SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
Checklist วิธีการใช้การใช้ยาสูดชนิดต่างๆ
ผศ.ภก.ดร.วันชัย ตรียะประเสริฐ Tips and Pitfalls in asthma devices use 16 ก.ค. 2558
วิธีการใช้ยาสูดอินเฮเลอร์
(Metered Dose Inhaler, MDI)
วิธีการใช้ยาสูดเทอร์บูเฮเลอร์
(Turbuhaler)
วิธีการใช้ยาสูดแอคคูเฮเลอร์
(Accuhaler)
1. เปิดฝาครอบปากหลอดพ่นยาออก 1. เปิดฝาครอบปากหลอดยาออก 1. เปิดเครื่อง โดยใช้มือข้างหนึ่งจับตัวเครื่องด้านนอก แล้วใช้
นิ้วหัวแม่มืออีกข้างหนึ่งวางที่ร่อง ดันออกไปจนสุด
2. เขย่าหลอดยา ขึ้น-ลง 3-4 ครั้ง 2. ถือขวดยาตั้งตรง 2.ถือเครื่องไว้ในแนวนอน โดยหันปากกระบอกเข้าหาตัว
3.หายใจออกจนสุด 3.บิดฐานหลอดยาไปทางขวาให้สุด แล้วบิดกลับ
ด้านซ้ายจนได้ยินเสียงคลิก
3. ดันแกนเลื่อนออกไปจนสุด จนได้ยินเสียง คลิก
4. อมปากหลอดพ่นยาให้สนิท 4. หายใจออกทางปาก ระวังอย่าพ่นลมหายใจเข้า
ไปในเครื่อง
4. หายใจออกทางปากจนสุด ระวังอย่าพ่นลมหายใจเข้าเครื่อง
5.สูดลมหายใจเข้าทางปาก ช้าๆและลึกๆ พร้อมกับ
กดพ่นยา
5ใช้ริมฝีปากอมปลายหลอดให้สนิท 5 อมปากกระบอกให้สนิท
6. กลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที 6.สูดหายใจเข้าทางปากให้ เร็ว แรงและลึก 6.สูดหายใจเข้าทางปาก ให้เร็ว แรงและลึก
7. เอาหลอดพ่นยาออกจากปาก หายใจออกช้าๆทาง
ปากหรือจมูก
7.กลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจ
ออกช้าๆ
7.กลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจออกช้าๆ
8.ถ้าต้องกดพ่นอีกครั้ง ให้เว้นระยะห่างจากครั้ง
แรก 1-2 นาที
8.ถ้าต้องสูดยาอีกครั้ง ให้เว้นระยะห่างจากครั้ง
แรก 1-2 นาที
8.ปิดเครื่องโดยการนิ้วหัวแม่มือบนร่อง แล้วเลื่อนกลับมาหาตัวจน
สุด เมื่อเครื่องถูกปิดจะได้ยินเสียงคลิก แกนเลื่อนจะคืนกลับมาใน
ตาแหน่งเดิมอัตโนมัติ สาหรับพร้อมที่จะใช้ในครั้งต่อไป
9.ทาความสะอาดปากหลอดพ่นด้วยน้าสะอาด เช็ด
ให้แห้ง ปิดฝาครอบ
9.ทาความสะอาดปลายหลอดด้วยผ้าหรือกระดาษ
ทิชชูสะอาด ปิดฝาให้สนิท
9.ทาความสะอาด ด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชูสะอาด
10. ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้งหลังใช้
เสร็จ
10.ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง หลัง
ใช้เสร็จ
10.ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง หลังใช้เสร็จ
Checklist วิธีการใช้การใช้ยาสูดชนิดต่างๆ
ผศ.ภก.ดร.วันชัย ตรียะประเสริฐ Tips and Pitfalls in asthma devices use 16 ก.ค. 2558
วิธีการใช้ยาสูดอีซีเฮเลอร์
(Easyhaler)
วิธีการใช้ยาสูดสวิงเฮเลอร์
(Swinghaler)
วิธีการใช้ยาสูดแฮนด์ดิเฮเลอร์
(Handihaler)
1. ถอดฝาครอบกระบอกยาออก 1. เปิดเครื่อง โดยการหักฝาครอบใสออกจากหลอดยา
สูด
1. เปิดฝาเครื่องและดึงปากกระบอกขึ้น
2.จับกระบอกยาให้อยู่ในแนวตั้ง 2.จับตรงด้านฐานยาสูด(ช่องบอกเลขหงายขึ้น
ด้านบน)
2.แกะแคปซูลออกจากแผงยา นาแคปซูลใส่ลงในช่องบรรจุยา
3. เขย่าขึ้น-ลง 3-4 ครั้ง 3. เขย่าขึ้น-ลง ตามแนวดิ่ง 3-4 ครั้ง 3. ปิดปากกระบอกยาลงจนได้ยินเสียงคลิก
4. กดกระบอกยา จนได้ยินเสียงคลิก 4. ดันฐานยาสูดเข้าไปทางด้านปากสูด 4. ถือตัวเครื่องให้ตั้งตรง ใช้นิ้วหัวแม่มือกดปุ่มสีเขียวจนสุด เพียง
ครั้งเดียวและปล่อย เพื่อเจาะแคปซูลพร้อมสูด
5 หายใจออกทางปากจนสุด 5 หายใจออกทางปากจนสุด 5 หายใจออกทางปากจนสุด
6.อมปากกระบอกยาให้สนิท 6.อมปากหลอดยาให้สนิท 6.อมปากกระบอกยาให้สนิท
7. สูดหายใจเข้าทางปาก ให้เร็ว แรงและลึก 7. สูดหายใจเข้าทางปาก ให้เร็ว แรงและลึก 7. สูดหายใจเข้าทางปาก ช้าๆ ลึกๆ จะได้ยินเสียงสั่นของแคปซูล
8.เอากระบอกยาออกจากปากและกลั้นหายใจไว้
ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจออกช้าๆ
8.เอาหลอดยาออกจากปากและกลั้นหายใจไว้
ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจออกช้าๆ
8.เอากระบอกยาออกจากปากและกลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที
แล้วหายใจออกช้าๆ
9.ปิดฝาครอบ ทาความสะอาด ด้วยผ้าหรือ
กระดาษทิชชูสะอาด
9. ดันฐานสูดเข้าไปทางด้านปากยาสูด ปิดฝาครอบ 9. สูดยาซ้าอีกครั้ง เพื่อให้ยาออกจากแคปซูลจนหมด
10.ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง
หลังใช้เสร็จ
10. ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง หลังใช้
เสร็จ
10.เปิดเครื่อง เทเปลือกแคปซูลทิ้ง และปิดฝาเครื่อง

