดื่มแบบ
่
ติดได้ มีข้อแนะนําถึงแนวทางการช่วยเหลือสําหรับแต่ละกลุมผู้ดื่ม
่
• ใช้ งาย สัน ยืดหยุนได้
่ ้
่
Domains of the AUDIT
Domains
Hazardous Alcohol Use

Dependence Symptoms

Harmful Alcohol Use

คําถามที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เนื้อหา
ความถี่ในการดื่ม
ปริมาณที่ดื่ม
ความถี่ในการดื่มหนัก
ไม่สามารถควบคุมการดื่ม
เพิ่มปริมาณการดื่ม
ดื่มตอนเช้า
รู้สึกผิดหลังจากดื่ม
Blackout
บาดเจ็บจากการดื่ม
ความเป็นห่วงจากการดื่ม
เครื่ องมือคัดกรองปั ญหาการดื่มสุ รา : AUDIT
จุดตัดคะแนนรวมได้ พิจารณาจาก
ค่าความไว: ร้ อยละของผู้ป่วยที่ได้ รับการคัดกรองว่าป่ วย
ค่าความจําเพาะ:ร้ อยละของผู้ที่ไม่ป่วยได้ รับการคัดกรองว่าไม่ป่วย
เพื่อแยกเป็ นกลุมดื่มแบบเสี่ยง (hazardous use)กลุมดื่มแบบ
่
่
อันตราย (harmful use) และกลุมดื่มแบบติด (dependence)
่
จุดตัดคะแนน AUDIT ที่ 8 คะแนนบ่งชี ้ว่าเป็ นการดื่มแบบมีปัญหาค่า
ความไวที่ประมาณ 0.95 และค่าความจําเพาะเฉลี่ย 0.80 
เครื่ องมือคัดกรองทางชีวภาพ
• การตรวจระดับแอลกอฮอล์ในร่างกาย

– การตรวจระดับของแอลกอฮอล์ในเลือด
(Blood alcohol concentration, BAC) 
– การตรวจระดับแอลกอฮอล์ในลมหายใจ

• การตรวจภาวะดื่มเกินระดับหรื อการดื่มแบบอันตราย
– Gamma glutamyl tranferase (GGT) serum 
GGT
– Mean corpuscular volume (MCV)
• การตรวจทางชีวภาพที่บอกถึงโรคตับที่เกิดจากการดื่มสุรา
– serum GGT, AST, ALT
สาวิตรี อัษณางค์กรชัย 2552
รูปแบบการบําบัดแบบสั้น
Risk
Zone
1
2
3
4

AUDIT

ระดับความรุนแรง
(Risk Level)

การให้ความช่วยเหลือ
(Intervention)

0-7

ดื่มแบบเสี่ยงต่ํา / ไม่ดื่ม
(Low Risk/Abstinence)

การให้ความรู้เรื่องการดื่มสุรา
(Alcohol education)

8 - 15

ดื่มแบบเสี่ยง
(Hazardous Drinker)

การให้คําแนะนําแบบสั้น
(Brief Advice)

16-19

ดื่มแบบอันตราย
(Harmful Drinker)

การให้คําแนะนําแบบสั้น (BA) และการให้
คําปรึกษาแบบสั้น (Brief Counseling)

20-40

สงสัยภาวะติดสุรา
(Alcohol Dependence)

