SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
บทที่ 2
ประวัติศาสตรการเมืองการปกครอง
ยุคโบราณ
คําวา ประชาธิปไตย ปรากฏขึ้นเปนครั้งแรกในแนวคิดทางการเมืองและทางปรัชญาชวงยุคกรีซ
โบราณ นักปราชญเพลโต เปรียบเทียบประชาธิปไตย ซึ่งเขาเรียกวาเปน "การปกครองโดยผูถูกปกครอง" วาเปน
รูปแบบทางเลือกสําหรับระบอบราชาธิปไตย คณาธิปไตยและเศรษฐยาธิปไตยถึงแมวาประชาธิปไตยแบบเอเธนสจะ
ถือวาเปนการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยทางตรง แตเดิมแลวประชาธิปไตยแบบเอเธนสมีลักษณะเดนอยูสอง
ประการ คือ ไดมีการคัดเลือกพลเมืองธรรมดาจํานวนมากเขาสูระบบรัฐการและศาลและมีการชุมนุมกันของพลเมือง
ทุกชนชั้น
พลเมืองทุกคนจะไดรับสิทธิใหอภิปรายและลงมติในสภา ซึ่งเปนที่ออกกฎหมายของนครรัฐ หากทวา ความ
เปนพลเมืองชาวเอเธนสนั้นรวมเฉพาะแตชายทุกคนซึ่งเกิดจากบิดาที่เปนพลเมืองเทานั้น และผูที่กําลัง "รับราชการ
ทหาร" ระหวางอายุ 18-20 ปเทานั้น ซึ่งไมรวมไปถึงผูหญิง ทาส คนตางชาติ และชายผูมีอายุต่ํากวา 20 ปบริบูรณ
จากจํานวนผูอยูอาศัยกวา 250,000 คน มีผูไดรับสถานะพลเมืองเพียง 30,000 คน และมีเพียง 5,000 คนเทานั้นที่
มักจะไปปรากฏตัวในสมัชชาประชาชน เจาพนักงานและผูพิพากษาของรัฐบาลจํานวนมากเปนการกําหนดเลือก มี
เพียงเหลานายพลและเจาพนักงานเพียงสวนนอยเทานั้นที่มาจากการเลือกตั้ง
เกาะอารวัด (ปจจุบันคือ ประเทศซีเรีย) ซึ่งถูกกอตั้งขึ้นเมื่อคริสตสหัสวรรษที่ 2 กอนคริสตกาล โดยชาว
ฟนิเซียน ถูกอางวาเปนหนึ่งในตัวอยางของระบอบประชาธิปไตยที่พบในโลกซึ่งที่นั่น ประชาชนจะถืออํานาจอธิปไตย
ของตน และอีกตัวอยางหนึ่งที่นาจะมีความเปนไปได คือ ประชาธิปไตยยุคเริ่มแรกอาจมาจากนครรัฐสุเมเรียน สวน
ทางดานเวสาลี ซึ่งปจจุบันคือรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เปนหนึ่งในรัฐบาลแรกของโลกที่มีองคประกอบที่สามารถ
พิจารณาไดวามีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเปนแหงแรกของโลก (แตก็มีบางคนที่ออกมาโตแยงวาการ
ปกครองของเวสาลีนั้นไมเปนราชาธิปไตยก็จริง แตนาจะมีลักษณะเปนคณาธิปไตยมากกวาประชาธิปไตย) และยัง
ปรากฏวามีการปกครองที่คลายคลึงกับประชาธิปไตยหรือคณาธิปไตยเกิดขึ้นชั่วคราวโดยชาวเมเดส ชวง
คริสตศตวรรษที่ 6 กอนคริสตกาล แตถึงคราวสิ้นสุดเมื่อมาถึงรัชสมัยของพระเจาดาไรอัสมหาราชแหงราชวงศอารเค
เมนิด ผูทรงประกาศวา ระบอบราชาธิปไตยที่ดีนั้นยอมเหนือกวาระบอบคณาธิปไตยและระบอบประชาธิปไตยในทุก
รูปแบบ
นอกจากนั้น ยังไดมีการกลาวอางถึงสถาบันทางประชาธิปไตยในยุคเริ่มแรก โดยถือวาเปน "สาธารณรัฐ"
อิสระในประเทศอินเดีย อยางเชน พระสงฆ ซึ่งเริ่มตนตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 6 กอนคริสตกาล จนถึงคริสตศตวรรษที่
4 แตหลักฐานที่พบนั้นเลื่อนลอยและไมสามารถหาแหลงอางอิงทางประวัติศาสตรไดอยางแนชัด นอกจากนั้น
22
Deodorius ซึ่งเปนนักปราชญชาวกรีกในรัชสมัยของพระเจา Alexzander กลาวถึงรัฐอิสระซึ่งมีการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยในอินเดีย แตทวาไมไดใหรายละเอียดเพิ่มเติมแตอยางใด อยางไรก็ตาม นักวิชาการสมัยใหม
กลาววา คําวาประชาธิปไตย ในสมัยคริสตศตวรรษที่ 3 กอนคริสตกาลไดถูกลดความนาเชื่อถือลง และอาจหมายถึง
รัฐอิสระซึ่งไมเกี่ยวของกับการปกครองของประชาชนเลยแมแตนอย
ถึงแมวาในยุคของสาธารณรัฐโรมัน จะไดมีการสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อยางเชน การ
ออกกฎหมาย ทวาก็มิไดเปนประชาธิปไตยอยางสมบูรณ ชาวโรมันมีการเลือกผูแทนตนเขาสูสภาก็จริง แตไมรวมถึง
สตรี ทาสและคนตางดาวจํานวนมหาศาล และยังมอบน้ําหนักใหกับเหลาเศรษฐีและเจาหนาที่ระดับสูง ซึ่งการจะเขา
มาเปนสมาชิกของสภาซีเนทมักจะมาจากครอบครัวที่มีชื่อเสียงและร่ํารวยจํานวนนอยเทานั้น
ยุคกลาง
ระหวางชวงยุคกลาง ไดมีรูปแบบหลายอยางที่เกี่ยวของกับการเลือกตั้งหรือสมัชชา ถึงแมวาบอยครั้ง
จะเปดโอกาสใหกับประชาชนเพียงสวนนอยเทานั้น อยางเชน เครือจักรภพโปแลนด-ลิทัวเนีย ในนครรัฐ
เวนิซ ชวงอิตาลียุคกลาง รัฐในไทรอล เยอรมันและสวิตเซอรแลนด รวมไปถึงนครพอคาอิสระ ซะไก ในชวง
คริสตศตวรรษที่ 16 ในญี่ปุน เนื่องจากการปกครองรูปแบบตาง ๆ ที่กลาวมานั้นประชาชนมีสวนรวมเพียงสวนนอย
เทานั้น จึงมักจะถูกจัดวาเปนคณาธิปไตยมากกวา และดินแดนยุโรปในสมัยนั้นยังคงปกครองภายใตนักบวชและขุน
นางในยุคศักดินาเปนสวนมาก
รูปแบบการปกครองซึ่งมีความใกลเคียงกับลักษณะระบบประชาธิปไตยสมัยใหมยิ่งขึ้นไปอีก คือ ระบบของ
กลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คในยูเครนระหวางคริสตศัตวรรษที่ 16-17 คอสแซ็ค เฮ็ตมันนาเตและซาโปริเซียน ซิค โดย
เปดโอกาสใหผูแทนจากตําบลตาง ๆ ของเคานตีเลือกตําแหนงสูงสุด ซึ่งเรียกวา "เฮ็ตมัน" (Hetman) แตดวยความที่
กลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คเปนรัฐทางการทหารอยางเต็มตัว สิทธิของผูรวมในการเลือก "เฮ็ตมัน" จึงมักจะจํากัดอยูแต
เพียงผูที่รับราชการในกองทหารคอสแซ็คเทานั้น และตอมาก็ยิ่งจํากัดเพิ่มขึ้นไปอีกเปนแตเฉพาะนายทหารระดับสูง
มหากฎบัตรของอังกฤษ
ทางดานรัฐสภาแหงอังกฤษ มีรากฐานของการจํากัดพระราชอํานาจของกษัตริยมาจากมหากฎบัตรซึ่งสมาชิก
รัฐสภาชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้ง ไดแก รัฐสภาของเดอ มงตฟอรต ในป ค.ศ. 1265 แตอันที่จริงแลว มีเพียง
ประชาชนกลุมนอยเทานั้นที่ออกมาแสดงความคิดเห็น โดยรัฐสภาไดรับการคัดเลือกจากประชาชนคิดเปนนอยกวา
3% ในป ค.ศ. 1780 และยังไดเกิดปญหากับรูปแบบการปกครองดังกลาว ที่เรียกวา "เขตเลือกตั้งเนา" (rotten
boroughs) โดยอํานาจในการจัดตั้งรัฐสภานั้นขึ้นอยูกับความพึงพอใจของกษัตริย หลังจากการปฏิวัติอันรุงโรจน ใน
ป ค.ศ. 1688 และการบังคับใชพระราชบัญญัติสิทธิ ในป ค.ศ. 1689 ซึ่งไดมีการประมวลหลักสิทธิและเพิ่มพูน
อิทธิพลของรัฐสภา หลังจากนั้นสิทธิในการเลือกสมาชิกรัฐสภาก็เพิ่มมากขึ้นทีละนอย จนกระทั่งกษัตริยทรงเปน
เพียงประมุขแตในนามเทานั้น
23
รูปแบบประชาธิปไตยยังไดปรากฏในการปกครองระบบชนเผา อยางเชน สหพันธไอโรโควอิส (Iroquois
Confederacy) อยางไรก็ตาม ตองเปนสมาชิกเพศชายของชนเผาเทานั้นจึงจะสามารถขึ้นเปนผูนําได และบางคนยัง
ถูกยกเวนอีกดวย มีเพียงสตรีที่อาวุโสที่สุดในชนเผาเดียวกันเทานั้นที่สามารถเลือกและถอดถอนหัวหนาชนเผาได ซึ่ง
เปนการกีดกันประชากรจํานวนมาก รายละเอียดที่นาสนใจไดกลาววาการตัดสินใจแตละครั้งนั้นใชความคิดเห็นอัน
เปนเอกฉันทของเหลาผูนํา มิใชการสนับสนุนของเสียงสวนใหญจากการลงคะแนนเสียงของสมาชิกชนเผา
ในสังคมระดับกลุม อยางเชน บุชแมน ซึ่งมักจะประกอบดวยคนจํานวน 20-50 คนในแตละกลุม ไมคอยจะมี
หัวหนาเทาใดหนักและทําการตัดสินใจตาง ๆ โดยอาศัยความเห็นชอบจากคนสวนใหญมากกวาในเมลานีเซีย แตเดิม
ประชาคมหมูบานกสิกรรมมีความเทาเทียมกัน และมีการปกครองแบบเอกาธิปไตยที่แข็งกราวจํานวนนอย ถึงแมวา
อาจมีคนใดคนหนึ่งที่มีอิทธิพลเหนือกวาผูอื่น ซึ่งอิทธิพลดังกลาวมีผลตอการแสดงทักษะความเปนผูนําอยางตอเนื่อง
และความประสงคของประชาคม ทุกคนถูกคาดหวังที่จะแบงปนหนาที่ในประชาคม และใหสิทธิรวมการตัดสินใจของ
ประชาคม อยางไรก็ตาม แรงกดดันอยางหนักของสังคมกระตุนใหเกิดความลงรอยกันและลดการตัดสินใจเพียงลําพัง
คริสตศตวรรษที่ 18-19
แมวาจะไมมีคําจํากัดความของคําวาประชาธิปไตย แตวาเหลาผูกอตั้งสหรัฐอเมริกาไดกําหนด
รากฐานของแนวปฏิบัติของอเมริกันเกี่ยวกับอิสรภาพตามธรรมชาติและความเทาเทียมรัฐธรรมนูญแหง
สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตป ค.ศ. 1788 เปนตนมา ไดกําหนดใหมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง รวมไปถึง
การปกปองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน แตในชวงแรก ไดครอบคลุมเฉพาะบางกลุมเทานั้น
อยางไรก็ตาม ในยุคอาณานิคมกอนหนาป ค.ศ. 1776 และบางชวงเวลาหลังจากนั้น มีเพียงเหลาบุรุษเจาของ
ที่ดินผิวขาวเทานั้นที่มีสิทธิ์เลือกตั้ง ในขณะที่ทาสผิวดํา อิสรชนผิวดําและสตรียังไมไดรับอนุญาตใหเลือกตั้ง ใน
วิทยานิพนธเทอรเนอร ประชาธิปไตยไดกลายเปนวิถีชีวิต และความเทาเทียมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองอยาง
กวางขวาง อยางไรก็ตาม ทาสไดเปนสถาบันทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสิบเอ็ดรัฐทางใตของ
สหรัฐอเมริกา ซึ่งองคกรจํานวนมากถูกกอตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนใหคนผิวดําจากสหรัฐอเมริกาไปยังสถานที่อื่นซึ่งพวก
เขาจะไดรับอิสรภาพและความเทาเทียมที่เพิ่มขึ้น โดยในชวงคริสตทศวรรษ 1820-1830 สมาคมการอพยพ
อเมริกัน ไดสงคนผิวดําจํานวนมากไปยังไลบีเรีย
เมื่อถึงคริสตทศวรรษ 1840 การจํากัดทรัพยสินทั้งหมดก็ยุติลง และพลเมืองชายผิวขาวเกือบทุกคนก็สามารถ
เลือกตั้งไดแลว ซึ่งโดยเฉลี่ยแลว มีผูใชสิทธิ์ไปเลือกตั้งระดับทองถิ่น ระดับรัฐ และระดับชาติอยูระหวาง 60-80%
หลังจากนั้น ระบบการปกครองไดเปลี่ยนแปลงจากประชาธิปไตยแบบเจฟเฟอรสันเปนประชาธิปไตยแบบแจ็กสัน
อยางชา ๆ เมื่อป ค.ศ. 1860 จํานวนทาสผิวดําในสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นเปน 4 ลานคน และเมื่อปลายคริสตทศวรรษ
1860 ระหวางการสรางสหรัฐอเมริกาใหม ภายหลังสงครามกลางเมืองอเมริกัน ทาสชายที่ไดรับการปลดปลอยให
24
เปนอิสระก็กลายเปนพลเมืองและมีสิทธิในการเลือกตั้งตามกฎหมาย แตกวาที่พวกเขาจะไดรับการสิทธิอยางมั่นคงก็
ตองรอจนถึง ค.ศ. 1965
ในป ค.ศ. 1789 ภายหลังจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ไดมีการประกาศใชคําประกาศวาดวยสิทธิมนุษยชนและ
สิทธิพลเมือง และถึงแมวาจะมีผลในเวลาอันสั้น แตการเลือกตั้งสมัชชาแหงชาติฝรั่งเศสของบุรุษทุกคน เมื่อป ค.ศ.
1792 ก็นับเปนกาวสําคัญในการพัฒนาประชาธิปไตย การใชสิทธิเลือกตั้งโดยคนทั้งชาติไดนําไปสูการกอ ตั้ง
ฝรั่งเศส ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1848 ซึ่งเปนยุคตื่นตัวหลังจากการปฏิวัติฝรั่งเศสในป ค.ศ. 1848
ประชาธิปไตยเสรียังคงมีอายุสั้นในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 และหลายประเทศมักจะกลาวอางวาตนได
ใหสิทธิการเลือกตั้งกับพลเมืองทั้งหมดแลว ในอาณานิคมออสเตรเลียไดเปลี่ยนเปนประชาธิปไตยเมื่อกลาง
คริสตศตวรรษที่ 19 ในขณะที่ออสเตรเลียใตเปนรัฐบาลแหงแรกของโลกที่ใหสิทธิการเลือกตั้งโดยสตรีทั้งชาติในป
ค.ศ. 1861 สวนในนิวซีแลนด ไดใหสิทธิการเลือกตั้งกับชาวมาวรีพื้นเมืองในป ค.ศ. 1867 ชายผิวขาวในป ค.ศ.