More Related Content

What's hot

คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)yahapop
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) finalเอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) finalUtai Sukviwatsirikul
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 

What's hot (20)

คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) finalเอกสารประกอบการประชุม  Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
เอกสารประกอบการประชุม Controversial in asthma (20 22 mar 2016) final
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การใช้ยาสูดชนิดต่างๆ

  • 1. Checklist วิธีการใช้การใช้ยาสูดชนิดต่างๆ ผศ.ภก.ดร.วันชัย ตรียะประเสริฐ Tips and Pitfalls in asthma devices use 16 ก.ค. 2558 วิธีการใช้ยาสูดอินเฮเลอร์ (Metered Dose Inhaler, MDI) วิธีการใช้ยาสูดเทอร์บูเฮเลอร์ (Turbuhaler) วิธีการใช้ยาสูดแอคคูเฮเลอร์ (Accuhaler) 1. เปิดฝาครอบปากหลอดพ่นยาออก 1. เปิดฝาครอบปากหลอดยาออก 1. เปิดเครื่อง โดยใช้มือข้างหนึ่งจับตัวเครื่องด้านนอก แล้วใช้ นิ้วหัวแม่มืออีกข้างหนึ่งวางที่ร่อง ดันออกไปจนสุด 2. เขย่าหลอดยา ขึ้น-ลง 3-4 ครั้ง 2. ถือขวดยาตั้งตรง 2.ถือเครื่องไว้ในแนวนอน โดยหันปากกระบอกเข้าหาตัว 3.หายใจออกจนสุด 3.บิดฐานหลอดยาไปทางขวาให้สุด แล้วบิดกลับ ด้านซ้ายจนได้ยินเสียงคลิก 3. ดันแกนเลื่อนออกไปจนสุด จนได้ยินเสียง คลิก 4. อมปากหลอดพ่นยาให้สนิท 4. หายใจออกทางปาก ระวังอย่าพ่นลมหายใจเข้า ไปในเครื่อง 4. หายใจออกทางปากจนสุด ระวังอย่าพ่นลมหายใจเข้าเครื่อง 5.สูดลมหายใจเข้าทางปาก ช้าๆและลึกๆ พร้อมกับ กดพ่นยา 5ใช้ริมฝีปากอมปลายหลอดให้สนิท 5 อมปากกระบอกให้สนิท 6. กลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที 6.สูดหายใจเข้าทางปากให้ เร็ว แรงและลึก 6.สูดหายใจเข้าทางปาก ให้เร็ว แรงและลึก 7. เอาหลอดพ่นยาออกจากปาก หายใจออกช้าๆทาง ปากหรือจมูก 7.กลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจ ออกช้าๆ 7.กลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจออกช้าๆ 8.ถ้าต้องกดพ่นอีกครั้ง ให้เว้นระยะห่างจากครั้ง แรก 1-2 นาที 8.ถ้าต้องสูดยาอีกครั้ง ให้เว้นระยะห่างจากครั้ง แรก 1-2 นาที 8.ปิดเครื่องโดยการนิ้วหัวแม่มือบนร่อง แล้วเลื่อนกลับมาหาตัวจน สุด เมื่อเครื่องถูกปิดจะได้ยินเสียงคลิก แกนเลื่อนจะคืนกลับมาใน ตาแหน่งเดิมอัตโนมัติ สาหรับพร้อมที่จะใช้ในครั้งต่อไป 9.