ส่งไปพบแพทย์
เพื่อการวินิจฉัยและรักษา
WHO 2001
ALCOHOL EDUCATION
• เนื่องจากพฤติกรรมการดื่มของคนเปลี่ยนแปลงได้ คนที่ปัจจุบน
ั
ไม่ดื่มอาจดื่มมากขึ ้นในอนาคต ดังนันการให้ ความรู้เกี่ยวดับ
้
ความเสี่ยงจากการดื่ม อาจช่วยปองกันการดื่มแบบเสี่ยงหรื อดื่ม
้
แบบอันตรายที่อาจเกิดขึ ้นในอนาคตได้
• การให้ ความรู้เหมาะสําหรับผู้ไม่ดื่มหรื อผู้ดื่มที่ยงอยูในระดับ
ั ่
ความเสี่ยงตํ่า (AUDIT 0–7)
WHO 2001
แนวทางการให้ความรู้เกี่ยวกับการดื่มสุรา
1. การสะท้อนผลคัดกรองให้ผู้ป่วย
Feedback about the Results of the Screening Test
2. การให้ความรู้ผู้ป่วยเรื่องการดื่มแบบมีความเสี่ยงต่ําและความเสี่ยงที่
เพิ่มขึ้นหากดื่มเกินระดับ Educate Patients about Low-Risk
Levels and the Hazards of Exceeding them
3. แสดงความชื่นชมหากผู้ป่วยดื่มในระดับเสี่ยงต่ําตามข้อแนะนํา
Congratulate Patients for their Adherence to the Guideline
WHO 2001
การให้คําแนะนําแบบสั้น (Brief Advice; BA)
การให้คําแนะนําแบบสั้น (Brief Advice) หรือคําแนะนําอย่างง่าย
(simple advice) เหมาะสําหรับผู้ป่วยที่ได้คะแนน AUDIT ระหว่าง
8-15 ที่อาจยังไม่เคยมีประสบการณ์หรือได้รับบาดเจ็บ ลักษณะผู้ป่วยคือ:
 มีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพเรื้อรังที่เป็นผลจากการดื่มสุรามากเกินไป
และ/หรือ
 มีความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุ ได้รับบาดเจ็บ ก้าวร้าวรุนแรง มีปัญหา
กฎหมาย ศักยภาพการทํางานลดลง หรือมีปัญหาสังคม อัน
เนื่องมาจากการเมาสุรา

WHO 2001
แนวทางการให้คําแนะนําแบบสั้น (BA)
1. การให้ข้อมูลสะท้อนกลับ (Feedback)

2. การให้ความรู้ (Provide information) ผลกระทบการดื่มแบบ
เสี่ยงสูง
3. การกําหนดเป้าหมาย (establish a goal)
4. การให้คําแนะนําขีดจํากัดการดื่ม (give advice on limit) และ
อธิบายความหมายดื่มมาตรฐาน”
5. การให้กําลังใจ (Provide Encouragement)
WHO 2001
การให้คําปรึกษาแบบสั้น
เหมาะในผู้ดื่มแบบเสี่ยง (hazardous drinkers) ที่จําเป็นต้องหยุด
ดื่มสุราตลอดไปหรือชั่วระยะเวลาหนึ่ง เช่น
• หญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร
• ผู้ป่วยที่ได้รับยาที่ห้ามดื่มสุราร่วมด้วย เป็นต้น
Brief Counseling ต่างจาก Brief Advice?
BRIEF ADVICE

BRIEF COUNSELING

ดื่มแบบเสี่ยง(Hazardous)
ผู้รับบริการ
ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหา

ดื่มแบบอันตราย(Harmful)
เกิดปัญหาขึ้นมาแล้ว

ใช้เวลา

5-60 นาที

เป้าหมาย

ทักษะ

5-10นาที

ปรับทัศนคติ สร้างความตระหนัก เพิ่มแรงจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ลดความเสี่ยง
การดื่มสุรา ลดความเสี่ยง
เพิ่มทักษะการรับฟังอย่างเห็นอกเห็นใจ
(empathic listening) และทักษะการ
สัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ
(motivational interviewing)
ขั้นตอนของการให้คาปรึ กษาแบบสั้น
ํ
Steps:
1 คัดกรอง
2 ประเมิน
3 ให้คําแนะนํา
4 ประเมินแรงจูงใจ
5 ตั้งเป้าหมายในการดื่ม
ติดตาม
6

@2003Genesis Media 
Com.Ltd
มาตรการที่ 2
มาตรการบําบัดรักษาภาวะถอนพิษสุ รา
(ALCOHOL DETOXIFICATION)
มาตรการคัด
กรองปัญหาการ
ดื่มสุราและการ
บําบัดแบบสั้น