1876 และผูหญิงในป ค.ศ. 1893 ซึ่งนับเปนประเทศแรกที่ใหใหสิทธิการเลือกตั้งกับพลเมืองทั้งหมด แมวาสตรีจะยัง
ไมไดรับอนุญาตใหสมัครรับเลือกตั้งไดจนกระทั่งป ค.ศ. 1919 ก็ตาม
คริสตศตวรรษที่ 20
ในชวงคริสตศตวรรษที่ 20 ไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองเปนระบอบประชาธิปไตยที่เคารพสิทธิ
ของเสียงขางนอยจํานวนมาก จนทําใหเกิด "กระแสประชาธิปไตย" ซึ่งประสบความสําเร็จในหลายพื้นที่ของโลก ซึ่ง
มักเปนผลมาจากสงครามการปฏิวัติ การปลดปลอยอาณานิคม และสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและศาสนา
ภายหลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และการลมสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและ
จักรวรรดิออตโตมัน ทําใหเกิดรัฐชาติจํานวนมากในทวีปยุโรป ซึ่งสวนใหญมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ในชวงคริสตทศวรรษ 1920 ระบอบประชาธิปไตยไดมีการเจริญขึ้น แตผลของภาวะเศรษฐกิจตกต่ําครั้งใหญ ไดทํา
ใหความเจริญดังกลาวหยุดชะงักลง และประเทศในแถบยุโรป ละตินอเมริกา และเอเชีย ไดเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปสู
การปกครองในระบอบเผด็จการมากขึ้น ทําใหเกิดเปนฟาสซิสตใน นาซี
เยอรมนี อิตาลี สเปนและโปรตุเกส รวมไปถึงรัฐเผด็จการในแถบคาบสมุทรบอลติก คาบสมุทร บอล
ขาน บราซิล คิวบา สาธารณรัฐจีนและญี่ปุน เปนตน
ทวาภายหลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง ทําใหเกิดผลกระทบในดานตรงกันขามในทวีปยุโรป
ตะวันตก ความสําเร็จในการสรางระบอบประชาธิปไตยในเขตยึดครองเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา อังกฤษและ
ฝรั่งเศส ออสเตรียอิตาลี และญี่ปุนสมัยยึดครอง ซึ่งไดเปนตนแบบของทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง
อยางไรก็ตาม กลุมประเทศในยุโรปตะวันออก รวมไปถึงเขตยึดครองของโซเวียตในเยอรมนี ซึ่งถูกบังคับใหมี
การเปลี่ยนแปลงไปสูการปกครองในระบอบคอมมิวนิสตตามคายตะวันออก หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้ง
ที่สองยังสงผลใหเกิดการปลดปลอยอาณานิคม และประเทศเอกราชใหมสวนใหญจะสนับสนุนใหมีการปกครองใน
25
ระบอบประชาธิปไตย และอินเดียไดกลายมาเปนประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีจํานวนประชากร
มากที่สุดในโลก และดําเนินตอไปอยางไมหยุดยั้ง
ในชวงหนึ่งทศวรรษภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ชาติตะวันตกที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยสวนใหญ
ไดมีระบบเศรษฐกิจแบบผสม และดําเนินการตามรูปแบบรัฐสวัสดิการ สะทอนใหเห็นถึงความสอดคลองกันระหวาง
ราษฎรกับพรรคการเมือง ในชวงคริสตทศวรรษ 1950 และ 1960 เศรษฐกิจทั้งในกลุมประเทศตะวันตกและกลุม
ประเทศคอมมิวนิสต ในภายหลังเศรษฐกิจที่อยูภายใตการควบคุมของรัฐบาลไดลดลง เมื่อถึงป ค.ศ. 1960 รัฐชาติ
สวนใหญไดมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ถึงแมวาประชากรสวนใหญ ของโลกจะยังคงมีการจัดการ
เลือกตั้งแบบตบตา และการปกครองในรูปแบบอื่น ๆ อยู
กระแสของการเปลี่ยนแปลงไปสูระบอบประชาธิปไตย นําไปสูความเจริญกาวหนาของรูปแบบประชาธิปไตย
ที่เคารพสิทธิของเสียงขางนอยในหลายรัฐชาติ เริ่มจากสเปน โปรตุเกส ในป ค.ศ. 1974 รวมไปถึงอีกหลายประเทศ
ในทวีปอเมริกาใต เมื่อถึงปลายคริสตทศวรรษ 1970 และตนคริสตทศวรรษ 1980 ซึ่งไดเปลี่ยนแปลงมาจากระบอบ
เผด็จการทหาร มาเปนรัฐบาลพลเรือน ตามดวยประเทศในเอเชียตะวันออกและ เอเชียใต ระหวางชวงตนถึง
กลางคริสตทศวรรษ 1980 และเนื่องจากความเสื่อมถอยทางเศรษฐกิจของสหภาพ โซเวียต รวมไปถึง
ความขัดแยงภายใน ทําใหสหภาพโซเวียตลมสลาย และนําไปสูจุดสิ้นสุดของ สงครามเย็น ตามมาดวย
การเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองภายในกลุมประเทศยุโรปตะวันออกในคายตะวันออกเดิม
นอกเหนือจากนั้น กระแสของระบอบประชาธิปไตยไดแพรขยายไปถึงบางสวนของทวีปแอฟริกา ในชวง
คริสตทศวรรษ 1990 โดยเฉพาะอยางยิ่งในแอฟริกาใต ความพยายามบางประการในการเปลี่ยนแปลงระบอบ
การปกครองยังพบเห็นอยูในอินโดนีเซีย ยูโกสลาเวีย จอรเจีย ยูเครนเลบานอนและคีรกีซสถาน
จนถึงปจจุบันนี้ ทั่วโลกไดมีประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยจํานวน 123 ประเทศ (ค.ศ. 2007)
และกําลังมีจํานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งไดมีการคาดเดากันวา กระแสดังกลาวจะเกิดขึ้นตอไปในอนาคต ที่ซึ่ง
ประชาธิปไตยที่เคารพสิทธิของเสียงขางนอยจะกลายเปนมาตรฐานสากลสําหรับสังคมมนุษยชาติ สมมุติฐานดังกลาว
เปนหัวใจหลักของทฤษฎี "จุดสิ้นสุดของประวัติศาสตร" โดยฟรานซิส ฟุกุยะมะ ซึ่งทฤษฎีดังกลาวเปนการ
วิพากษวิจารณบรรดาผูที่เกรงกลัววาจะมีวิวัฒนาการของประชาธิปไตยที่เคารพสิทธิของเสียงขางมากไปยัง ยุคหลัง
ประชาธิปไตย และผูที่ชี้ใหเห็นถึงประชาธิปไตยเสรี
เพลโตและอริสโตเติล
สําหรับทั้งเพลโตและอริสโตเติลแลว นักปราชญทั้งสองนี้ไมเห็นดวยกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
เพลโตไดแสดงความเห็นถึงผูนําของรัฐในอุดมคติในหนังสืออุตมรัฐ วา "ผูนําของรัฐ ควรจะเปนผูนํากลุมนอยที่ทรง
ภูมิความรูและเปยมดวยคุณธรรม อุทิศตนเองใหกับรัฐ เมื่อรัฐมีผูนําที่มีคุณภาพเชนนี้ รัฐนั้น ก็เจริญกาวหนา มี
