SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
อนาคตของสื่อใหม่ กับอนาคต ของประเทศไทย
นาวาตรี ดร.วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ
กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
บทคัดย่อ
ปัจจุบันนี้(พ.ศ. 2559) สื่อใหม่ หรือ New Media มีบทบาทมากขึ้นตามลาดับจนสื่อแบบเดิมในระบบกระจายเสียงหรือ
สิ่งพิมพ์ลดความสาคัญลงไปเรื่อยๆจนในที่สุดการสื่อสารแบบดิจิตอลอินเทอร์เรคทีฟ เกมและAR
จะมาแทนที่การสื่อสารแบบเดิมดังนั้นเอกสารฉบับนี้จะเป็นการคาดการณ์เทคโนโลยีอนาคต
โดยวิเคราะห์แนวโน้มจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
และแน่นอนว่าอนาคตที่ไม่แน่นอนของสื่อใหม่ที่จะกลายเป็นสื่อเก่าในอนาคตคงมีการพัฒนาอีกมากมาย
เอกสารฉบับนี้จะเป็นการนาเสนอความน่าจะเป็นของเทคโนโลยีที่จะมาแทนที่สื่อแบบดั้งเดิมภายใน10 ถึง 20 ปีข้างหน้า
คานา
สื่อใหม่ หรือNew Media (1) เป็นการพัฒนาระบบภาพเสียงอักษรและโปรแกรมประยุกต์เข้าด้วยกันและ
เผยแพร่ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้เกิดสื่อที่มีความคมชัดมีปฏิสัมพันธ์และเรียกได้ตามต้องการ
การเริ่มต้นของWorldWideWeb โดยเซอร์ ทิม เบอร์เนอร์ ลี ที่ CERN เมื่อประมาณ25 ปีที่ผ่านมา (August 6th
1991)
(2) เพื่อจุดประสงค์แค่แชร์ข้อมูลเท่านั้นทาให้เกิดWebสิ่งนี้ขึ้นมาและขยายตัวมาจนถึงปัจจุบันที่เป็นยุดของIoTsหรือ
Internet of Thingsที่เราสามารถแชร์ ประสบการณ์สื่อมัลติมีเดียการทางานและที่สาคัญคือการแชร์สิ่งที่ไม่ใช่Soft
แต่เป็นของจริงๆ อีกด้วย
สื่อสารสนเทศและการสื่อสารเกิดการหลอมรวมเข้าด้วยกันโดยเริ่มประมาณช่วงปี ค.ศ.1990 - ค.ศ. 2000
โดยการเริ่มต้นของการทาธุรกิจดอทคอม (Dot Com)ที่สร้างธุรกิจที่มีการเติมโตโดยฐานของระบบอินเทอร์เน็ต
ที่เดิมเคยถูกควบคุมโดยโครงการARPA(Advanced Research ProjectAgency) และ
ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ในการดูแลของNFS(NationalScienceFoundation)ทาให้
การพัฒนาธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีการขยายตัวอย่างมากโดยเกิดธุรกิจที่มีมูลค่ามหาศาล
เช่น e-Bay, Amazon, Yahoo,Google,Youtube และ Facebookเป็นต้น มีคนถามธุรกิจอะไรจะเกิดได้อีกต่อไปซึ่ง
คาตอบคงไม่ได้จากัดแค่รูปแบบที่เคยเกิดขึ้นเท่านั้นการพัฒนา Web2.0และเครือข่ายสังคมก็ได้สร้างธุรกิจต่างๆ
ขึ้นอีกมากมายประมาณการได้ว่าโลกเสมือนหรือCyber Worldนั้นสามารถขยายออกไปและมีรูปแบบต่างๆ
ได้ไม่จากัดจะจากัดก็ที่จินตนาการของมนุษย์จะสร้างขึ้นจะเห็นได้ว่ามีการสร้างอุปกรณ์ และสื่อต่างๆในรูปแบบต่างๆ
มากมายเช่น SmartPhone,GoogleGlass,SmartWatch,Hologram และAR (AugmentedReality) ออกมาขาย
หรือทาเป็นเกม และยังมีบริการเช่น YoutubeChannel, FacebookLive, Biko, และ เกมส์ต่างๆมากมายให้บริการ
และ มีโครงการStartUp ทางธุรกิจเพื่อพัฒนาธุรกิจใหม่ๆอีกมากมายเช่นUBER,GrabTaxi และอื่นๆ
อีกมากมายทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ
เครือข่ายทั้งแบบมีสายและไร้สายตลอดจนเครือข่ายมือถือ3G4G และ5G
ปัจจันนี้มีการจัดสรรเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปแล้วประมาณสองร้อยล้านเลขหมาย (3)
จะเห็นได้ว่าโลกพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งทาให้เกิดความต้องการใหม่ๆอีกมากมาย
ในกรณีของสื่อใหม่ขอสรุปความต้องการการวิจัยในอนาคตไว้ดังต่อไปนี้
อุปกรณ์ ที่นาเสนอข้อมูลและส่วนต่อประสานผู้ใช้
ปัจจุบันนี้เราจะเห็นว่าคนจานวนมากใช้จอภาพแบบสัมผัสเป็นระบบติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์และเครื่องมือ
ในอนาคตอันใกล้ การสัมผัสหน้าจออาจจะไม่ต้อง แค่ใช้สายตาหรือโบกมือไปที่จอภาพ หรือ
ใช้เสียงในการสื่อสารกับอุปกรณ์ ก็สามารถทาได้ทันที
WearableDevices อุปกรณ์จานวนมากจะเปลี่ยนไปเป็นอุปกรณ์แบบสวมใส่ได้ เช่นแว่นตาสมาร์ทหรือนาฬิกาสมาร์ท
ที่เริ่มมีใช้แบบมากขึ้นในอนาคต อุปกรณ์ดังกล่าวจะมีการเพิ่มเติมเข้าไปในเครื่องใช้ส่วนตัวเช่นเสื้อผ้าหรือแม้แต่รถยนต์
รูปที่ 1 แว่นตาแบบสมาร์ทของ Googleที่ชื่อGoogleGlasses
https://en.wikipedia.org/wiki/Google_Glass
รูปที่ 3 SmartTV ที่ทาให้ห้องนอนห้องรับแขก เป็นสถานที่รวมสื่อที่มีความสามารถหลากหลาย
รูปจากhttp://www.samsung.com/th/consumer/tv-av/tv/suhd/UA88KS9800KXXT