มาตรการ
บําบัดรักษาภาวะ
ถอนพิษสุรา

มาตรการดูแล
ระยะยาวหลัง
การรักษา

มาตรการ
บําบัดรักษาและ
ฟื้นฟูสภาพ
หน่วยบริ การสุ ขภาพและกลุ่มเป้ าหมาย
หน่วยบริการเฉพาะทาง เช่น โรงพยาบาลจิตเวช ศูนย์บําบัดรักษา
ยาเสพติด หอผู้ป่วยจิตเวชหรือหอผู้ป่วยที่รับรักษาภาวะถอนพิษสุรา
กลุ่มเป้าหมาย ผู้ติดสุรา ผู้ติดสุราที่แสดงอาการถอนพิษสุรา หรือผู้ติดสุราที่มี
ประวัติถอนพิษรุนแรง
หน่วยบริการสุขภาพทัวไป เช่น โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
่
โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โดยเน้นหอผู้ป่วยในเสี่ยง เช่น
หอผู้ป่วยอุบัติเหตุ หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย หอผู้ป่วย
ศัลยกรรมชาย
กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยอุบัติเหตุหรือมีภาวะฉุกเฉินทางกาย หรือผู้ป่วยทั่วไปที่รับ
การรักษาในโรงพยาบาลและมีประวัติการดื่มสุราในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
กิจกรรมบริ การ
กิจกรรมที่ 2.1 การประเมินความเสี่ยงการเกิดภาวะถอนพิษสุรา
กิจกรรมที่ 2.2 การเฝ้าระวังความเสี่ยงการเกิดภาวะถอนพิษสุรา
กิจกรรมที่ 2.3 การรักษาภาวะถอนพิษสุรา
หน่วยบริการเฉพาะทาง
กิจกรรมที่ 2.4 การประเมินและรักษาภาวะโรคร่วมและภาวะแทรกซ้อนทาง
กาย
หน่วยบริการสุขภาพทั่วไป
กิจกรรมที่ 2.5 การให้คําปรึกษาแบบสั้นเพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักถึงปัญหาการ
ดื่มและจูงใจให้รับการบําบัดต่อเนื่อง
คู่มือสําหรับผู้อบรม : การดูแลผู้มีปัญหาการดื่มสุราเบื้องต้น
สําหรับบุคลากรสุขภาพ ฉบับปรับปรุง 2554
อาการชัก

ความรุนแรงของอาการ

อาการขาดสุรารุนแรง
มีภาวะแทรกซ้อน

อาการขาดสุรา
เล็กน้อย
ถึงปานกลาง
จํานวนวันที่หยุดดื่ม
0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

John Saunders 2003
ระยะที่ 1 : เล็กน้อย
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 6-36 ชั่วโมง
อาการ:
 มือสั่น วิตกกังวลเล็กน้อย หงุดหงิด ปวดมึนศีรษะ
 เหงื่อออก ใจสั่น ความดันโลหิตสูงขึ้นเล็กน้อย
 เบื่ออาหาร คลื่นไส้
 ผะอืดผะอม อาเจียน
 นอนไม่หลับ
 ตรวจสภาพจิตปกติ
ระยะที่ 1 : เล็กน้อย
รูปแบบการรักษา

ยาสงบอาการขาดสุรา

ดูแลแบบผู้ป่วยนอก
 เน้นการประเมินภาวะโรคทางกาย
ที่พบร่วมและให้การรักษาแบบ
ประคับประคอง
 ให้ Brief intervention

อาจไม่จําเป็นต้องให้ยา หรืออาจให้
รับประทานเฉพาะเวลามีอาการ
ได้แก่
 diazepam 5 mg หรือ
 lorazepam 1 mg หรือ
 Chordiazepoxide10 mg


