SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
กฎหมายมรดก
1. ข้อความเบื้องต้น
การบังคับใช้กฎหมายมรดกก็เช่นเดียวกับกฎหมายครอบครัวที่ได้มีการผ่อนปรนไม่นา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 มรดก ไปใช้ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่
จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล สาหรับคดีที่มีลักษณะครบ 3 ประการคือ 1.คดีนั้น
เป็นคดีแพ่งเกี่ยวด้วยมรดก 2.คู่กรณีทุกฝ่ายต้องเป็นผู้นับถือศาสนาอิสลามและ 3.คดีนั้นต้อง
เกิดในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลาและสตูล คดีดังกล่าวข้างต้นจะต้องนากฎหมายอิสลาม
ว่าด้วยมรดกมาบังคับใช้แทนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 มรดกเสมอ
2. ความหมายของมรดก
มรดกหรือกองมรดก ของผู้ตายหมายถึง ทรัพย์สินของผู้ตาย รวมถึงสิทธิ
หน้าที่ และความรับผิดชอบต่างๆของผู้ตายที่มีอยู่ขณะตาย เว้นแต่ทรัพย์สิน สิทธิ
หน้าที่ และความรับผิดชอบนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตัวโดยแท้ของผู้ตาย เช่น บ้าน รถ ที่ดิน
เป็นต้น
ส่วนทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่และความรับผิดที่มีลักษณะ เป็นการเฉพาะตัว
โดยแท้ของผู้ตาย ย่อมไม่เป็นมรดกเช่น สิทธิอาศัย สิทธิเก็บเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ
หน้าที่ และความรับผิดซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง เจ้าของมรดกถึงแก่ความตายย่อมไม่เป็น
มรดก
3. เวลาที่มรดกตกทอดแก่ทายาท
มรดกจะตกทอดไปสู่ทายาทเมื่อเจ้าของมรดกตาย
มีข้อสังเกตว่า “เจ้ามรดก” ต้องเป็ นบุคคลธรรมดาเท่านั้น
นิติบุคคลไม่สามารถเป็ นเจ้ามรดกได้
4. ผู้มีสิทธิได้รับมรดก
มรดกจะตกทอดไปยังทายาทที่มีชีวิตอยู่ขณะที่
เจ้าของมรดกตาย ผู้มีสิทธิได้รับมรดกแบ่งออกเป็ น
2 ประเภท ได้แก่
 ทายาทโดยธรรม
 ผู้รับพินัยกรรม
4.1 ทายาทโดยธรรม
ทายาทโดยธรรม หมายถึง ทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดกตาม
กฎหมาย อันได้แก่ประเภทญาติ และคู่สมรส
 ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ มีลาดับในการรับมรดก ดังนี้
ลาดับที่ 1 ผู้สืบสันดาน ได้แก่ บุตร บุตรบุญธรรม และบุตรนอก
กฎหมาย
ลาดับที่ 2บิดามารดา
ลาดับที่ 3พี่น้องร่วมบิดารมารดาเดียวกัน
ลาดับที่ 4พี่น้อง ร่วมเฉพาะบิดาเดียวกัน หรือเฉพาะมารดา
ลาดับที่ 5ปู่ ย่า ตา ยาย
ลาดับที่ 6ลุง ป้ า น้า อา
ใช้หลักญาติสนิทตัดญาติห่าง
4.2 ผู้รับพินัยกรรม
ผู้รับพินัยกรรม หมายถึง บุคคลซึ่งผู้ตายทาพินัยกรรมยก
ทรัพย์สิน อันเป็ นทรัพย์มรดกให้ผู้รับพินัยกรรม
ผู้รับพินัยกรรม อาจเป็ นญาติพี่น้องของผู้ตาย หรือ
บุคคลภายนอกก็ได้ อาจเป็ นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคลก็ได้
 ผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิได้รับมรดกก่อนทายาทเสมอ
 หากเจ้าของมรดก ทาพินัยกรรมมอบสมบัติทั้งหมดให้ผู้รับ
พินัยกรรม ทายาทก็ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดกเลย
5. การรับมรดกของพระภิกษุสงฆ์
ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างเวลาที่บวช
อยู่ ตกเป็ นสมบัติของวัดที่เป็ น
ภูมิลาเนาของพระภิกษุ เว้น
แต่จะได้ทาพินัยกรรมยก
ให้แก่ผู้อื่น
ทรัพย์สินที่ได้มาก่อนบวชเป็ น
พระภิกษุ
ไม่ตกเป็ นสมบัติของวัดแต่ให้
เป็ นมรดกตกทอดแก่ทายาทของ
พระภิกษุ
6. การเสียสิทธิในการรับมรดก
• การถูกกาจัดไม่ให้รับมรดก
•การถูกตัดไม่ให้รับมรดก
•การสละมรดก
7. พินัยกรรม
7.1 ความหมายของพินัยกรรม
พินัยกรรม หมายถึง นิติกรรมซึ่งบุคคลได้แสดงเจตนาฝ่ายเดียว
กาหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ตลอดจนความ
รับผิดชอบของตนเมื่อตนได้ตายไปแล้ว โดยพินัยกรรมต้องทาตามแบบที่
กฎหมายกาหนดเท่านั้น
7. พินัยกรรม (ต่อ)
7.2 ผู้ทาพินัยกรรม
• ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องมีอายุอย่างน้อย 15 ปี
บริบูรณ์
• คนไร้ความสามารถจะทาพินัยกรรมไม่ได้
• พินัยกรรมที่ทาขึ้นโดยคนวิกลจริตจะตกเป็ น
โมฆะ
* ข้อสังเกต
7. พินัยกรรม (ต่อ)
7.3 บุคคลที่ไม่สามารถเป็ นผู้รับพินัยกรรมได้
1. ผู้เขียนนินัยกรรมและ
คู่ สมรสของผู้เขี ยน
พินัยกรรม
2. พยานในพินัยกรรม
และคู่สมรสของพยานใน
พินัยกรรม
3. พนักงานเจ้าหน้าที่
และคู่สมรสของพนักงาน
เจ้าหน้าที่
4. ในกรณีที่ผู้เยาว์ทา
พินัยกรรม ผู้ปกครอง
รวมไปถึงคู่สมรส บุพการี
หรือผู้สืบสันดาน หรือพี่
น้องของผู้ปกครองจะ
เป็ นผู้รับพินัยกรรมไม่ได้
7. พินัยกรรม (ต่อ)
7.4 บุคคลที่ไม่สามารถเป็ นพยานในการทา
พินัยกรรมได้
ไม่บรรลุนิติภาวะ
คนวิกลจริต
คนไร้ความสามารถ
หูหนวก
เป็ นใบ้
ตาบอดทั้ง2ข้าง
7. พินัยกรรม (ต่อ)
7.5 แบบของพินัยกรรม
1. พินัยกรรมแบบธรรมดา
- ต้องทาเป็ นหนังสือ เขียน&พิมพ์ได้
- ต้องลง วัน เดือน ปี ขณะที่ทาพินัยกรรม
- ต้องลงลายมือชื่อต่อหน้าพยาน
2. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
- ต้องทาเป็ นหนังสือ ต้องเขียนด้วยลายมือของตนเองทั้งฉบับ
- ต้องลง วัน เดือน ปี ขณะที่ทาพินัยกรรม
- ต้องลงลายมือชื่อไว้ในพินัยกรรมโดยไม่จาเป็ นต้องมีพยาน
7. พินัยกรรม (ต่อ)
7.5 แบบของพินัยกรรม (ต่อ)
3. พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง
- ต้องไปแจ้งความที่ตนประสงค์ให้ใส่ไว้ในพินัยกรรมนายอาเภอต่อหน้าพยานอย่าง
น้อย 2คน
- นายอาเภอต้องจดข้อความที่ผู้ทาพินัยกรรมแจ้งให้ทราบและอ่านข้อความนั้นให้
ผู้ทาพินัยกรรมและพยานฟัง
- ผู้ทาพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อในพินัยกรรมนั้น