โทรทัศน์แบบสมาร์ท ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและ มีการเปิดเว็บหรือการแชร์ข้อมูลระหว่างมือถือกับโทรทัศน์
ด้วยWiFi และในไม่ช้าจะมีโทรทัศน์แบบอินเทอร์แร็คทีฟ(Interactive)
ที่ทาให้สามารถดูรายการและสืบค้นข้อมูลได้พร้อมๆกันหรือดูย้อนหลังได้ทันที ด้วยความคมชัดสูงมากระดับ4K
สิ่งพิมพ์ที่เป็น e-Ink และ e-Journalระบบจอที่งอ หรือโค้งงอได้ จะมาแทนที่กระดาษในวันนี้
เราเห็นเครื่องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์kindleของAmazon แต่ในไม่ช้า กระดาษและหมึกแบบอิเล็กทรอนิกส์
จะมาแทนที่ กระดาษแบบเดิมๆที่ทาลายสิ่งแวดล้อมและสามารถโหลดอะไรก็ได้
ไปอ่านได้อย่างรวดเร็วผ่านระบบเครือข่ายข้อมูลความเร็วสูงโดยกระดาษดังกล่
าวจะถูกพับใส่กระเป๋ าเสื้อแล้วคลี่ออกมาได้
รูปที่ 4 e-Paperที่โค้งงอและ พับได้ สามารถทาแทนกระดาษได้นับล้านแผ่นในแผ่นเดียว
ภาพจากhttp://abstract.co.in/wp-content/uploads/2014/09/E-paper.jpg
บริการบอกตาบลที่ (Geolocation)
ระบบGPSและบริการที่เกี่ยวเนื่องจะทาให้ไม่มีใครถูกทอดทิ้งผู้สูงวัยที่มีปัญหาเรื่องความจาจะถูกติดตาม
และ ช่วยเหลืออย่างรวดเร็วเมื่อหายตัวไประบบรถบริการสาธารณะจะมีบริการที่ทาให้ไม่ต้องรอรถนานเกินไปณ
จุดนัดหมายหรือ อาจจะทาให้คุณสามารถเรียกรถบริการสาธารณะไปรับที่หน้าบ้านหรือระบบรถไร้คนขับ
ที่เราบอกที่หมายรถจะวิ่งไปได้เองอย่างปลอดภัยซึ่งรถยนต์ไร้คนขับจากGoogle
ซึ่งก่อนหน้านี้ไดทาการวิ่งทดสอบบนถนนจริงที่ความเร็วของตัวรถที่ใช้ทดสอบนั้นจะอยู่ที่ 40km/h
และหน่วยงานด้านความปลอดภัยทางจราจรบนทางหลวงแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา(theNationalHighwayTraffic
SafetyAdministration – NHTSA) ประกาศยอมรับระบบไร้คนขับของGoogleในฐานะผู้ขับขี่เทียบเท่ากับมนุษย์
และสามารถควบคุมรถยนต์ได้
ระบบนี้จะทาให้ผู้ใช้ระบบสามารถกาหนดProfileของตนให้อุปกรณ์ และ พาหนะรับรู้ ความชอบส่วนบุคคล
เช่นพฤติกรรมการเคลื่อนที่ดนตรี และอุณหภูมิ ที่ชอบ เพื่อให้อุปกรณ์ปรับสิ่งแวดล้อมให้ตรงกับความต้องการของคนๆ
นั้น
รูปที่ 6 ระบบดาวเทียมGPS
ภาพจากhttp://www8.garmin.com/aboutGPS/
รูปที่ 6 รถไร้คนขับของGoogle
ภาพจากhttp://news.unseencar.com/tag/รถยนต์ไม่ต้องใช้คนขับ
ระบบติดตามรถประจาทางหรือSmartBus ก็เป็นสื่อใหม่ที่จะเข้ามาใช้งานในระบบเช่นกันโดยการพัฒนาSocialMedia
กับระบบติดตามรถโดยภราดรและคณะและนามาใช้แก้ปัญหาWorkerPickupProblem ที่เป็นปัญหาของโรงงาน
และ คนงานที่รอรถมารับณจุดรับส่ง(4)
รูปที่ 7 โครงการระบบสมาร์ทบัสทาให้การเดินทางไปทางานได้อย่างสะดวกและทาให้คนงานไม่ต้องรอคอยรถรับส่งนานๆ
Social Media สื่อสังคม
ปัจจุบันนี้มีการใช้สื่อสังคมมากมายและมีผลต่อผู้รับสื่อไม่เท่ากันมีการพยายามวัดผลการใช้สื่อสังคมของ
บริษัทปตท.จากัด มหาชนโดยอัจฉรา ฉัตรเฉลิมพลและคณะ(5) ตลอดจน มีการประยุกต์สื่อสังคมในการพัฒนา
SmartFarm ของ สามารถดวงวิจิตรกุลและคณะที่ทาให้เห็นว่าเกษตรกรชาวสวนทุเรียน
สามารถใช้สื่อสังคมในการติดต่อกับลูกค้าได้เป็นอย่างดี (6)
บันเทิง และ สาระ
ข่าวสารและบันเทิง จะมีระบบคัดสรร มาให้บริการกับผู้ใช้งานตามลักษณะที่ผู้ใช้งานระบุลงไปในโปรไฟล์เช่น
ข่าวต่างประเทศ(ประเทศไหน)ข่าวในประเทศ(หมวดหมู่ใด)ข่าวบันเทิง (ด้านใด)ตลอดจนสารคดีและภาพยนตร์ ที่
ต้องการดูโดยแยกหมวดหมู่ความสนใจและอายุที่ชัดเจน
เกมในยุคต่อไปเกมจะเป็นเกมออนไลน์ ที่สามารถรวมกลุ่มเล่นกับเพื่อนที่อยู่ไกลออกไป
และยังมีเกมแบบเสมือนที่สามารถอวตารลงไปเล่นเสมือนเป็นตัวละครได้จริงๆ (RPG)เกมที่เป็นกีฬาเช่นฟุตบอล
บาสเกตบอลจะเสมือนจริงมากขึ้นจนแทบแยกไม่ออกระหว่างจริงหรือเสมือน ในโลกไซเบอร์ กับโลกจริงผู้คนจะมีID
มากกว่าหนึ่งบางคนอาจจะมีมากกว่าสิบเพื่อเป็นใครก็ได้ ทั้งเศรษฐียาจกตารวจหรือโจรและ ตายได้หลายครั้งในเกม
ล่าสุดเกม PokemonGOทาให้เกมกับโลกความจริงอยู่ด้วยกันแบบแนบแน่นโดยเทคโนโลยีAR(Augmented Reality)
รวมตัวเกมกับโลกจริงผ่านแผนที่ของGoogleได้อย่างแนบเนียนจนคนติดเกมนี้นับร้อยล้านคนในเวลาไม่ถึงสองเดือน
รูปที่ 8 PokemonGoเกมเขย่าโลกคนปกติเดินหาสัตว์ประหลาดดิจิตอลในโลกแห่งความจริง
ภาพจากhttp://www.forbes.com/sites/andyrobertson/2015/09/10/pokemon-go-ios/#e72368a75021
สารคดีในอนาคต จะทาให้เสมือนจริงโดยใช้ AR นักท่องเที่ยวเดินทางไปที่อยุธยาเห็นซากปรักหักพัง