ระยะที่ 2 : ปานกลางถึงรุนแรง
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 24-72 ชั่วโมง
อาการ:
 กระวนกระวาย กระสับกระส่ายมากขึ้น ผุดลุกผุดนั่ง
 มือสั่น เหงื่อออกมาก ตัวสั่น
 ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
 PR >120 ครั้ง/นาที BP สูงมาก
 ตรวจสภาพจิต มีอาการสับสน หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล
ระยะที่ 2 : ปานกลางถึงรุนแรง





รูปแบบการรักษา
ควรดูแลแบบผู้ป่วยใน
เน้นการประเมินอาการขาดสุราและ
ภาวะแทรกซ้อน
ให้ยาสงบอาการขาดสุราได้ทั้งวิธี fixed
dose หรือ symptom trigger
ให้คําแนะนําปรึกษาเพื่อจูงใจให้ผู้ป่วย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและนัดติดตามผล

ยาสงบอาการขาดสุรา
 diazepam 10 mg หรือ
 lorazepam 2 mg หรือ
 chordiazepoxide 25 mg
ทุก 6 ชั่วโมงใน 2 วันแรกแล้ว
ค่อยลดลงในวันที่ 4-7 แล้วหยุด
ใช้
ระยะที่ 3 : รุนแรงเพ้อคลั่ง
มีอาการเพ้อคลังสับสน (delirium tremens) เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 48-96 ชั่วโมง
่
อาการ:
 กระสับกระส่าย, เหงื่อออกมาก
 อยู่ไม่นิ่ง เดินไปมา ไม่มสมาธิ
ี
 ไข้สูง ชีพจรเร็ว มือสั่น ตัวสั่นมาก
 สับสน ไม่รู้วัน เวลา สถานที่
 เห็นภาพหลอน หูแว่ว
 หลงผิดหวาดระแวงกลัว
ระยะที่ 3 : รุนแรงเพ้อคลั่ง
รูปแบบการรักษา

ยาสงบอาการขาดสุรา

ดูแลแบบผู้ป่วยใน
 diazepam 10-20 mg IV ทุก
15-20 นาทีจนกว่าจะสงบ
 เน้นการเฝ้าระวังอันตรายที่อาจ
 สามารถให้ยาได้ถึง 500 mg
เกิดขึ้นจากการเพ้อคลั่ง
หรือต้องคงยาระดับสูงของ
 ป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางกาย
diazepam 2 gm ต่อวัน ใน
ภาวะโรคร่วมอื่นๆ
ระยะ 2-3 วันแรก
 ให้ยาสงบอาการด้วยยาระดับสูง

ระดับความรุนแรงของอาการขาดสุรา
อาการชักจากการขาดสุรา
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 6-48 ชั่วโมง
อาการ:
 เกร็งกระตุกทั่วร่างกาย หมดสติ มักมีอาการชักครั้งเดียว
 แต่สามารถเกิดเป็นชุดชัก 2-3 ครั้งห่างกัน 5 นาที
 อาการชักแบบต่อเนื่อง พบได้น้อยมาก หากพบควรต้องตรวจหา
สาเหตุอื่นด้วย
อาการชักจากการขาดสุรา
รูปแบบการรักษา





เน้นการประเมินการชักว่ามีสาเหตุจาก
โรคอื่นหรือไม่
อาจไม่จําเป็นต้องให้ยากันชักหากคุม
อาการขาดสุราได้ดี
หากพิจารณาให้ยากันชักควรเลือกยาที่
สามารถสงบอาการขาดสุราและกันชักได้
หลังผ่านระยะถอนพิษ ไม่มความ
ี
จําเป็นต้องให้ยากันชักระยะยาว

