Ce diaporama a bien été signalé.
Le téléchargement de votre SlideShare est en cours. ×

2.ตารางธาตุ.pdf

Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Publicité
Chargement dans…3
×

Consultez-les par la suite

1 sur 17 Publicité

Plus De Contenu Connexe

Plus récents (20)

Publicité

2.ตารางธาตุ.pdf

  1. 1. 1. วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุ 2. แนวโน้มของสมบัติตามตารางธาตุ 3. ประโยชน์ของตารางธาตุ
  2. 2. ตารางธาตุ (Periodic Table)  ตารางธาตุ คือรูปแบบการจัดเรียงธาตุต่างๆ ตามลาดับของเลข อะตอม(จานวนโปรตอน) ตารางธาตุในปัจจุบันมีรากฐานมา จากตารางธาตุของ Dmitri Mendeleev  ธาตุที่จัดเรียงในตารางธาตุจะแบ่งออกเป็น • หมู่ (group, colume) มีทั้งหมด 18 หมู่ • คาบ (period, row) มีทั้งหมด 7 คาบ *แถวที่ 8 และ 9 ถูกแยกออกมาจากคาบที่ 6 และ 7 เรียกว่า พวก inner transition elements หรือ rare earth elements  ธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันจะมีสมบัติคล้ายคลึงกัน
  3. 3. ตารางธาตุ
  4. 4. หมู่ธาตุในตารางธาตุ หมู่ของธาตุ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม • กลุ่ม A ตั้งแต่ IA – VIIIA ( หมู่ O ) – หมู่ IA – VIIIA เรียกว่า ธาตุเรพรีเซนเททีฟ – หมู่ IA (Alkali metal) มีความเป็นโลหะมากสุด – หมู่ IIA (Alkaline earth) – หมู่ VIIA (Halogen) มีความเป็นอโลหะมากที่สุด – หมู่ VIIIA (Noble gas) เป็นแก๊สเฉื่อย
  5. 5. ตารางธาตุ
  6. 6. หมู่ธาตุในตารางธาตุ • กลุ่ม B ตั้งแต่ IIIB ถึง IIB • ธาตุในกลุ่มนี้เป็นโลหะทั้งหมด เรียกว่า Transition Metal • ธาตุที่ 58-71 (Lantanides) ในคาบที่ 6 และธาตุที่ 90- 103 (Actinides) ในคาบที่ 7 ถูกแยกไว้ด้านล่าง รวม เรียกว่า inner-transition ซึ่งมีสมบัติคล้ายกัน และไม่มี การแบ่งหมู่
  7. 7. สมบัติของธาตุในตารางธาตุ
  8. 8. Metal and non-metal elements
  9. 9. โครงแบบอิเล็กตรอนและสมบัติของอะตอม • การจัดโครงแบบอิเล็กตรอนของอะตอมส่งผลถึงสมบัติต่างๆของ อะตอม เนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอิเล็กตรอนและนิวเคลียส (ค่า n ที่มากที่สุด และ ประจุบวกของโปรตอน) – ขนาดของอะตอมและไอออน – พลังงาน • Ionization energy (IE) • Electron affinity (EA) • Electronegativity (EN) n เพิ่ม ประจุบวกของโปรตอนเพิ่ม
  10. 10. ขนาดของอะตอม
  11. 11. Ionization Energy (IE) • พลังงานที่ต้องใช้เพื่อดึงอิเล็กตรอนออกจาก อะตอมเพื่อให้เกิดไอออนบวก 1st Ionization Energy A(g)  A+(g) + e¯ 2nd Ionization Energy A+(g)  A2+(g) + e¯
  12. 12. Electron Affinity (EA) • พลังงานที่คายออกมาเมื่ออะตอมในสภาวะแก๊สรับ อิเล็กตรอนและกลายเป็นไอออน -1 A(g) + e¯  A¯(g)
  13. 13. Electronegativity (EN) • ความสามารถของอะตอมหรือโมเลกุลในการ ดึงดูดอิเล็กตรอนที่ใช้ในการสร้างพันธะ
  14. 14. ประโยชน์ของตารางธาตุ ????
  15. 15. สรุปแนวโน้มทั่วไปของธาตุตามตารางธาตุ IE, EA, EN, สมบัติอโลหะ สมบัติโลหะ, รัศมีอะตอม สมบัติโลหะ, รัศมีอะตอม IE, EA, EN
  16. 16. แนวโน้มสมบัติทางกายภาพ • จุดเดือด, จุดหลอมเหลว, การนาความร้อน, การนาไฟฟ ้ า, ความแข็ง, ความหนาแน่น

×