จะสามารถใช้มือถือของตนส่องลงไปและเห็นภาพเมืองในอดีตซ้อนขึ้นมาจากเมืองเก่าได้ ซึ่งงานประเภทนี้
ยังมีให้ทาอีกมากมายในประเทศไทย นอกจากนั้นWearableDeviceเช่น แว่นตาสมาร์ทจะทาให้สามารถมองเห็นข้อมูล
ด้วยการมองผ่านแว่นได้ทันที
รูปที่ 9 แสดงความสัมพันธ์ของWearableComputingกับเรื่องอื่นๆในบริบทของเทคโนโลยีสารสนเทศ(ภาพจาก
http://www.itpro.co.uk/mobile/22175/wearable-technology-could-boost-workplace-productivity)
Wikipediaและสื่อที่เป็นเว็บจะมาแทนที่สิ่งพิมพ์ทั้งหมดและสามารถอ้างอิงได้
Youtubeจะเป็นสื่อที่มีคลิปและ สาระตลอดจนสิ่งที่ไม่เป็นสาระทั้งหมดมารวมกัน
และยังสามารถส่งสารในรูปแบบต่างๆได้มากมายทั้งเสียงภาพคลิปและ สื่อสามมิติอาจจะเป็นโฮโลแกรมได้
ปัญหา ของสื่อใหม่ในบริบทสังคมไทย
สื่อสารสนเทศและการสื่อสารจะเกิดการหลอมรวมหรือConvergence อย่างรวดเร็วจนในที่สุดสื่อ
และเครือข่ายแบบเดิมจะถูกแทนที่ความเข้าใจในบริบทที่เรียกว่ารู้เท่าทันสื่อหรือ
ความต้องการในการพัฒนาสื่อที่มีความดึงดูดผู้ชมจนเกิดเป็นการแข่งขันเพื่อให้ผู้บริโภคเกิดภาวะเสพติดสื่อ
เช่นการติดเกมออนไลน์การติดเฟสติดไลน์หรือการติดการกระจายภาพในระบบสตรีมมิ่งผ่านFacebookLive,
YoutubeStreamingChannel และBiko Live ที่สามารถใช้ความสามารถของโครงข่ายสื่อสารความเร็วสูงมาทา
TeleConferenceแบบ Socialได้อย่างสนุกสนานและง่ายปรากฏการณ์ดังกล่าวจะทาให้มีการพัฒนาเกมและ
โปรแกรมสื่อสารตลอดจนสื่อในรูปแบบต่างๆมากขึ้นภาครัฐภาคการศึกษาและธุรกิจ
จะมีปัญหาที่จะตามเทคโนโลยีไม่ทันภาครัฐเช่นกระทรวงดิจิตอลและกสทช.
ก็จะไม่สามารถควบคุมความเหมาะสมของสื่อใหม่ๆหรืออาจจะไม่มีทรัพยากรที่เพียงพอในการบริหารจัดการสิ่งเหล่านี้
การควบคุมแบบเข้มงวด นอกจากจะทาได้ยากแล้วยังมีปัญหาเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสื่ออีกด้วย
ข้อเสนอการวิจัยที่เกี่ยวกับสื่อใหม่ในระยะต้น น่าจะมีดังนี้
1. การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการศึกษาในด้านต่างๆด้วย AR, Hologram สื่อใหม่ๆ
2. การวิจัยเพื่อพัฒนาภูมิคุ้มกันทางสังคมหรือการจัดเรทติ้งสื่อใหม่
3. การวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม
4. การวิจัยเรื่องเสรีภาพของสื่อใหม่และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกากับดูแลสื่อใหม่
5. การวิจัยเรื่องผลกระทบของสื่อสังคมกับสังคมไทย
6. การวิจัยเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่
7. การสร้างบุคลากรและการพัฒนาองค์ความรู้ที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่
8. เทคโนโลยีใหม่ๆกับการBroadcastingด้วยราคาไม่แพงและสามารถสร้างสรรค์รายการได้ด้วยจนเอง
(BroadcastYourself:Desktop Studio)
9. เกมแบบAR และเกมมือถือกับปัญหาสังคมไทย
ฯลฯ
สรุป และ ข้อเสนอแนะ
สื่อใหม่ เป็นโอกาสทางธุรกิจเทคโนโลยีตลอดจนอาจจะเป็นภัยคุกคามทางสังคมและวัฒนธรรม
มีโอกาสมากมายที่เราจะได้พัฒนาสื่อและป้อนตลาดโลกแต่ในมุมกลับกันหากเราไม่พร้อมเราจะเสียโอกาสและ
จะเผชิญกับภัยคุกคามใหม่ที่จะนาประเทศเข้าสู่ความถดถอยทั้งทางสังคมและ วัฒนธรรมดังนั้นการวิจัย
เพื่อหาจุดอ่อนและ สร้างโอกาสในการพัฒนาระบบใหม่ๆที่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอนในเวลาไม่เกินห้าถึงสิบปีข้างหน้า
จะต้องทาอย่างเร่งด่วนและต่อเนื่องไปเรื่อยๆหวังว่านักวิจัยที่ได้อ่านบทความนี้จะได้นาไปใช้ในการวิจัยและพัฒนาต่อไป
เอกสารอ้างอิง
[1] http://www.newmedia.org/what-is-new-media.html
[2] http://webfoundation.org/about/vision/history-of-the-web/
[3] https://numbering.nbtc.go.th
[4] ParadornKhongmanee,WuttipongPongsuwan,Suchai Thanawastien,SmartBus: Traffic and Safetyfor
SmartLabour,Proceedingin8th International Conferenceon GlobalBusinessEnvironment (ICGBE-2016)
Bangkok,Thailand,July23-24,2016
[5] Achara Chatchalermpol,WuttipongPongsuwan,LeelavadeeVajropala, SOCIALMEDIA PERCEPTION
AFFECTING THE BUSINESSOFPTTPUBLIC COMPANY LIMITED, JOURNAL INFORMATION
MANAGEMENT AND BUSINESSREVIEW (IMBR), VOL 8, NO 3,2016
[6] SamardDoungwichitrkul,WuttipongPongsuwan,SuchaiThanawastien,SocialCommunicationforSmart
Farmers:ACase Studyon DurianFarmers,Proceedinginthe 3rd Asian SymposiumonEducation,Equityand
SocialJustice heldin Fukuoka,Japan fromAugust 2-3,2016.