ยาสงบอาการขาดสุรา





ให้ยากลุม BZD ให้เพียงพอ
่
sodium valproate loading 20
mg/kg/d แบ่งเป็น 2 ครั้งห่างกัน
6-8 ชั่วโมง หลังจากนั้น ให้วันละ 2
ครั้ง เป็นเวลา 4 วัน หรือ
carbamazepine วันแรกให้ 600800 mg หลังจากนั้นลดลงจนเหลือ
200 mg ในวันที่ 5
ระดับความรุนแรงของอาการขาดสุรา
อาการประสาทหลอนจากการขาดสุรา
เวลาที่เกิดหลังดื่มครั้งสุดท้าย: 12-48 ชั่วโมง
อาการ:
 ผู้ป่วยทราบว่าอาการประสาทหลอนนั้นเป็นผลจากสุราและไม่ใช่
ความจริง
อาการประสาทหลอนจากการขาดสุรา
รูปแบบการรักษา
ยาสงบอาการขาดสุรา
 เน้นการประเมินภาวะโรคร่วมทาง
 diazepam
จิตเวช
 ในกรณีที่มีอาการประสาน
 ให้ยาสงบอาการขาดสุรา
หลอนรุนแรง อาจให้
haloperidol 5-10 mg ต่อ
 หากจําเป็น ให้ยารักษาโรคจิตเสริม
วันในระยะสั้น
 ให้คําแนะนําปรึกษาเพื่อจูงใจให้
ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและนัด
ติดตามผล
ประเมินระดับความรุนแรงของอาการโดยใช้แบบประเมิน
ตัวอย่างแบบประเมินความรุนแรงอาการขาดสุราทีใช้บ่อย
่
แบบประเมิน Alcohol Withdrawal Scale (AWS)
แบบประเมิน Clinical Institute Withdrawal Assessment for
Alcohol-Revised Version (CIWA-Ar)
ควรจะประเมิน baseline และประเมินอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการรักษาแบบ
ผู้ป่วยใน
ผู้ป่วยควรได้รับการประเมินความเสี่ยงและความรุนแรงของอาการขาดสุราตั้งแต่แรกเริ่มมี
อาการ และให้การรักษาอย่างเหมาะสมทันท่วงที จึงจะสามารถป้องกันการเกิดภาวะถอนพิษ
สุรารุนแรงได้”
John Saunders 2003
ความรุนแรง
Mild
Moderate

AWS
SCORE
1-4
5-9

Severe

10-14

Very severe

≥15

CIWA-Ar
การให้ยา
SCORE
1-7
อาจไม่จําเป็นต้องใช้ยา
8-14 การรักษาด้วยยาช่วยลดโอกาสอาการ
ถอนพิษที่รุนแรง
15-19 ต้องได้รับการรักษาด้วยยาและติดตาม
อาการอย่างใกล้ชิด
≥ 20 ต้องให้การรักษาด้วยยาขนาดสูงเพื่อทํา
ให้อาการสงบอย่างรวดเร็ว
ภาวะถอนพิษสุราสามารถป้องกันไม่ให้เกิด หรือ
ถ้าเริ่มมีอาการก็สามารถควบคุมอาการให้ดีขึ้นโดยเร็ว
หลักการรักษาภาวะถอนพิษสุราประกอบด้วย 4S’ ได้แก่
1) Sedation – การให้ยาเบนโซไดอะซีปีน (เช่น diazepam) เพื่อสงบ
อาการขาดสุรา
2) Symptomatic Relief – การรักษาตามอาการ
3) Supplement – การให้สารน้ํา อาหาร วิตามินเสริม
4) Supportive environment – การจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
วิธีการให้ยารักษาภาวะถอนพิษสุรา
มี 4 รูปแบบ คือ
1. Fixed schedule regimen (FS) เป็นการให้ยาตามเวลาทีกําหนดแม้ว่าจะไม่มี
่
อาการขาดสุราก็ตาม และให้ยาเติมอีกได้เวลาจําเป็นกรณีทีอาการขาดสุรารุนแรง
มากขึ้น
2. Loading dose regimen (LD) เป็นการให้ขนาดสูงมากพอที่จะลดอาการขาด
สุราได้ทันที และป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากอาการขาดสุรารุนแรง
3. Symptom-triggered regimen (ST) เป็นวิธีการให้ยาเฉพาะเมื่อมีอาการขาด
สุราให้เห็นชัดเจน ใช้เวลาสั้นและขนาดยาต่ํากว่า
4. Intravenous loading regimen เป็นการให้ยาเพื่อควบคุมภาวะถอนพิษสุราให้
เร็วที่สุด
มาตรการคัด
กรองปัญหาการ
ดื่มสุราและการ
บําบัดแบบสั้น