- นายอาเภอลงลายมือชื่อ และวันที่ เดือน ปี จดลงในพินัยกรรมแล้วประทับตรา
ตาแหน่ง
4. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
- ต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม
- ต้องปิ ดผนึกพินัยกรรมและลงลายมือชื่อบนรอยปิดผนึก
- ต้องนาพินัยกรรมที่ปิ ดผนึกไปแสดงต่อนายอาเภอและพยานอย่างน้อย 2คน
- นายอาเภอจดถ้อยคาของผู้ทา และวัน เดือน ปี ไว้บนซองและประทับตรา
ตาแหน่งแล้วให้นายอาเภอ ผู้ทาพินัยกรรม และพยานลงลายมือชื่อบนซอง
7. พินัยกรรม (ต่อ)
7.5 แบบของพินัยกรรม (ต่อ)
5. พินัยกรรมแบบทาด้วยวาจา
- ต้องมีพฤติการณ์พิเศษ ผู้ทาพินัยกรรมไม่สามารถทาพินัยกรรมตามแบบอื่นที่
กฎหมายกาหนดไว้ได้
- ต้องแสดงเจตนาทาพินัยกรรมต่อพยานอย่างน้อย 2 คน
- พยานทั้งสองต้องแสดงตนต่อนายอาเภอโดยไม่ชักช้าและแจ้งข้อความได้สั่ง
ไว้ด้วยวาจา แจ้งวันเดือนปี สถานที่ทาพินัยกรรม
- นายอาเภอต้องจดข้อความที่พยานนามาแจ้ง และพยาน 2 คนลงลายมือชื่อไว้
8. มรดกที่ไม่มีผู้รับ
เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับ
พินัยกรรม มรดกของบุคคลนั้น “ตกแก่แผ่นดิน”
คาถาม1. หากเจ้าของมรดก ทาพินัยกรรมมอบสมบัติทั้งหมดให้ผู้รับพินัยกรรม ทายาทมี
สิทธิที่จะได้รับมรดกหรือไม่
ก. ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดก ข. มีสิทธิที่จะได้รับมรดก
ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข ง. ไม่มีข้อถูก
2. พินัยกรรม หมายถึง
ก. นิติกรรมซึ่งบุคคลได้แสดงเจตนาฝ่ายเดียวกาหนดการเผื่อตายในเรื่อง
ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่
ข. ความรับผิดชอบของตนเมื่อตนตายไปแล้ว โดยพินัยกรรมต้องทาตามแบบ
ที่กฎหมายกาหนด
ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
ง. ไม่มีข้อถูก
3. ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องมีอายุอย่างน้อยกี่ปี บริบูรณ์
ก. 12 ปี บริบูรณ์ ข. 13 ปี บริบูรณ์
ค. 14 ปี บริบูรณ์ ง. 15 ปี บริบูรณ์
4. เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรม มรดกของ
บุคคลนั้นมีผลเช่นใด ก. ตกแก่ทายาท ข. ตกแก่คนใน
ครอบครัว
ค. ตกแก่แผ่นดิน ง. ตกแก่วัด
5. ข้อใดกล่าวถึงบรรพ 6 ถูกต้องที่สุด
ก. บรรพ 6 ทรัพย์สิน ข. บรรพ 6 มรดก
ค. บรรพ 6 ครอบครัว ง. บรรพ 6 การเมือง
เฉลย
1. ก. ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดก
2. ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
3. ง. 15 ปี บริบูรณ์
4. ค. ตกแก่แผ่นดิน
5. ข. บรรพ 6 มรดก
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวอนุธิดา จรโคกกรวด รหัส 535120202
2. นางสาวอาทิตตญา ปิ ติสาร รหัส 535120208
3. นางสาวทิพวรรณ ขันซ้าย รหัส 535120225
4. นางสาวศุจินันท์ คาแปลง รหัส 535120229
5. นางสาวกิตติภา อันพิมพา รหัส 535120232