Contenu connexe

Tendances

เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อRujroad Kaewurai
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์Wannapaainto8522
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อRujroad Kaewurai
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSakulsri Srisaracam
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAngkan Mahawan
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นchaiwat vichianchai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำSarid Nonthing
 
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ETDAofficialRegist
 
Information Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyInformation Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyBoonlert Aroonpiboon
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้Kanda Runapongsa Saikaew
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์num norbnorm
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 

Tendances (20)

เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
Integrated social media approaches for effectively engaging youth
Integrated social media approaches for effectively engaging youthIntegrated social media approaches for effectively engaging youth
Integrated social media approaches for effectively engaging youth
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Social media for rpm 44, 45
Social media for rpm 44, 45Social media for rpm 44, 45
Social media for rpm 44, 45
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
ข่าวสั้นและบทความ CYBER THREATS 2018
 
Information Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge societyInformation Technology for Knowledge society
Information Technology for Knowledge society
 
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
ความรู้ไอทีช่วยเลี้ยงลูกได้
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

En vedette

สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่Watermalon Singha
 
สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้Drsek Sai
 
คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1Ping Knp
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponSurapon Boonlue
 
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่Mint Larksukthom
 
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์Chittraporn Phalao
 
Creative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishingCreative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishingBoonlert Aroonpiboon
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationBoonlert Aroonpiboon
 
การวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบัน
การวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบันการวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบัน
การวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบันBaiwei Beer
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อrainacid
 
Trends : Social Computing & Mobile Technology
Trends : Social Computing & Mobile TechnologyTrends : Social Computing & Mobile Technology
Trends : Social Computing & Mobile TechnologyBoonlert Aroonpiboon
 
การประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social media
การประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social mediaการประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social media
การประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social mediaSaran Yuwanna
 
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับSKETCHUP HOME
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์gingphaietc
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์Satapon Yosakonkun
 

En vedette (20)

สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
สื่อดั้งเดิม สื่อใหม่ ความแตกต่างระหว่างสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
 
สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้สื่อใหม่กับการเรียนรู้
สื่อใหม่กับการเรียนรู้
 
omeka-portable-startup
omeka-portable-startupomeka-portable-startup
omeka-portable-startup
 
คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1คุณลักษณะของสื่อ1
คุณลักษณะของสื่อ1
 
New media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysuraponNew media@kmut tbysurapon
New media@kmut tbysurapon
 