มาตรการ
บําบัดรักษาภาวะ
ถอนพิษสุรา

มาตรการดูแล
ระยะยาวหลัง
การรักษา

มาตรการ
บําบัดรักษาและ
ฟื้นฟูสภาพ
หน่วยบริการ
กลุ่มงาน/ฝ่าย/แผนก/คลินิก ที่รับผิดชอบงานบําบัดรักษาผู้ติดสุราและ/หรือ
สารเสพติดของศูนย์บําบัดรักษายาเสพติด โรงพยาบาลจิตเวช โรงพยาบาล
มหาวิทยาลัย
คลินิกสุขภาพจิต/ยาเสพติดในโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลศูนย์ คลินิกยาเสพติดในศูนย์บริการสาธารณสุข (กทม)
สถานพยาบาลปฐมภูมิ เช่น สถานีอนามัย หรือ PCU ที่มีความพร้อมและ
ศักยภาพ
กลุ่มเป้าหมาย ผู้ติดสุราหรือผู้ดมแบบอันตรายที่ไม่สามารถควบคุมการดื่มได้
ื่
กิจกรรมที่ 3.1 : การประเมินปัญหาการดื่มสุราอย่างครอบคลุมและ
โรคจิตเวชร่วม
กิจกรรมที่ 3.2 : การรักษาด้วยจิตสังคมบําบัด
(Psychosocial treatment)
กิจกรรมที่ 3.3 : การรักษาด้วยยา
(Pharmacological treatment)
กิจกรรมที่ 3.4 : การช่วยเหลือด้านครอบครัว
ระบาดวิทยาของภาวะโรคร่วม: ECA STUDY
Psychiatric
Disorders

Individual with alcohol dependence
MEN
WOMEN
%
OR
%
OR
Anxiety
35.8
2.2**
60.7
3.1
Mood
28.1
3.2**
53.5
4.4**
Drug Depen.
29.5
9.8**
34.7
15.8**
Antisocial PD
16.9
8.3**
7.8
17.0**
**Odd ratio sig. different from 1 at .05, 2 tail test
Kessler et al., 1997
ข้อมูลการสํารวจระบาดวิทยาระดับชาติ 2551 ด้วยเครื่องมือ MINI (N 17140 คน) พบ
ความชุก alcohol abuse 4.2%
ความชุก alcohol dependence 6.6%
ความชุกของโรคจิตเวชร่วมในผู้ติดสุรา ร้อยละ 7.1 ผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
ความชุกของโรคจิตเวชร่วมของผู้ติดสุราสูงกว่าผู้ดื่มแบบอันตราย
โรคจิตเวชร่วมที่พบบ่อย คือ ความผิดปกติทางอารมณ์ (4.6%) กลุ่มโรควิตกกังวล
(2.8%) และกลุ่มโรคจิต (1.5%) ตามลําดับ
ผู้หญิงที่ดื่มแบบอันตรายมีความเสี่ยงการฆ่าตัวตายสูงกว่าผู้หญิงทีติดสุรา
่
ผู้ชายที่ติดสุราความเสี่ยงการฆ่าตัวตายสูงกว่าผู้ชายทีดื่มแบบอันตราย
่
มาตรการคัด
กรองปัญหาการ
ดื่มสุราและการ
บําบัดแบบสั้น