More Related Content

What's hot

กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญNoi Net
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
กฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้นกฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้นSukit U-naidhamma
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายbilly ratchadamri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน0895043723
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสกฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสSukit U-naidhamma
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 

What's hot (20)

กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้นกฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้น
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมายความหมายและลักษณะของกฎหมาย
ความหมายและลักษณะของกฎหมาย
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
low basic
low basiclow basic
low basic
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสกฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรส
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 

More from Yosiri

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้าYosiri
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรYosiri
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์Yosiri
 

More from Yosiri (17)

กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 

กฎหมายมรดก

  • 2. 1. ข้อความเบื้องต้น การบังคับใช้กฎหมายมรดกก็เช่นเดียวกับกฎหมายครอบครัวที่ได้มีการผ่อนปรนไม่นา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 มรดก ไปใช้ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล สาหรับคดีที่มีลักษณะครบ 3 ประการคือ 1.คดีนั้น เป็นคดีแพ่งเกี่ยวด้วยมรดก 2.คู่กรณีทุกฝ่ายต้องเป็นผู้นับถือศาสนาอิสลามและ 3.คดีนั้นต้อง เกิดในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลาและสตูล คดีดังกล่าวข้างต้นจะต้องนากฎหมายอิสลาม ว่าด้วยมรดกมาบังคับใช้แทนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 มรดกเสมอ
  • 3. 2. ความหมายของมรดก มรดกหรือกองมรดก ของผู้ตายหมายถึง ทรัพย์สินของผู้ตาย รวมถึงสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบต่างๆของผู้ตายที่มีอยู่ขณะตาย เว้นแต่ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบนั้นเป็นเรื่องเฉพาะตัวโดยแท้ของผู้ตาย เช่น บ้าน รถ ที่ดิน เป็นต้น ส่วนทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่และความรับผิดที่มีลักษณะ เป็นการเฉพาะตัว โดยแท้ของผู้ตาย ย่อมไม่เป็นมรดกเช่น สิทธิอาศัย สิทธิเก็บเงิน ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง เจ้าของมรดกถึงแก่ความตายย่อมไม่เป็น มรดก
  • 4. 3. เวลาที่มรดกตกทอดแก่ทายาท มรดกจะตกทอดไปสู่ทายาทเมื่อเจ้าของมรดกตาย มีข้อสังเกตว่า “เจ้ามรดก” ต้องเป็ นบุคคลธรรมดาเท่านั้น นิติบุคคลไม่สามารถเป็ นเจ้ามรดกได้