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
Comm 205สื่อเก่า สื่อใหม่
 
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
 
Creative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishingCreative Commons: New alternative to copy right media publishing
Creative Commons: New alternative to copy right media publishing
 
Digital Collection with Omeka
Digital Collection with OmekaDigital Collection with Omeka
Digital Collection with Omeka
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
Copyright : Digital Media
Copyright : Digital MediaCopyright : Digital Media
Copyright : Digital Media
 
การวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบัน
การวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบันการวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบัน
การวิเคราะห์สื่อเก่าและสื่อใหม่ในปัจจุบัน
 
การประชาสัมพันธ์ในสื่อใหม่
การประชาสัมพันธ์ในสื่อใหม่การประชาสัมพันธ์ในสื่อใหม่
การประชาสัมพันธ์ในสื่อใหม่
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
 
Trends : Social Computing & Mobile Technology
Trends : Social Computing & Mobile TechnologyTrends : Social Computing & Mobile Technology
Trends : Social Computing & Mobile Technology
 
การประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social media
การประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social mediaการประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social media
การประชาสัมพันธ์เชิงรุกในยุค Social media
 
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
ลองมาอ่านแนวคิดการทำงาน 3D,4D,5D ในมุมของ Sketchup ครับ
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
Social Media for Education
Social Media for EducationSocial Media for Education
Social Media for Education
 
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
 

Plus de Wuttipong Pongsuwan

Plus de Wuttipong Pongsuwan (7)

90Sep_Pongsuwan
90Sep_Pongsuwan90Sep_Pongsuwan
90Sep_Pongsuwan
 
ThorICBASS
ThorICBASSThorICBASS
ThorICBASS
 
smart อปท
smart อปทsmart อปท
smart อปท
 
The Smart Transportation for Smart labor (1)
The Smart Transportation for Smart labor (1)The Smart Transportation for Smart labor (1)
The Smart Transportation for Smart labor (1)
 
Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2
Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2
Paper for John Walsh Jul 23_2016-SamardEnglishV2
 
Journal_Internal conference John Walsh
Journal_Internal conference John WalshJournal_Internal conference John Walsh
Journal_Internal conference John Walsh
 
Journal_Internal conference_Achara
Journal_Internal conference_AcharaJournal_Internal conference_Achara
Journal_Internal conference_Achara
 