ระบบการบริหารที่ดี ประชาชนจะมีชีวิตที่เปนสุข"โดยเขาเห็นวานักปราชญและนักปกครองเปนผูนําที่ดี โดยถือวา
26
การปกครองแบบอภิชนาธิปไตยเปนรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุด เนื่องจากเพลโตขมขื่นจากการตัดสินของกลุมคนที่
ใหประหารโสเครติส
สวนทางดานอริสโตเติลไดเปรียบเทียบแบงรูปแบบการปกครองออกเปนสามรูปแบบ ไดแก การปกครองโดย
บุคคลเพียงคนเดียว (สมบูรณาญาสิทธิราช/ทรราช) การปกครองโดยคณะบุคคลสวนนอย (อภิชนาธิปไตย/
คณาธิปไตย) และการปกครองโดยคนสวนใหญ (โพลิตี/ประชาธิปไตย) ซึ่งรูปแบบที่กลาวมานั้น อริสโตเติล ได
จัดแบงรูปแบบการปกครองออกเปนรูปแบบที่ดีและเลวตามลําดับ และเขาไดพิจารณาวาระบอบประชาธิปไตยเปน
การปกครองที่ไมดีเมื่อเทียบกับการปกครองโดยชนชั้นกลาง
เขาเชื่อวารากฐานของระบอบประชาธิปไตยนั้นมาจากเสรีภาพ ซึ่งมีเพียงการปกครองแบบดังกลาวเทานั้นที่
พลเมืองสามารถแบงปนเสรีภาพรวมกันได ซึ่งเขาก็ไดโตแยงวานี่เปนวัตถุประสงคของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย โดยทิศทางหลักของเสรีภาพ ประกอบดวย ภาวะผูนําและภาวะผูตามที่ดี เนื่องจากทุกคนมีความเทา
เทียมกัน โดยไมมีการเหลื่อมล้ําทางฐานะ ความสามารถ ชาติกําเนิด และสามารถอาศัยอยูรวมกันได
"เดี๋ยวนี้หลักการมูลฐานพื้นฐานของรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย คือ เสรีภาพ นั่นคือ สิ่งที่ถูกยืนยัน
ตามปกติ โดยบอกเปนนัยวา ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับนี้เทานั้นที่มนุษยจะเปนสวนในเสรีภาพ เพราะพวกเขายืนยัน
เสรีภาพนี้วาเปนเปาหมายของทุกประชาธิปไตย แตปจจัยหนึ่งของเสรีภาพ คือ การปกครองและการถูกปกครองใน
ขณะเดียวกัน เพราะหลักความยุติธรรมที่ไดรับความนิยมคือ ความเทาเทียมกันตามจํานวน มิใชความมั่งมี และหาก
นี่เปนหลักความยุติธรรมที่แพรหลาย มหาชนจําตองเปนผูมีอํานาจสูงสุดและการตัดสินใจของเสียงขางมากนั้นตอง
เปนที่สุดและตองกอปรดวยความยุตธรรม เพราะพวกเขาวา พลเมืองแตละคนควรมีสวนแบงเทาเทียมกัน เพื่อที่มัน
จะสงผลใหในประชาธิปไตย คนจนทรงอํานาจกวาคนรวย เพราะมีคนจนมากวาและอะไรก็ตามที่เสียงขางมากตัดสิน
นั้นตองอยูสูงสุด จากนั้น นี่เปนเครื่องหมายหนึ่งของเสรีภาพซึ่งนักประชาธิปไตยตัดสินวาเปนหลักของรัฐธรรมนูญ
หนึ่ง คือ ความเปนอิสระของมนุษยที่จะดําเนินชีวิตตามใจชอบ เพราะเขาวาเปนการทําหนาที่ของเสรีภาพ เพราะ
การดําเนินชีวิตอยางที่มนุษยคนหนึ่งไมชอบนั้นเปนชีวิตของชายที่ตกเปนทาส นี่เปนหลักประชาธิปไตยขอสอง และ
จากขอนี้ เนื่องจากมีการกลาวอางวาจะตองไมถูกปกครองโดยบุคคลใด ๆ ก็ตาม หรือการปกครองและถูกปกครอง
ในเวลาเดียวกันนั้นไมเปนผล และนี่จะเปนวิถีที่หลักขอสองสนับสนุนเสรีภาพสมภาค"
ทฤษฎีรูปแบบอื่น
สําหรับนักทฤษฎีการเมืองแลว ไดมีการเสนอรูปแบบของประชาธิปไตยอีกเปนจํานวนมาก
อันประกอบดวย
ประชาธิปไตยแบบรวมกัน (Agregative Democracy) ซึ่งเปนกระบวนการประชาธิปไตยที่โอนเอียงเขาหา
ขอเรียกรองของพลเมือง จากนั้นจึงนําขอเรียกรองดังกลาวเพื่อมาตัดสินรูปแบบนโยบายทางสังคมที่สมควรนําไป
ปฏิบัติ ฝายผูไมเห็นดวยไดแสดงความคิดเห็นวา การมีสวนรวมในการปกครองรูปแบบประชาธิปไตยนั้นควรจะเนน
27
ไปยังการเลือกตั้งอันเปนสิทธิพื้นฐาน ซึ่งนโยบายที่มีผูสนับสนุนเปนจํานวนมากก็จะไดรับการนําไปปฏิบัติ ซึ่ง
สามารถแบงออกไดเปนหลายรูปแบบ
ตามแนวคิดจุลนิยมแลว ประชาธิปไตย คือ รูปแบบการปกครอง ซึ่งประชาชนไดมอบสิทธิในการใชอํานาจ
ใหกับผูนําทางการเมืองตามระยะเวลาการเลือกตั้งคราวหนึ่ง ตามแนวคิดจุลนิยม ประชาชนไมสามารถและไมมีสิทธิ
ในการปกครอง เนื่องจากความขัดแยงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาสวนใหญของมนุษยชาตินั้นไมมีวิสัยทัศนหรือถามีก็
เลว ซึ่งโจเซฟ ชุมเปเตอรไดเสนอมุมมองของเขาในหนังสือเรื่อง Capitalism, Socialism, and Democracy อัน
โดงดังของเขา โดยมีผูสนับสนุน ไดแก วิลเลียม เอช. ไรเกอร อดัม ปรเซวอรสกี
อีกฝายหนึ่ง แนวคิดประชาธิปไตยทางตรง ยึดมั่นในแนวคิดที่วาประชาชนควรมีสวนรวมในกระบวนการการ
รางกฎหมายและนโยบายของรัฐอยางเต็มที่ โดยไมตองใชอํานาจผานผูแทนราษฎร ผูสนับสนุนประชาธิปไตย
ทางตรงไดยกเหตุผลสนับสนุนระบอบดังกลาวอยูหลายขอ จากการดําเนินกิจกรรมทางการเมืองจะเปนประโยชนแก
พลเมืองของรัฐ เนื่องจากจะนําไปสูการสรางชุมชนและการศึกษา การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ยังจะ
เปนการตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล และเหตุผลที่สําคัญที่สุด พลเมืองมิไดปกครองตนเองนอกเหนือจากการ
ตัดสินใจรางกฎหมายและรางนโยบายโดยตรงเทานั้น
รัฐบาลมักออกกฎหมายและนโยบายซึ่งใกลเคียงกับแนวคิดสายกลาง ซึ่งแทจริงแลว ผลกระทบอัน
พึงปรารถนาเมื่อแสดงใหเห็นถึงผลประโยชนสวนตนและการกระทําที่ปลอยปละละเลย เพื่อใหไดมาซึ่งคะแนนเสียง
ของประชาชน ซึ่งแอนโทนี ดาวนสไดเสนอวาควรจะมีการจัดตั้งพรรคการเมืองในอุดมคติขึ้นเพื่อเปนสื่อกลาง
ระหวางปจเจกบุคคลกับรัฐบาล โดยเขาไดแสดงแนวคิดของเขาในหนังสือ An Economic Theory of
Democracy ใน ค.ศ. 1957
Dahl ไดโตแยงวาหลักการพื้นฐานของประชาธิปไตยนั้น เมื่อเปนการตัดสินใจรวมกันอยางผูกมัดแลว