  • 6. 4.1 ทายาทโดยธรรม ทายาทโดยธรรม หมายถึง ทายาทที่มีสิทธิได้รับมรดกตาม กฎหมาย อันได้แก่ประเภทญาติ และคู่สมรส  ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ มีลาดับในการรับมรดก ดังนี้ ลาดับที่ 1 ผู้สืบสันดาน ได้แก่ บุตร บุตรบุญธรรม และบุตรนอก กฎหมาย ลาดับที่ 2บิดามารดา ลาดับที่ 3พี่น้องร่วมบิดารมารดาเดียวกัน ลาดับที่ 4พี่น้อง ร่วมเฉพาะบิดาเดียวกัน หรือเฉพาะมารดา ลาดับที่ 5ปู่ ย่า ตา ยาย ลาดับที่ 6ลุง ป้ า น้า อา ใช้หลักญาติสนิทตัดญาติห่าง
  • 7. 4.2 ผู้รับพินัยกรรม ผู้รับพินัยกรรม หมายถึง บุคคลซึ่งผู้ตายทาพินัยกรรมยก ทรัพย์สิน อันเป็ นทรัพย์มรดกให้ผู้รับพินัยกรรม ผู้รับพินัยกรรม อาจเป็ นญาติพี่น้องของผู้ตาย หรือ บุคคลภายนอกก็ได้ อาจเป็ นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคลก็ได้  ผู้รับพินัยกรรมมีสิทธิได้รับมรดกก่อนทายาทเสมอ  หากเจ้าของมรดก ทาพินัยกรรมมอบสมบัติทั้งหมดให้ผู้รับ พินัยกรรม ทายาทก็ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดกเลย
  • 8. 5. การรับมรดกของพระภิกษุสงฆ์ ทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างเวลาที่บวช อยู่ ตกเป็ นสมบัติของวัดที่เป็ น ภูมิลาเนาของพระภิกษุ เว้น แต่จะได้ทาพินัยกรรมยก ให้แก่ผู้อื่น ทรัพย์สินที่ได้มาก่อนบวชเป็ น พระภิกษุ ไม่ตกเป็ นสมบัติของวัดแต่ให้ เป็ นมรดกตกทอดแก่ทายาทของ พระภิกษุ
  • 10. 7. พินัยกรรม 7.1 ความหมายของพินัยกรรม พินัยกรรม หมายถึง นิติกรรมซึ่งบุคคลได้แสดงเจตนาฝ่ายเดียว กาหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ตลอดจนความ รับผิดชอบของตนเมื่อตนได้ตายไปแล้ว โดยพินัยกรรมต้องทาตามแบบที่ กฎหมายกาหนดเท่านั้น
  • 11. 7. พินัยกรรม (ต่อ) 7.2 ผู้ทาพินัยกรรม • ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องมีอายุอย่างน้อย 15 ปี บริบูรณ์ • คนไร้ความสามารถจะทาพินัยกรรมไม่ได้ • พินัยกรรมที่ทาขึ้นโดยคนวิกลจริตจะตกเป็ น โมฆะ * ข้อสังเกต
  • 12. 7. พินัยกรรม (ต่อ) 7.3 บุคคลที่ไม่สามารถเป็ นผู้รับพินัยกรรมได้ 1. ผู้เขียนนินัยกรรมและ คู่ สมรสของผู้เขี ยน พินัยกรรม 2. พยานในพินัยกรรม และคู่สมรสของพยานใน พินัยกรรม 3. พนักงานเจ้าหน้าที่ และคู่สมรสของพนักงาน เจ้าหน้าที่ 4. ในกรณีที่ผู้เยาว์ทา พินัยกรรม ผู้ปกครอง รวมไปถึงคู่สมรส บุพการี หรือผู้สืบสันดาน หรือพี่ น้องของผู้ปกครองจะ เป็ นผู้รับพินัยกรรมไม่ได้
  • 13. 7. พินัยกรรม (ต่อ) 7.4 บุคคลที่ไม่สามารถเป็ นพยานในการทา พินัยกรรมได้ ไม่บรรลุนิติภาวะ คนวิกลจริต คนไร้ความสามารถ หูหนวก เป็ นใบ้ ตาบอดทั้ง2ข้าง
  • 14. 7. พินัยกรรม (ต่อ) 7.5 แบบของพินัยกรรม 1. พินัยกรรมแบบธรรมดา - ต้องทาเป็ นหนังสือ เขียน&พิมพ์ได้ - ต้องลง วัน เดือน ปี ขณะที่ทาพินัยกรรม - ต้องลงลายมือชื่อต่อหน้าพยาน 2. พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ - ต้องทาเป็ นหนังสือ ต้องเขียนด้วยลายมือของตนเองทั้งฉบับ - ต้องลง วัน เดือน ปี ขณะที่ทาพินัยกรรม - ต้องลงลายมือชื่อไว้ในพินัยกรรมโดยไม่จาเป็ นต้องมีพยาน