อนาคตของสื่อใหม่ กับ อนาคต ของประเทศไทย

  • 1. อนาคตของสื่อใหม่ กับอนาคต ของประเทศไทย นาวาตรี ดร.วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ บทคัดย่อ ปัจจุบันนี้(พ.ศ. 2559) สื่อใหม่ หรือ New Media มีบทบาทมากขึ้นตามลาดับจนสื่อแบบเดิมในระบบกระจายเสียงหรือ สิ่งพิมพ์ลดความสาคัญลงไปเรื่อยๆจนในที่สุดการสื่อสารแบบดิจิตอลอินเทอร์เรคทีฟ เกมและAR จะมาแทนที่การสื่อสารแบบเดิมดังนั้นเอกสารฉบับนี้จะเป็นการคาดการณ์เทคโนโลยีอนาคต โดยวิเคราะห์แนวโน้มจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และแน่นอนว่าอนาคตที่ไม่แน่นอนของสื่อใหม่ที่จะกลายเป็นสื่อเก่าในอนาคตคงมีการพัฒนาอีกมากมาย เอกสารฉบับนี้จะเป็นการนาเสนอความน่าจะเป็นของเทคโนโลยีที่จะมาแทนที่สื่อแบบดั้งเดิมภายใน10 ถึง 20 ปีข้างหน้า คานา สื่อใหม่ หรือNew Media (1) เป็นการพัฒนาระบบภาพเสียงอักษรและโปรแกรมประยุกต์เข้าด้วยกันและ เผยแพร่ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้เกิดสื่อที่มีความคมชัดมีปฏิสัมพันธ์และเรียกได้ตามต้องการ การเริ่มต้นของWorldWideWeb โดยเซอร์ ทิม เบอร์เนอร์ ลี ที่ CERN เมื่อประมาณ25 ปีที่ผ่านมา (August 6th 1991) (2) เพื่อจุดประสงค์แค่แชร์ข้อมูลเท่านั้นทาให้เกิดWebสิ่งนี้ขึ้นมาและขยายตัวมาจนถึงปัจจุบันที่เป็นยุดของIoTsหรือ Internet of Thingsที่เราสามารถแชร์ ประสบการณ์สื่อมัลติมีเดียการทางานและที่สาคัญคือการแชร์สิ่งที่ไม่ใช่Soft แต่เป็นของจริงๆ อีกด้วย สื่อสารสนเทศและการสื่อสารเกิดการหลอมรวมเข้าด้วยกันโดยเริ่มประมาณช่วงปี ค.ศ.1990 - ค.ศ. 2000 โดยการเริ่มต้นของการทาธุรกิจดอทคอม (Dot Com)ที่สร้างธุรกิจที่มีการเติมโตโดยฐานของระบบอินเทอร์เน็ต ที่เดิมเคยถูกควบคุมโดยโครงการARPA(Advanced Research ProjectAgency) และ ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ในการดูแลของNFS(NationalScienceFoundation)ทาให้ การพัฒนาธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีการขยายตัวอย่างมากโดยเกิดธุรกิจที่มีมูลค่ามหาศาล เช่น e-Bay, Amazon, Yahoo,Google,Youtube และ Facebookเป็นต้น มีคนถามธุรกิจอะไรจะเกิดได้อีกต่อไปซึ่ง คาตอบคงไม่ได้จากัดแค่รูปแบบที่เคยเกิดขึ้นเท่านั้นการพัฒนา Web2.0และเครือข่ายสังคมก็ได้สร้างธุรกิจต่างๆ ขึ้นอีกมากมายประมาณการได้ว่าโลกเสมือนหรือCyber Worldนั้นสามารถขยายออกไปและมีรูปแบบต่างๆ
  • 2. ได้ไม่จากัดจะจากัดก็ที่จินตนาการของมนุษย์จะสร้างขึ้นจะเห็นได้ว่ามีการสร้างอุปกรณ์ และสื่อต่างๆในรูปแบบต่างๆ มากมายเช่น SmartPhone,GoogleGlass,SmartWatch,Hologram และAR (AugmentedReality) ออกมาขาย หรือทาเป็นเกม และยังมีบริการเช่น YoutubeChannel, FacebookLive, Biko, และ เกมส์ต่างๆมากมายให้บริการ และ มีโครงการStartUp ทางธุรกิจเพื่อพัฒนาธุรกิจใหม่ๆอีกมากมายเช่นUBER,GrabTaxi และอื่นๆ อีกมากมายทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทั้งทางฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ เครือข่ายทั้งแบบมีสายและไร้สายตลอดจนเครือข่ายมือถือ3G4G และ5G ปัจจันนี้มีการจัดสรรเลขหมายโทรศัพท์เคลื่อนที่ไปแล้วประมาณสองร้อยล้านเลขหมาย (3) จะเห็นได้ว่าโลกพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งทาให้เกิดความต้องการใหม่ๆอีกมากมาย ในกรณีของสื่อใหม่ขอสรุปความต้องการการวิจัยในอนาคตไว้ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์ ที่นาเสนอข้อมูลและส่วนต่อประสานผู้ใช้ ปัจจุบันนี้เราจะเห็นว่าคนจานวนมากใช้จอภาพแบบสัมผัสเป็นระบบติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์และเครื่องมือ ในอนาคตอันใกล้ การสัมผัสหน้าจออาจจะไม่ต้อง แค่ใช้สายตาหรือโบกมือไปที่จอภาพ หรือ ใช้เสียงในการสื่อสารกับอุปกรณ์ ก็สามารถทาได้ทันที WearableDevices อุปกรณ์จานวนมากจะเปลี่ยนไปเป็นอุปกรณ์แบบสวมใส่ได้ เช่นแว่นตาสมาร์ทหรือนาฬิกาสมาร์ท ที่เริ่มมีใช้แบบมากขึ้นในอนาคต อุปกรณ์ดังกล่าวจะมีการเพิ่มเติมเข้าไปในเครื่องใช้ส่วนตัวเช่นเสื้อผ้าหรือแม้แต่รถยนต์ รูปที่ 1 แว่นตาแบบสมาร์ทของ Googleที่ชื่อGoogleGlasses https://en.wikipedia.org/wiki/Google_Glass