พลเมืองแตละคนในชุมชนก็สมควรจะไดรับประโยชนตามที่ตนไดกําหนดไวใหเปนการพิจารณาอยางเทาเทียมกัน จึง
ไมจําเปนที่ประชากรทุกคนจะมีความพึงพอใจอยางเสมอกันในการตัดสินใจของสวนรวมนั้น เขาไดใชคําวา
poliarchy เพื่อใชแทนสังคม ซึ่งมีรูปแบบขนบธรรมเนียมและการปฏิบัติ อันจะนําไปสูความเปนประชาธิปไตยที่
ถูกตอง แตสิ่งแรกที่จะตองมากอนขนบธรรมเนียมปฏิบัติเหลานี้ คือ การเลือกตั้งที่เสรีและยุติธรรม เพื่อเลือกผูแทน
ซึ่งจะทําหนาที่บริหารนโยบายสวนรวมทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดของสังคม อยางไรก็ดี ระบบดังกลาวอาจมิไดสราง
ใหเกิดรูปแบบประชาธิปไตยอันสมบูรณได เชน ความยากจนขัดสนซึ่งขัดขวางประชาธิปไตย และยังมีคนบางกลุมที่
มองเห็นถึงปญหาที่เหลาเศรษฐีกําลังมีอิทธิพลมากขึ้นเรื่อย ๆ และยังตอตานการรณรงคปฏิรูปเศรษฐกิจ บางคนวา
การกําหนดนโยบายโดยใชเสียงสวนใหญนั้นเปนการปกครองที่ตรงกันขามกับการปกครองโดยประชาชนทั้งหมด โดย
เหตุผลดังกลาวสามารถยกไปอางเพื่ออํานาจที่มีสวนรวมทางการเมือง เชน การบังคับเลือกตั้ง หรือสําหรับการ
28
กระทําที่อดทนกวานั้น โดยการอดทนขัดขวางอํานาจของรัฐบาล จนกระทั่งประชาชนสวนใหญสมัครใจจะพูดในสิ่งที่
ตนคิดออกมา
- ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (deliberative democracy) ตั้งอยูบนแนวความคิดที่วาประชาธิปไตย
เปนการปกครองโดยการอภิปราย ผูสนับสนุนยืนยันวากฎหมายและนโยบายควรจะตั้งอยูบนพื้นฐานของเหตุผลซึ่ง
ประชาชนทุกคนสามารถรับได และในสนามการเมืองควรจะเปนสถานที่ซึ่งผูนําและพลเมืองสามารถถกเถียง รับ
ฟง และเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตนได
- ประชาธิปไตยมูลฐาน (radical democracy) ตั้งอยูบนพื้นฐานของแนวความคิดที่วา มีการแบงชนชั้นและ
การกดขี่เกิดขึ้นในสังคม บทบาทของประชาธิปไตยควรจะเปดเผยและทาทายตอความสัมพันธดังกลาว โดยการเปด
โอกาสใหความแตกตางทางความคิดเพื่อนํามาใชประกอบในการตัดสินใจ
สาธารณรัฐ
ในอีกแงมุมหนึ่ง คําวา ประชาธิปไตย หมายถึง รัฐบาลที่ไดรับเลือกเขามาจากประชาชน โดยอาจเปน
ประชาธิปไตยทางตรงหรือทางออมก็ไดสวนคําวา สาธารณรัฐ สามารถตีความไดหลายความหมาย แตในปจจุบันนี้
คําวา สาธารณรัฐ หมายถึง ประชาธิปไตยทางออมซึ่งสามารถเลือกตั้งประมุขแหงรัฐไดโดยตรง โดยมีระยะเวลา
บริหารประเทศที่จํากัด ซึ่งตรงกันขามกับรัฐที่ปกครองโดยราชวงศซึ่งสืบทอดตําแหนงโดยสายเลือด แมวารัฐเหลานี้
จะมีสวนของประชาธิปไตยทางออม ซึ่งมีการเลือกหรือแตงตั้งหัวหนารัฐบาล คือ นายกรัฐมนตรี
เหลาบิดาผูกอตั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ไดใหการยกยองประชาธิปไตยนอยครั้ง แตวิพากษวิจารณ
ประชาธิปไตยบอยครั้ง เนื่องจากแนวคิดประชาธิปไตยในสมัยนั้น หมายความถึง ประชาธิปไตยทางตรง
เจมส เมดิสัน ไดโตแยง โดยเฉพาะอยางยิ่งใน สหพันธรัฐนิยมหมายเลข 10 วาสิ่งใดที่เปนความแตกตางระหวาง
ประชาธิปไตยแตกตางจากสาธารณรัฐ นั่นคือ ประชาธิปไตยจะคอย ๆ ออนแอลงเมื่อมีพลเมืองมากขึ้น และจะไดรับ
ความเสียหายเพิ่มขึ้นจากการแบงฝกฝาย ตรงกันขามกับสาธารณรัฐ ซึ่งจะแข็งแกรงขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อมีพลเมืองมากขึ้น
และตอกรกับฝกฝายอื่น ๆ โดยใชโครงสรางสาธารณรัฐ
ราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญและสภาสูง
นับตั้งแตการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอเมริกาแลว คําถามตอมา คือ ประชาธิปไตยจะมีวิธีการอยางไรใน
การควบคุมเสียงสวนใหญใหอยูในขอบเขต อันไดนําไปสูแนวคิดของสภาสูง โดยสมาชิกอาจเลือกสมาชิกสภาสูงเขา
มาผูมีความรูความสามารถ หรือเปนขุนนางมาตลอดชีวิต หรือควรจะมีการจํากัดอํานาจของกษัตริยใหอยูภายใต
รัฐธรรมนูญ
ระบอบราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญในบางประเทศนั้น ไดมาจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองจาก
สมบูรณาญาสิทธิราช มาเปนราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ หรือคอย ๆ เปลี่ยนแปลงฐานะทางการเมืองของกษัตริย
ใหเหลือเพียงสัญลักษณหรือศูนยรวมจิตใจเทานั้น แตสวนใหญแลว สถาบันกษัตริยมักจะถูกลมลางลง พรอม ๆ กับ
29
เหลาชนชั้นสูง และบางประเทศซึ่งขุนนางชั้นสูงไดสูญเสียอํานาจลงไป หรืออาจเปลี่ยนแปลงไป ใชระบบการ
เลือกตั้งแทน
ระบอบการปกครองพื้นฐาน
ระบอบการปกครอง (Form of government) หมายถึง สถาบันทางการเมืองซึ่งรัฐบาลของรัฐไดจัดตั้งขึ้น
เพื่อใชอํานาจในการปกครองประเทศ คํานี้ยังนิยามรวมไปถึงรัฐบาลที่ไมประสบความสําเร็จในการใชอํานาจปกครอง
ประเทศดวย
ระบอบการปกครอง แบงตามโครงสรางอํานาจ
รัฐเดี่ยว (unitary state) เปนรัฐซึ่งปกครองเปนหนวยเดี่ยว โดยรัฐบาลกลางอยูในระดับสูงสุด และเขตการ
บริหารใด ๆ (ซึ่งเปนหนวยงานบริหารระดับยอยของรัฐ) สามารถใชอํานาจไดเฉพาะตามที่รัฐบาลกลางเลือกจะ
มอบหมายใหทําการแทนเทานั้น รัฐจํานวนมากในโลกมีรูปแบบรัฐเปนรัฐเดี่ยวรัฐเดี่ยวตรงขามกับรัฐสหพันธ (หรือ
สหพันธรัฐ)
ในรัฐเดี่ยว รัฐบาลกลางอาจจัดตั้งหรือยุบหนวยงานบริหารระดับยอยของรัฐ และอํานาจของหนวยงาน
เหลานี้อาจถูกขยายเพิ่มเติมหรือยอลงได แมอํานาจทางการเมืองในรัฐเดี่ยวอาจมีการมอบหมายใหทําการแทนผาน
การมอบอํานาจปกครองสูรัฐบาลทองถิ่นโดยบทกฎหมาย หากรัฐบาลกลางยังอยูในระดับสูงสุด ซึ่งอาจยกเลิก นิติ