ทาความสะอาดปากหลอดพ่นด้วยน้าสะอาด เช็ด ให้แห้ง ปิดฝาครอบ 9.ทาความสะอาดปลายหลอดด้วยผ้าหรือกระดาษ ทิชชูสะอาด ปิดฝาให้สนิท 9.ทาความสะอาด ด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชูสะอาด 10. ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้งหลังใช้ เสร็จ 10.ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง หลัง ใช้เสร็จ 10.ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง หลังใช้เสร็จ
  • 2. Checklist วิธีการใช้การใช้ยาสูดชนิดต่างๆ ผศ.ภก.ดร.วันชัย ตรียะประเสริฐ Tips and Pitfalls in asthma devices use 16 ก.ค. 2558 วิธีการใช้ยาสูดอีซีเฮเลอร์ (Easyhaler) วิธีการใช้ยาสูดสวิงเฮเลอร์ (Swinghaler) วิธีการใช้ยาสูดแฮนด์ดิเฮเลอร์ (Handihaler) 1. ถอดฝาครอบกระบอกยาออก 1. เปิดเครื่อง โดยการหักฝาครอบใสออกจากหลอดยา สูด 1. เปิดฝาเครื่องและดึงปากกระบอกขึ้น 2.จับกระบอกยาให้อยู่ในแนวตั้ง 2.จับตรงด้านฐานยาสูด(ช่องบอกเลขหงายขึ้น ด้านบน) 2.แกะแคปซูลออกจากแผงยา นาแคปซูลใส่ลงในช่องบรรจุยา 3. เขย่าขึ้น-ลง 3-4 ครั้ง 3. เขย่าขึ้น-ลง ตามแนวดิ่ง 3-4 ครั้ง 3. ปิดปากกระบอกยาลงจนได้ยินเสียงคลิก 4. กดกระบอกยา จนได้ยินเสียงคลิก 4. ดันฐานยาสูดเข้าไปทางด้านปากสูด 4. ถือตัวเครื่องให้ตั้งตรง ใช้นิ้วหัวแม่มือกดปุ่มสีเขียวจนสุด เพียง ครั้งเดียวและปล่อย เพื่อเจาะแคปซูลพร้อมสูด 5 หายใจออกทางปากจนสุด 5 หายใจออกทางปากจนสุด 5 หายใจออกทางปากจนสุด 6.อมปากกระบอกยาให้สนิท 6.อมปากหลอดยาให้สนิท 6.อมปากกระบอกยาให้สนิท 7. สูดหายใจเข้าทางปาก ให้เร็ว แรงและลึก 7. สูดหายใจเข้าทางปาก ให้เร็ว แรงและลึก 7. สูดหายใจเข้าทางปาก ช้าๆ ลึกๆ จะได้ยินเสียงสั่นของแคปซูล 8.เอากระบอกยาออกจากปากและกลั้นหายใจไว้ ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจออกช้าๆ 8.เอาหลอดยาออกจากปากและกลั้นหายใจไว้ ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจออกช้าๆ 8.เอากระบอกยาออกจากปากและกลั้นหายใจไว้ประมาณ 10 วินาที แล้วหายใจออกช้าๆ 9.ปิดฝาครอบ ทาความสะอาด ด้วยผ้าหรือ กระดาษทิชชูสะอาด 9. ดันฐานสูดเข้าไปทางด้านปากยาสูด ปิดฝาครอบ 9. สูดยาซ้าอีกครั้ง เพื่อให้ยาออกจากแคปซูลจนหมด 10.ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง หลังใช้เสร็จ 10. ถ้าเป็นยาสเตียรอยด์ ให้บ้วนปากทุกครั้ง หลังใช้ เสร็จ 10.เปิดเครื่อง เทเปลือกแคปซูลทิ้ง และปิดฝาเครื่อง