  • 3. รูปที่ 3 SmartTV ที่ทาให้ห้องนอนห้องรับแขก เป็นสถานที่รวมสื่อที่มีความสามารถหลากหลาย รูปจากhttp://www.samsung.com/th/consumer/tv-av/tv/suhd/UA88KS9800KXXT โทรทัศน์แบบสมาร์ท ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและ มีการเปิดเว็บหรือการแชร์ข้อมูลระหว่างมือถือกับโทรทัศน์ ด้วยWiFi และในไม่ช้าจะมีโทรทัศน์แบบอินเทอร์แร็คทีฟ(Interactive) ที่ทาให้สามารถดูรายการและสืบค้นข้อมูลได้พร้อมๆกันหรือดูย้อนหลังได้ทันที ด้วยความคมชัดสูงมากระดับ4K สิ่งพิมพ์ที่เป็น e-Ink และ e-Journalระบบจอที่งอ หรือโค้งงอได้ จะมาแทนที่กระดาษในวันนี้ เราเห็นเครื่องอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์kindleของAmazon แต่ในไม่ช้า กระดาษและหมึกแบบอิเล็กทรอนิกส์ จะมาแทนที่ กระดาษแบบเดิมๆที่ทาลายสิ่งแวดล้อมและสามารถโหลดอะไรก็ได้ ไปอ่านได้อย่างรวดเร็วผ่านระบบเครือข่ายข้อมูลความเร็วสูงโดยกระดาษดังกล่ าวจะถูกพับใส่กระเป๋ าเสื้อแล้วคลี่ออกมาได้
  • 4. รูปที่ 4 e-Paperที่โค้งงอและ พับได้ สามารถทาแทนกระดาษได้นับล้านแผ่นในแผ่นเดียว ภาพจากhttp://abstract.co.in/wp-content/uploads/2014/09/E-paper.jpg บริการบอกตาบลที่ (Geolocation) ระบบGPSและบริการที่เกี่ยวเนื่องจะทาให้ไม่มีใครถูกทอดทิ้งผู้สูงวัยที่มีปัญหาเรื่องความจาจะถูกติดตาม และ ช่วยเหลืออย่างรวดเร็วเมื่อหายตัวไประบบรถบริการสาธารณะจะมีบริการที่ทาให้ไม่ต้องรอรถนานเกินไปณ จุดนัดหมายหรือ อาจจะทาให้คุณสามารถเรียกรถบริการสาธารณะไปรับที่หน้าบ้านหรือระบบรถไร้คนขับ ที่เราบอกที่หมายรถจะวิ่งไปได้เองอย่างปลอดภัยซึ่งรถยนต์ไร้คนขับจากGoogle ซึ่งก่อนหน้านี้ไดทาการวิ่งทดสอบบนถนนจริงที่ความเร็วของตัวรถที่ใช้ทดสอบนั้นจะอยู่ที่ 40km/h และหน่วยงานด้านความปลอดภัยทางจราจรบนทางหลวงแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา(theNationalHighwayTraffic SafetyAdministration – NHTSA) ประกาศยอมรับระบบไร้คนขับของGoogleในฐานะผู้ขับขี่เทียบเท่ากับมนุษย์ และสามารถควบคุมรถยนต์ได้ ระบบนี้จะทาให้ผู้ใช้ระบบสามารถกาหนดProfileของตนให้อุปกรณ์ และ พาหนะรับรู้ ความชอบส่วนบุคคล เช่นพฤติกรรมการเคลื่อนที่ดนตรี และอุณหภูมิ ที่ชอบ เพื่อให้อุปกรณ์ปรับสิ่งแวดล้อมให้ตรงกับความต้องการของคนๆ นั้น รูปที่ 6 ระบบดาวเทียมGPS ภาพจากhttp://www8.garmin.com/aboutGPS/
  • 5. รูปที่ 6 รถไร้คนขับของGoogle ภาพจากhttp://news.unseencar.com/tag/รถยนต์ไม่ต้องใช้คนขับ ระบบติดตามรถประจาทางหรือSmartBus ก็เป็นสื่อใหม่ที่จะเข้ามาใช้งานในระบบเช่นกันโดยการพัฒนาSocialMedia กับระบบติดตามรถโดยภราดรและคณะและนามาใช้แก้ปัญหาWorkerPickupProblem ที่เป็นปัญหาของโรงงาน และ คนงานที่รอรถมารับณจุดรับส่ง(4)
  • 6. รูปที่ 7 โครงการระบบสมาร์ทบัสทาให้การเดินทางไปทางานได้อย่างสะดวกและทาให้คนงานไม่ต้องรอคอยรถรับส่งนานๆ Social Media สื่อสังคม ปัจจุบันนี้มีการใช้สื่อสังคมมากมายและมีผลต่อผู้รับสื่อไม่เท่ากันมีการพยายามวัดผลการใช้สื่อสังคมของ บริษัทปตท.จากัด มหาชนโดยอัจฉรา ฉัตรเฉลิมพลและคณะ(5) ตลอดจน มีการประยุกต์สื่อสังคมในการพัฒนา SmartFarm ของ สามารถดวงวิจิตรกุลและคณะที่ทาให้เห็นว่าเกษตรกรชาวสวนทุเรียน สามารถใช้สื่อสังคมในการติดต่อกับลูกค้าได้เป็นอย่างดี (6)
  • 7. บันเทิง และ สาระ ข่าวสารและบันเทิง จะมีระบบคัดสรร มาให้บริการกับผู้ใช้งานตามลักษณะที่ผู้ใช้งานระบุลงไปในโปรไฟล์เช่น ข่าวต่างประเทศ(ประเทศไหน)ข่าวในประเทศ(หมวดหมู่ใด)ข่าวบันเทิง (ด้านใด)ตลอดจนสารคดีและภาพยนตร์ ที่ ต้องการดูโดยแยกหมวดหมู่ความสนใจและอายุที่ชัดเจน เกมในยุคต่อไปเกมจะเป็นเกมออนไลน์ ที่สามารถรวมกลุ่มเล่นกับเพื่อนที่อยู่ไกลออกไป และยังมีเกมแบบเสมือนที่สามารถอวตารลงไปเล่นเสมือนเป็นตัวละครได้จริงๆ (RPG)เกมที่เป็นกีฬาเช่นฟุตบอล บาสเกตบอลจะเสมือนจริงมากขึ้นจนแทบแยกไม่ออกระหว่างจริงหรือเสมือน ในโลกไซเบอร์ กับโลกจริงผู้คนจะมีID มากกว่าหนึ่งบางคนอาจจะมีมากกว่าสิบเพื่อเป็นใครก็ได้ ทั้งเศรษฐียาจกตารวจหรือโจรและ ตายได้หลายครั้งในเกม ล่าสุดเกม PokemonGOทาให้เกมกับโลกความจริงอยู่ด้วยกันแบบแนบแน่นโดยเทคโนโลยีAR(Augmented Reality) รวมตัวเกมกับโลกจริงผ่านแผนที่ของGoogleได้อย่างแนบเนียนจนคนติดเกมนี้นับร้อยล้านคนในเวลาไม่ถึงสองเดือน รูปที่ 8 PokemonGoเกมเขย่าโลกคนปกติเดินหาสัตว์ประหลาดดิจิตอลในโลกแห่งความจริง ภาพจากhttp://www.forbes.com/sites/andyrobertson/2015/09/10/pokemon-go-ios/#e72368a75021 สารคดีในอนาคต จะทาให้เสมือนจริงโดยใช้ AR นักท่องเที่ยวเดินทางไปที่อยุธยาเห็นซากปรักหักพัง จะสามารถใช้มือถือของตนส่องลงไปและเห็นภาพเมืองในอดีตซ้อนขึ้นมาจากเมืองเก่าได้ ซึ่งงานประเภทนี้ ยังมีให้ทาอีกมากมายในประเทศไทย นอกจากนั้นWearableDeviceเช่น แว่นตาสมาร์ทจะทาให้สามารถมองเห็นข้อมูล ด้วยการมองผ่านแว่นได้ทันที