กรรมของรัฐบาลที่ไดรับมอบอํานาจหรือตัดทอนอํานาจของรัฐบาลทองถิ่นก็ได
สหราชอาณาจักรเปนตัวอยางหนึ่งของรัฐเดี่ยว สกอตแลนด เวลส และไอรแลนดเหนือ ซึ่ง รวมกับแควน
อังกฤษ เปนสี่ประเทศอันประกอบขึ้นเปนสหราชอาณาจักร มีอํานาจที่ไดรับมอบซึ่งปกครองตนเองระดับหนึ่ง โดย
ทั้งสกอตแลนด เวลสและไอรแลนดเหนือ ตางมีฝายบริหารและนิติบัญญัติของตนเอง แตอํานาจที่ไดรับมอบทั้งหมด
ลวนแตเปนที่รัฐบาลกลางของอังกฤษมอบหมายใหทําการแทนทั้งสิ้น ยิ่งไปกวานั้น รัฐบาลที่ไดรับมอบอํานาจไมอาจ
คัดคานการเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญของพระราชบัญญัติที่รัฐสภาออก และอํานาจของรัฐบาลที่ไดรับมอบอํานาจนั้น
รัฐบาลกลาง (หมายถึง รัฐสภาพรอมดวยรัฐบาลอันประกอบดวยคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนหัวหนา)
สามารถเพิกถอนหรือลดยอลงได ตัวอยางเชน รัฐสภาไอรแลนดเหนือเคยถูกพักไว สี่ครั้ง โดยอํานาจไดถายโอนไป
ยังสํานักไอรแลนดเหนือของรัฐบาลกลาง
ยูเครนเปนอีกตัวอยางหนึ่งของรัฐเดี่ยว สาธารณรัฐไครเมียในประเทศมีระดับการปกครองตนเองและมี
คณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติปกครอง ในตนคริสตทศวรรษ 1990 สาธารณรัฐดังกลาวยังไดมีตําแหนง
ประธานาธิบดีซึ่งถูกยุบไปเพราะการโนมเอียงแบงแยกซึ่งเจตนาจะโอนไครเมียใหแกรัสเซีย
ระบอบสหพันธรัฐ (Federalism) เปนแนวคิดการเมืองซึ่งกลุมสมาชิกผูกมัดเขาดวยกันโดยขอตกลงรวมกัน
โดยมีหัวหนาที่เปนตัวแทนซึ่งมีสิทธิปกครอง คําวา "ระบอบสหพันธรัฐ" ยังใชอธิบายระบบของรัฐบาลซึ่งรัฐธรรมนูญ
30
ไดแบงแยกอํานาจอธิปไตยระหวางฝายปกครองสวนกลางกับหนวยการเมืองที่เปนองประกอบ (เชน รัฐหรือมณฑล)
ระบอบสหพันธรัฐเปนระบบซึ่งตั้งอยูบนการปกครองแบบประชาธิปไตยและสถาบันซึ่งอํานาจในการปครองนั้นแบง
ออกเปนของรัฐบาลแหงชาติและรัฐบาลระดับมณฑลหรือรัฐ กอใหเกิดเปนสิ่งที่มักเรียกวา สหพันธรัฐ ผูเสนอมักถูก
เรียกวา ผูสนับสนุนสหพันธ (federalist)
ในยุโรป "ผูสนับสนุนสหพันธ" บางใชอธิบายผูที่นิยมรัฐบาลสหพันธรวม โดยมีอํานาจกระจายสูระดับภูมิภาค
ชาติและเหนือชาติ ผูสนับสนุนสหพันธยุโรปสวนมากตองการพัฒนาการนี้ใหดําเนินตอไปภายในสหภาพ
ยุโรป ระบอบสหพันธรัฐยุโรปถือกําเนิดขึ้นในยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หนึ่งในการริเริ่มที่สําคัญกวา คือ
สุนทรพจนของวินสตัน เชอรชิลลในซูริค เมื่อ ค.ศ. 1946
ระบอบสหพันธรัฐอาจรวมหนวยงานบริหารภายในนอยเพียงสองหรือสามหนวยเทานั้น ดังเชนในกรณีของ
เบลเยียมหรือบอสเนียและเฮอรเซโกวีนา โดยทั่วไป ระบอบสหพันธรัฐสามารถจําแนกไดเปนสองขั้วที่สุดโตง ขั้วหนึ่ง
รัฐสหพันธนั้นแทบจะเปนรัฐเดี่ยวอยางสมบูรณ ขณะที่อีกขั้วหนึ่ง รัฐสหพันธนั้นแตเพียงในนาม แตเปนสหภาพ
สมาพันธในทางปฏิบัติ
สมาพันธรัฐ (confederation) เปนศัพทการเมืองสมัยใหม หมายถึง การรวมกันของหนวยการเมืองเปนการ
ถาวรเพื่อใหมีการเคลื่อนไหวรวมกันตามหนวยอื่นสมาพันธรัฐตามปกติกอตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญา แตภายหลังมักกอตั้ง
ขึ้นจากการเห็นชอบรัฐธรรมนูญรวมกัน สมาพันธรัฐมีแนวโนมสถาปนาขึ้นเพื่อจัดการกับปญหารายแรง เชน การ
ปองกัน การระหวางประเทศหรือสกุลเงินรวม โดยมีรัฐบาลกลางที่ถูกกําหนดใหจัดหาการสนับสนุนแกสมาชิก
ทั้งหมด
ธรรมชาติความสัมพันธระหวางรัฐซึ่งประกอบขึ้นเปนสมาพันธรัฐนั้นแตกตางกันมาก เชนเดียวกับ
ความสัมพันธรหวางรัฐสมาชิก รัฐบาลกลางและการกระจายอํานาจใหรัฐตาง ๆ ก็มีแตกตางกันเชนกัน สมาพันธรัฐ
อยางหลวมบางแหงคลายคลึงกับองคการระหวางรัฐบาล ขณะที่สมาพันธรัฐอยางเขมอาจเหมือนสหพันธรัฐ
ระบอบการปกครอง แบงตามที่มาของอํานาจ
อภิชนาธิปไตย (aristocracy) เปนระบอบการปกครองซึ่งมีพลเมืองอภิชนจํานวนนอยเปนผูปกครอง คําวา
aristocracy มาจากภาษากรีก aristokratia หมายถึง "การปกครองโดยคนที่ดีที่สุด" (rule of the best) มีกําเนิด
ในกรีซโบราณ อภิชนาธิปไตยเขาใจวาเปนการปกครองโดยพลเมืองเบื้องสูงจากมุมมองทางปญหาและศีลธรรม และ
ขัดแยงกับราชาธิปไตย ในสมัยหลัง "ความดีเลิศ" โดยปกติมักถูกมองวาขึ้นอยูกับมุมมองสวนบุคคล และ อภิ
ชนาธิปไตยโดยปกติมักถูกมองวาเปนการปกครองโดยคนกลุมนอยที่มีเอกสิทธิ์ (ชนชั้นสูง)จากประชาชน
ราชาธิปไตย (monarchy) เปนรูปแบบการปกครองที่ตําแหนงประมุขแหงรัฐโดยปกติถืออยูกระทั่งสวรรคต
หรือสละราชสมบัติ โดยมากมักไดอํานาจมาโดยการสืบราชสมบัติ และโดยปกติมักใหแกพระบรมวงศานุวงศแหง
ราชวงศที่ปกครองอยูกอนอยางเปนทางการ พระมหาษัตริยมักมีฐานันดรศักดิ์เปนพระราชาหรือ พระราชินี
31
อยางไรก็ดี จักรพรรดิ/จักรพรรดินี, แกรนดดยุก/แกรนดดัชเชส, เจาชาย/เจาหญิง และคําอื่น ถูกใชเพื่อระบุ
ตําแหนงพระมหากษัตริยดวย แมคําวา "monarch" จะมาจากคําวา "ผูปกครองคนเดียว" แตโดยประเพณี ประมุข
แหงรัฐที่มีตําแหนงประธานาธิบดีหรือผูนํา (premier) ไมถูกพิจารณาวาเปนพระมหากษัตริยอยางเปนทางการ
ลักษณะที่ทําใหระบอบราชาธิปไตยแตกตางจากระบอบสาธารณรัฐคือ พระมหากษัตริยทรงครองแผนดินเปนประมุข
ตลอดพระชนมชีพ และสืบราชสันตติวงศใหกับรัชทายาทเมื่อพระองคเสด็จสวรรคต แมจะมีบางที่มีการเลือกตั้งผูสืบ