มาตรการ
บําบัดรักษาภาวะ
ถอนพิษสุรา

มาตรการดูแล
ระยะยาวหลัง
การรักษา

มาตรการ
บําบัดรักษาและ
ฟื้นฟูสภาพ
หน่วยบริการ

หน่วยบริการสาธารณสุขในรูปแบบเชิงรุก ทั้งสถานพยาบาลปฐมภูมิ
ฝ่ายสุขภาพจิต/ยาเสพติด และเวชศาสตร์ป้องกันในโรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลทั่วไป ฝ่ายชุมชนของโรงพยาบาลจิตเวช และศูนย์บําบัดรักษา
ยาเสพติด
หน่วยบริการในชุมชน โดยชุมชน เช่น วัด เครือข่ายชุมชน สมาชิกผู้ติด
สุราและ/หรือครอบครัว
กลุ่มเป้าหมาย

ผู้ติดสุราที่ผ่านการบําบัด
ผู้ดื่มแบบอันตรายที่ไม่สามารถควบคุมการดื่ม
กิจกรรมที่ 4.1: การติดตามเชิงรุกในชุมชนและให้การดูแลรายกรณี
กิจกรรมที่ 4.2: กลุ่มช่วยเหลือกันเอง
(self help group)
กิจกรรมที่ 4.3: การบําบัดฟื้นฟูในชุมชนโดยชุมชน
(community action)
ครั้งที่ 1 เป็นการสร้างสัมพันธภาพทีดีระหว่างบุคลากรสุขภาพผู้เยี่ยมและผู้ป่วยติด
่
สุราให้ความรู้การดําเนินชีวิตประจําวัน การจัดการที่อยู่อาศัย และให้คําปรึกษา
ครั้งที่ 2 ให้ความรู้ ฝึกทักษะการจัดการกับสถานการณ์ (ภาวะวิกฤติ) การจัดการ
เอกสารในการเข้าถึงบริการสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยติดสุราและญาติ และให้คําปรึกษา
ครั้งที่ 3 ให้ความรู้การรับประทานยา การส่งเสริมสุขภาพ การจัดการการเงิน
และให้คําปรึกษา
ครั้งที่ 4 ให้ความรู้ คําแนะนํา และแนวการสร้างโอกาสในการทํางาน การจัดการ
การเงิน และให้คําปรึกษา
ครั้งที่ 5 เยี่ยมติดตามกิจกรรมโดยภาพรวม เสริมสร้างกําลังใจในการดูแลตนเองทีบ้าน
่
อย่างต่อเนื่อง และให้คําปรึกษา
• เป็นการรวมกลุ่มกันของบุคคลที่มีปัญหาคล้ายกันมารวมตัวกันโดยความสมัครใจ
• ใช้ประสบการณ์ของปัญหาหรือประสบการณ์แก้ไขปัญหาที่ผ่านมามาแบ่งปันและ
ช่วยกันแก้ไขปัญหาซึ่งกันและกัน
• กําหนดกิจกรรมในการช่วยเหลือสนับสนุนร่วมกัน โดยสมาชิกกลุ่ม เพื่อประโยชน์
ร่วมกันระหว่างสมาชิก
แนวคิดพื้นฐานของกลุ่มช่วยเหลือกันเองเชื่อว่า บุคคลจะได้รับความช่วยเหลือเป็น
อย่ า งดี จ ากบุ ค คลที่ เ คยมี ป ระสบการณ์ ม าก่ อ น สมาชิ ก กลุ่ ม จะร่ ว มแลกเปลี่ ย น
ความรู้สึก การให้ข้อมูลข่าวสารจากประสบการณ์ตรงและจากที่ได้รับ (แสวงหา)
นํามาช่วยเหลือสมาชิกในการปรับตัวต่อปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
กลุ่มช่วยเหลือกันเองแบบประคับประคอง (Supportive self help group)
กลุ่มผู้ติดสุรานิรานาม (Alcoholics Anonymous)
ขั้นตอนหลักประกอบด้วย
1. การศึกษาเรียนรู้ชุมชน ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน ลักษณะและความรุนแรงของ
ปัญหาในชุมชน กิจกรรมในชุมชนเดิมที่มอยู่ และดําเนินการการสํารวจชุมชน
ี
2. การพัฒนาศักยภาพแกนนําชุมชน โดยค้นหาและคัดเลือกแกนนําทั้งจากโครงสร้าง
องค์กรชุมชนทีมอยูแล้วและกลุมประชาชนทัวไป จุดประกายความคิดในการดําเนินงาน
่ ี ่
่
่
ให้กับกลุ่มแกนนําและส่งเสริมการเรียนรู้
3. การขับเคลื่อนชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนัก รับผิดชอบและสามารถ
พัฒนาตนและชุมชนของตนเอง ให้ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา
หามาตรการแก้ไขปัญหา ร่วมตัดสินใจ ร่วมดําเนินงาน ร่วมรับประโยชน์ ร่วมติดตามและ
เชิดชูคนดีดําเนินการโดยการทําประชาคมในชุมชน