  • 15. 7. พินัยกรรม (ต่อ) 7.5 แบบของพินัยกรรม (ต่อ) 3. พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง - ต้องไปแจ้งความที่ตนประสงค์ให้ใส่ไว้ในพินัยกรรมนายอาเภอต่อหน้าพยานอย่าง น้อย 2คน - นายอาเภอต้องจดข้อความที่ผู้ทาพินัยกรรมแจ้งให้ทราบและอ่านข้อความนั้นให้ ผู้ทาพินัยกรรมและพยานฟัง - ผู้ทาพินัยกรรมและพยานลงลายมือชื่อในพินัยกรรมนั้น - นายอาเภอลงลายมือชื่อ และวันที่ เดือน ปี จดลงในพินัยกรรมแล้วประทับตรา ตาแหน่ง 4. พินัยกรรมแบบเอกสารลับ - ต้องลงลายมือชื่อในพินัยกรรม - ต้องปิ ดผนึกพินัยกรรมและลงลายมือชื่อบนรอยปิดผนึก - ต้องนาพินัยกรรมที่ปิ ดผนึกไปแสดงต่อนายอาเภอและพยานอย่างน้อย 2คน - นายอาเภอจดถ้อยคาของผู้ทา และวัน เดือน ปี ไว้บนซองและประทับตรา ตาแหน่งแล้วให้นายอาเภอ ผู้ทาพินัยกรรม และพยานลงลายมือชื่อบนซอง
  • 16. 7. พินัยกรรม (ต่อ) 7.5 แบบของพินัยกรรม (ต่อ) 5. พินัยกรรมแบบทาด้วยวาจา - ต้องมีพฤติการณ์พิเศษ ผู้ทาพินัยกรรมไม่สามารถทาพินัยกรรมตามแบบอื่นที่ กฎหมายกาหนดไว้ได้ - ต้องแสดงเจตนาทาพินัยกรรมต่อพยานอย่างน้อย 2 คน - พยานทั้งสองต้องแสดงตนต่อนายอาเภอโดยไม่ชักช้าและแจ้งข้อความได้สั่ง ไว้ด้วยวาจา แจ้งวันเดือนปี สถานที่ทาพินัยกรรม - นายอาเภอต้องจดข้อความที่พยานนามาแจ้ง และพยาน 2 คนลงลายมือชื่อไว้ 8. มรดกที่ไม่มีผู้รับ เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับ พินัยกรรม มรดกของบุคคลนั้น “ตกแก่แผ่นดิน”
  • 17. คาถาม1. หากเจ้าของมรดก ทาพินัยกรรมมอบสมบัติทั้งหมดให้ผู้รับพินัยกรรม ทายาทมี สิทธิที่จะได้รับมรดกหรือไม่ ก. ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดก ข. มีสิทธิที่จะได้รับมรดก ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข ง. ไม่มีข้อถูก 2. พินัยกรรม หมายถึง ก. นิติกรรมซึ่งบุคคลได้แสดงเจตนาฝ่ายเดียวกาหนดการเผื่อตายในเรื่อง ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่ ข. ความรับผิดชอบของตนเมื่อตนตายไปแล้ว โดยพินัยกรรมต้องทาตามแบบ ที่กฎหมายกาหนด ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข ง. ไม่มีข้อถูก
  • 18. 3. ผู้ทาพินัยกรรมจะต้องมีอายุอย่างน้อยกี่ปี บริบูรณ์ ก. 12 ปี บริบูรณ์ ข. 13 ปี บริบูรณ์ ค. 14 ปี บริบูรณ์ ง. 15 ปี บริบูรณ์ 4. เมื่อบุคคลใดถึงแก่ความตายโดยไม่มีทายาทโดยธรรมหรือผู้รับพินัยกรรม มรดกของ บุคคลนั้นมีผลเช่นใด ก. ตกแก่ทายาท ข. ตกแก่คนใน ครอบครัว ค. ตกแก่แผ่นดิน ง. ตกแก่วัด 5. ข้อใดกล่าวถึงบรรพ 6 ถูกต้องที่สุด ก. บรรพ 6 ทรัพย์สิน ข. บรรพ 6 มรดก ค. บรรพ 6 ครอบครัว ง. บรรพ 6 การเมือง
  • 19. เฉลย 1. ก. ไม่มีสิทธิที่จะได้รับมรดก 2. ค. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 3. ง. 15 ปี บริบูรณ์ 4. ค. ตกแก่แผ่นดิน 5. ข. บรรพ 6 มรดก
  • 20. รายชื่อสมาชิกกลุ่ม 1. นางสาวอนุธิดา จรโคกกรวด รหัส 535120202 2. นางสาวอาทิตตญา ปิ ติสาร รหัส 535120208 3. นางสาวทิพวรรณ ขันซ้าย รหัส 535120225 4. นางสาวศุจินันท์ คาแปลง รหัส 535120229 5. นางสาวกิตติภา อันพิมพา รหัส 535120232