ทอดตําแหนงพระมหากษัตริย สวนในสาธารณรัฐ ประมุขของรัฐ (ซึ่งมักเรียกวาประธานาธิบดี) โดยปกติแลวมีที่มา
จากการเลือกตั้ง และทําหนาที่อยูในชวงในเวลาที่แนนอน เชน 4 ป 6 ป เปนตน
ราชาธิปไตยเปนหนึ่งในระบอบการปกครองที่เกาแกที่สุด อาจถือกําเนิดขึ้นจากระบบการปกครองแบบ
หัวหนาเผา (tribal kingship) หรือสมณเพศหลวง (royal priesthood) ในอดีต บางประเทศเชื่อวาพระมหากษัตริย
ทรงไดเทวสิทธิ์ใหมาปกครองประเทศตามความปรารถนาของพระเจา หรือบางประเทศอาจเชื่อวาพระมหากษัตริย
มาจากพระเจา ตําแหนงพระมหากษัตริยนี้มักจะสืบตกทอดแกลูกหลาน จึงสงผลใหเกิดราชวงศขึ้น พระมหากษัตริย
ยังอาจมาจากพฤติการณรุนแรงของกลุมรุกรานตอชุมชนทองถิ่น ซึ่งแยงชิงสิทธิของชุมชนเหนือประเพณี ผูนําของ
กลุมที่แยงชิงสิทธินั้นมักสถาปนาตนเปนพระมหากษัตริย สถานะพระมหากษัตริย กลาวกันวาเปนผลซึ่งเผยถึง
ความสัมพันธระหวางทรัพยากร ชุมชน พระมหากษัตริยและตําแหนงของพระองค
ราชาธิปไตยเคยเปนระบอบการปกครองที่แพรหลายที่สุดจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 แตปจจุบันมิได
แพรหลายอีกตอไป อยางนอยก็ในระดับชาติ ประเทศซึ่งยังปกครองแบบราชาธิปไตยอยู ปจจุบันมักพบในรูปของ
ราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ โดยพระมหากษัตริยทรงถือบทบาททางกฎหมายและพิธีกรรมเปนเอกลักษณ แตไม
ทรงใชหรือใชอํานาจทางการเมืองอยางจํากัดตามรัฐธรรมนูญหรือประเพณีซึ่งจัดสรรรฝายปกครองที่อื่น
พระมหากษัตริยทรงเปนศูนยรวมจิตใจ แตอํานาจอธิปไตยอยูที่ประชาชน (ปรมิตตาญาสิทธิราชย) พระมหากษัตริย
หลายพระองคถูกสถาปนาขึ้นตามจารีตประเพณีหรือตามประมวลกฎหมายเพื่อไมใหมีอํานาจ ทางการเมืองอยาง
แทจริง บางประเทศ พระมหากษัตริยอาจทรงมีอํานาจอยูบาง แตก็ถูกจํากัดไวดวยความเห็นชอบของประชาชนหรือ
บรรทัดฐานของพระมหากษัตริยพระองคกอน
ปจจุบันมี 44 รัฐอธิปไตยในโลกที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขแหงรัฐ โดย 16 รัฐเปนเครือจักรภพ
แหงชาติ ซึ่งยอมรับวาสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แหงสหราชอาณาจักรเปนประมุขแหงรัฐของตน ประเทศ
ราชาธิปไตยทุกประเทศในยุโรปเปนแบบภายใตรัฐธรรมนูญ ยกเวนนครรัฐวาติกัน แตพระมหากษัตริยในรัฐเล็ก ๆ
มักมีอิทธิพลทางการเมืองมากกวาในรัฐใหญ ๆ พระมหาษัตริยกัมพูชา ญี่ปุน จอรแดน มาเลเซียและโมร็อกโก
"ครองราชย แตไมปกครอง" แมจะมีความแตกตางกันบางในอํานาจที่พระมหากษัตริยในประเทศเหลานี้ทรงถือ แม
พระมหากษัตริยจะทรงปกครองภายใตรัฐธรรมนูญ แตพระมหากษัตริยบรูไน โอมาน กาตาร ซาอุดิอาระเบียและ
32
สวาซิแลนดดูเหมือนวาจะทรงมีอิทธิพลทางการเมืองเหนือแหลงแหงอํานาจหนาที่แหลงหนึ่งแหลงใดในชาตินั้นตอไป
ไมวาจะโดยอํานาจตามรัฐธรรมนูญหรือโดยประเพณี
คณาธิปไตย (oligarchy) เปนรูปแบบโครงสรางอํานาจซึ่งอํานาจอยูกับกลุมบุคคลจํานวนนอยอยางชะงัด
บุคคลเหลานี้อาจมีเชื้อเจา มั่งมี มีความสัมพันธทางครอบครัว หมูคณะหรือควบคุมทางทหาร รัฐเชนนี้มักถูกควบคุม
โดยไมกี่ตระกูลที่มีชื่อเสียงซึ่งสงผานอิทธิพลของตระกูลจากรุนสูรุน ตลอดประวัติศาสตร คณาธิปไตยในบางประเทศ
ไดเปนทรราช ตองอาศัยภาระจํายอมของสาธารณะจึงจะอยูได แมคณาธิปไตยในประเทศอื่นจะคอนขางผอน
ปรน อริสโตเติลริเริ่มการใชคํานี้เปนคําไวพจนของการปกครองโดยคนรวย ซึ่งคําที่ถูกตอง คือ ธนาธิป
ไตย (plutocracy) แตคณาธิปไตยไมจําเปนตองเปนการปกครองดวยความมั่งมีเสมอไป ดวยผูปกครองในระบอบ
คณาธิปไตยเปนกลุมมีเอกสิทธิไดงาย ๆ และไมจําเปนตองเชื่อมโยงทางสายเลือดดังเชนใน ราชาธิป
ไตย บางนครรัฐในสมัยกรีกโบราณปกครองแบบคณาธิปไตย
ระบอบการปกครองจากรัฐธรรมนูญ
ราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ(constitutional monarchy) เปนระบอบการปกครองอยางหนึ่ง โดยมี
พระมหากษัตริยเปนประมุขแหงรัฐ ไมวาจะมาจากการสืบเชื้อสายพระราชบัลลังกหรือการเลือกตั้ง โดยมีพระราช
อํานาจถูกจํากัดอยูภายใตรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริยไมทรงเปนประมุขของฝายบริหาร เพราะฝายบริหารมี
นายกรัฐมนตรีจากประชาชนเปนหัวหนาหรือประมุขอยูแลว การปกครองแบบนี้เรียกอีกชื่อวา ปริมิตาญาสิทธิ
ราชย (limited monarchy) ซึ่งไมเหมือนกับราชาธิปไตยโดยสมบูรณ ซึ่งพระมหากษัตริยมีพระราชอํานาจทาง
การเมืองเบ็ดเสร็จและไมทรงอยูภายใตรัฐธรรมนูญ
ปจจุบัน รัฐแบบราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญสวนใหญมักปกครองดวยระบบรัฐสภา อาทิ ออสเตรเลีย
เบลเยียม กัมพูชา แคนาดา เดนมารก ญี่ปุน มาเลเซีย เนเธอรแลนด นิวซีแลนด นอรเวย สเปน สวีเดน ไทย สหราช
อาณาจักร และภูฏาน โดยภูฏานเปนประเทศลาสุดที่เปลี่ยนแปลงจากสมบูรณาญาสิทธิราชมาเปนราชาธิปไตย
ภายใตรัฐธรรมนูญ
ประชาธิปไตยเปนระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งบริหารอํานาจรัฐมาจากเสียงขางมากของพลเมือ ผูเปน
เจาของอํานาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใชอํานาจของตนโดยตรงหรือผานผูแทนที่ตนเลือกไปใชอํานาจแทนก็ได
ประชาธิปไตยยังเปนอุดมคติที่วาพลเมืองทุกคนในชาติรวมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และ
กําหนดใหพลเมืองทุกคนมีโอกาสเทาเทียมกันในการแสดงความยินยอมและเจตนาของตน
ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณชวงศตวรรษที่ 5 กอนคริสตกาล โดยเฉพาะอยางยิ่ง ใน