Contenu connexe

Tendances

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทยแนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Cpg and care map alcohol
Cpg and care map alcoholCpg and care map alcohol
Cpg and care map alcohol
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 

En vedette

การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพWajana Khemawichanurat
 
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพWajana Khemawichanurat
 
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่พัน พัน
 
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จniralai
 
Alcohol pharmacology
Alcohol pharmacologyAlcohol pharmacology
Alcohol pharmacologymj hemilton
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionUtai Sukviwatsirikul
 
Alcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentationAlcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentationCTecson
 
Alcohol Presentation
Alcohol PresentationAlcohol Presentation
Alcohol Presentationktorgerson
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 

En vedette (16)

การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพการดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
การดูแลผู้ที่มีปัญหาสุราในระบบสุขภาพ
 
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพพิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
พิษภัยของสุราต่อสุขภาพ
 
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
โทษของแอลกอฮอล์และบุหรี่
 
Alcohol and seizures
Alcohol and seizuresAlcohol and seizures
Alcohol and seizures
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
5415261035
54152610355415261035
5415261035
 
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
129+heap4+dltv54+550301+a+สไลด์ โทษของบุหรี่และสุรา (1 หน้า)
 
092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ092โทษของสุรา เผด็จ
092โทษของสุรา เผด็จ
 
Alcohol pharmacology
Alcohol pharmacologyAlcohol pharmacology
Alcohol pharmacology
 
Alcohol intoxication
Alcohol intoxicationAlcohol intoxication
Alcohol intoxication
 
Cpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addictionCpg for internet and game addiction
Cpg for internet and game addiction
 
Pharmacology of Alcohol
Pharmacology of Alcohol Pharmacology of Alcohol
Pharmacology of Alcohol
 
Alcoholism
AlcoholismAlcoholism
Alcoholism
 
Alcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentationAlcohol & drinking presentation
Alcohol & drinking presentation
 
Alcohol Presentation
Alcohol PresentationAlcohol Presentation
Alcohol Presentation
 
พฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุราพฤติกรรมการดื่มสุรา
พฤติกรรมการดื่มสุรา
 

Similaire à Cpg alcoholism

แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอAuamporn Junthong
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3Kruthai Kidsdee
 
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบNathawut Kaewsutha
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราChatmongkon C-Za
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
CPG Atherosclerosis prevention 2550
CPG Atherosclerosis prevention 2550CPG Atherosclerosis prevention 2550
CPG Atherosclerosis prevention 2550Thorsang Chayovan
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Utai Sukviwatsirikul
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Utai Sukviwatsirikul
 

Similaire à Cpg alcoholism (20)

แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.33.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
3.แผนสุขศึกษาแอลกอฮอล์กับอุบัติเหตุม.3
 
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนิสิตนักศึกษาทันตแพทย์ต่อต้านยาสูบ
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุราสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมการดื่มสุรา
 
8
88
8
 
CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553CPG COPD Thailand 2553
CPG COPD Thailand 2553
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
CPG Atherosclerosis prevention 2550
CPG Atherosclerosis prevention 2550CPG Atherosclerosis prevention 2550
CPG Atherosclerosis prevention 2550
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
 
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
Guildline thai atherosclerosis_update_16_07_50
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Cpg alcoholism