  • 8. รูปที่ 9 แสดงความสัมพันธ์ของWearableComputingกับเรื่องอื่นๆในบริบทของเทคโนโลยีสารสนเทศ(ภาพจาก http://www.itpro.co.uk/mobile/22175/wearable-technology-could-boost-workplace-productivity) Wikipediaและสื่อที่เป็นเว็บจะมาแทนที่สิ่งพิมพ์ทั้งหมดและสามารถอ้างอิงได้ Youtubeจะเป็นสื่อที่มีคลิปและ สาระตลอดจนสิ่งที่ไม่เป็นสาระทั้งหมดมารวมกัน และยังสามารถส่งสารในรูปแบบต่างๆได้มากมายทั้งเสียงภาพคลิปและ สื่อสามมิติอาจจะเป็นโฮโลแกรมได้ ปัญหา ของสื่อใหม่ในบริบทสังคมไทย สื่อสารสนเทศและการสื่อสารจะเกิดการหลอมรวมหรือConvergence อย่างรวดเร็วจนในที่สุดสื่อ และเครือข่ายแบบเดิมจะถูกแทนที่ความเข้าใจในบริบทที่เรียกว่ารู้เท่าทันสื่อหรือ ความต้องการในการพัฒนาสื่อที่มีความดึงดูดผู้ชมจนเกิดเป็นการแข่งขันเพื่อให้ผู้บริโภคเกิดภาวะเสพติดสื่อ เช่นการติดเกมออนไลน์การติดเฟสติดไลน์หรือการติดการกระจายภาพในระบบสตรีมมิ่งผ่านFacebookLive, YoutubeStreamingChannel และBiko Live ที่สามารถใช้ความสามารถของโครงข่ายสื่อสารความเร็วสูงมาทา TeleConferenceแบบ Socialได้อย่างสนุกสนานและง่ายปรากฏการณ์ดังกล่าวจะทาให้มีการพัฒนาเกมและ โปรแกรมสื่อสารตลอดจนสื่อในรูปแบบต่างๆมากขึ้นภาครัฐภาคการศึกษาและธุรกิจ จะมีปัญหาที่จะตามเทคโนโลยีไม่ทันภาครัฐเช่นกระทรวงดิจิตอลและกสทช. ก็จะไม่สามารถควบคุมความเหมาะสมของสื่อใหม่ๆหรืออาจจะไม่มีทรัพยากรที่เพียงพอในการบริหารจัดการสิ่งเหล่านี้ การควบคุมแบบเข้มงวด นอกจากจะทาได้ยากแล้วยังมีปัญหาเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสื่ออีกด้วย ข้อเสนอการวิจัยที่เกี่ยวกับสื่อใหม่ในระยะต้น น่าจะมีดังนี้ 1. การวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการศึกษาในด้านต่างๆด้วย AR, Hologram สื่อใหม่ๆ
  • 9. 2. การวิจัยเพื่อพัฒนาภูมิคุ้มกันทางสังคมหรือการจัดเรทติ้งสื่อใหม่ 3. การวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาเด็กติดเกม 4. การวิจัยเรื่องเสรีภาพของสื่อใหม่และกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการกากับดูแลสื่อใหม่ 5. การวิจัยเรื่องผลกระทบของสื่อสังคมกับสังคมไทย 6. การวิจัยเพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่ 7. การสร้างบุคลากรและการพัฒนาองค์ความรู้ที่จาเป็นต่อการพัฒนาสื่อใหม่ 8. เทคโนโลยีใหม่ๆกับการBroadcastingด้วยราคาไม่แพงและสามารถสร้างสรรค์รายการได้ด้วยจนเอง (BroadcastYourself:Desktop Studio) 9. เกมแบบAR และเกมมือถือกับปัญหาสังคมไทย ฯลฯ สรุป และ ข้อเสนอแนะ สื่อใหม่ เป็นโอกาสทางธุรกิจเทคโนโลยีตลอดจนอาจจะเป็นภัยคุกคามทางสังคมและวัฒนธรรม มีโอกาสมากมายที่เราจะได้พัฒนาสื่อและป้อนตลาดโลกแต่ในมุมกลับกันหากเราไม่พร้อมเราจะเสียโอกาสและ จะเผชิญกับภัยคุกคามใหม่ที่จะนาประเทศเข้าสู่ความถดถอยทั้งทางสังคมและ วัฒนธรรมดังนั้นการวิจัย เพื่อหาจุดอ่อนและ สร้างโอกาสในการพัฒนาระบบใหม่ๆที่จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอนในเวลาไม่เกินห้าถึงสิบปีข้างหน้า จะต้องทาอย่างเร่งด่วนและต่อเนื่องไปเรื่อยๆหวังว่านักวิจัยที่ได้อ่านบทความนี้จะได้นาไปใช้ในการวิจัยและพัฒนาต่อไป เอกสารอ้างอิง [1] http://www.newmedia.org/what-is-new-media.html [2] http://webfoundation.org/about/vision/history-of-the-web/ [3] https://numbering.nbtc.go.th [4] ParadornKhongmanee,WuttipongPongsuwan,Suchai Thanawastien,SmartBus: Traffic and Safetyfor SmartLabour,Proceedingin8th International Conferenceon GlobalBusinessEnvironment (ICGBE-2016) Bangkok,Thailand,July23-24,2016
  • 10. [5] Achara Chatchalermpol,WuttipongPongsuwan,LeelavadeeVajropala, SOCIALMEDIA PERCEPTION AFFECTING THE BUSINESSOFPTTPUBLIC COMPANY LIMITED, JOURNAL INFORMATION MANAGEMENT AND BUSINESSREVIEW (IMBR), VOL 8, NO 3,2016 [6] SamardDoungwichitrkul,WuttipongPongsuwan,SuchaiThanawastien,SocialCommunicationforSmart Farmers:ACase Studyon DurianFarmers,Proceedinginthe 3rd Asian SymposiumonEducation,Equityand SocialJustice heldin Fukuoka,Japan fromAugust 2-3,2016.