เอเธนสหลังการกอการกําเริบเมื่อ 508 ปกอนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกวา ประชาธิปไตยทางตรงซึ่ง
พลเมืองเขาไปเกี่ยวของในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แตประชาธิปไตยในปจจุบันเปนประชาธิปไตยแบบมี
33
ผูแทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเปนผูแทนตนในรัฐสภาจากนั้น สมาชิกสภาจ
เปนผูตัดสินใจดวยเสียงขางมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยูในระดับทองถิ่นหลายประเทศ เชน การเลือกตั้ง
สมาชิกเทศบาล อยางไรก็ดี ในระดับชาติ ความเปนประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออก
กฎหมายและการถอดถอนผูไดรับเลือกตั้ง
แมในปจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไมมีนิยามที่ไดรับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แตความเสมอภาคและ
อิสรภาพไดถูกระบุวาเปนคุณลักษณะสําคัญของประชาธิปไตยนับแตโบราณกาลหลักการดังกลาวถูกสะทอนออกมา
ผานความเสมอภาคทางกฎหมายของพลเมืองทุกคน และมีสิทธิเขาถึงกระบวนการทางกฎหมายโดย เทาเทียม
กัน ตัวอยางเชน ในประชาธิปไตยแบบมีผูแทน ทุกเสียงมีน้ําหนักเทากันทั้งสิ้น และไมมีการจํากัดอยางไรเหตุผลใช
บังคับกับทุกคนที่ปรารถนาจะเปนผูแทน สวนอิสรภาพไดมาจากสิทธิและเสรีภาพตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่ง
โดยทั่วไปไดรับการคุมครองโดยรัฐธรรมนูญ
ประชาธิปไตยถือกําเนิดขึ้นอยางเปนทางการในกรีซโบราณแตวิธีปฏิบัติแบบประชาธิปไตยปรากฏในสังคมอยู
กอนแลว รวมทั้งเมโสโปเตเมีย ฟนีเซียและอินเดียวัฒนธรรมอื่นหลังกรีซไดมีสวนสําคัญตอวิวัฒนาการของ
ประชาธิปไตย เชน โรมันโบราณ ยุโรปและอเมริกาเหนือและใต มโนทัศนประชาธิปไตยแบบมีผูแทนเกิดขึ้นสวนใหญ
จากแนวคิดและสถาบันซึ่งไดถูกพัฒนาระหวางยุคกลางของยุโรปและยุคภูมิธรรมในการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติ
ฝรั่งเศส
ประชาธิปไตยไดถูกเรียกวา "ระบอบการปกครองสุดทาย" และไดแพรหลายอยางมากไปทั่วโลกสิทธิในการ
ออกเสียงลงมติในหลายประเทศไดขยายวงกวางขึ้นเมื่อเวลาผานไปจากกลุมคอนขางแคบ (เชน ชายมั่งมีในกลุมชาติ
พันธุหนึ่ง ๆ) โดยนิวซีแลนดเปนชาติแรกที่ใหสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปแกพลเมืองทุกคนใน ค.ศ. 1893
ประชาธิปไตยมักถูกเขาใจสับสนกับระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ในบางนิยาม "สาธารณรัฐ" เปน
ประชาธิปไตยรูปแบบหนึ่ง แตนิยามอื่นทําให "สาธารณรัฐ" เปนคําที่มีความหมายตางหาก ไมเกี่ยวของกันอยางไรก็ดี
แมการดําเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยแมจะไดรับความนิยมมากในปจจุบัน แตตองเผชิญกับปญหา
หลายประการที่เกิดขึ้นในปจจุบัน อยางเชน ขอพิพาทเกี่ยวกับดินแดน การอพยพเขาเมือง และ การกีดกันกลุม
ประชากรบางชาติพันธุเปนตน
องคการสหประชาชาติไดประกาศกําหนดใหวันที่ 15 กันยายน ของทุกป เปนวันประชาธิปไตยสากล
ประชาธิปไตยทางตรงหรือประชาธิปไตยบริสุทธิ์ เปนรูปแบบการปกครองซึ่งประชาชนออกเสียงในการริเริ่ม
นโยบายตาง ๆ โดยตรง ซึ่งขัดกับประชาธิปไตยแบบมีผูแทนตรงที่ประชาชนออกเสียงเลือกผูแทนไปทําหนาที่ออก
เสียงการริเริ่มนโยบายออกทอดหนึ่ง ประชาธิปไตยทางตรงอาจนํามาซึ่งการผานการตัดสินใจบริหาร, เสนอกฎหมาย
, เลือกตั้งหรือถอดถอนเจาหนาที่และดําเนินการไตสวน ประชาธิปไตยทางตรงหลัก ๆ สองรูปแบบมีประชาธิปไตย
แบบมีสวนรวมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ
34
หลายประเทศซึ่งปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผูแทนอนุญาตรูปแบบการปฏิบัติทางการเมืองสาม
รูปแบบซึ่งใหประชาธิปไตยทางตรงอยางจํากัด ไดแก การลงประชามติ, การริเริ่มออกกฎหมาย และการถอดถอนผู
ไดรับเลือกตั้ง การลงประชามติอาจรวมความสามารถที่จะจัดการออกเสียงมีผลผูกมัดวากฎหมายฉบับหนึ่ง ๆ ควร
ถูกปฏิเสธหรือไม ดวยวิธีการนี้จึงเปนการใหสิทธิแกประชากรซึ่งจัดการออกเสียงเลือกตั้งวีโต กฎหมายซึ่งผูไดรับ
เลือกตั้งลงมติยอมรับ ประเทศหนึ่งที่ใชระบบนี้คือ สวิตเซอรแลนดการริเริ่มออกกฎหมาย ซึ่งตามปกติแลวสมาชิก
สาธารณะทั่วไปเปนผูเสนอ ผลักดันการพิจารณากฎหมาย (โดยปกติในการลงประชามติตามมา) โดย
ปราศจากการปรึกษากับผูแทนที่ไดรับเลือกตั้ง หรือแมจะขัดกับการคัดคานที่แสดงออกของพวกเขา การ
ถอดถอนผูไดรับเลือกตั้งใหอํานาจแกสาธารณะในการถอดถอนเจาหนาที่จากตําแหนงกอนสิ้นสุดวาระ แมกรณี
นี้จะหายากมากในประชาธิปไตยสมัยใหม ผูเขียนซึ่งสนับสนุนอนาธิปไตยไดแยงวา ประชาธิปไตยทางตรงไมยอมรับ
องคกรกลางที่เขมแข็ง เพราะอํานาจการตัดสินใจสามารถอยูไดระดับเดียวเทานั้น คือ อยูกับประชาชนหรือกับ
องคกรกลาง
ระบอบการปกครอง แบบมีผูแทน
ประชาธิปไตยแบบมีผูแทน (Representative democracy) โดยทั่วไปมักเรียกวาเปนรูปแบบหนึ่งของ
ระบอบประชาธิปไตยที่มีลักษณะตรงขามกับ หรือเปนประชาธิปไตยแบบทางตรงประชาธิปไตยแบบทางออม
(Indirect Democracy)
ประชาธิปไตยแบบมีผูแทนเปนระบอบการเมืองที่ใหประชาชนเลือกผูแทนของตนเขาไปบริหารและตัดสินใจ
แทนตน เปนระบอบการปกครองที่ประชาชนมอบอํานาจอธิปไตยใหผูแทนที่เขาเลือกตั้งเขาไปตามกฎหมายวาดวย
การเลือกตั้งของรัฐ เปนผูใชอํานาจดังกลาวแทน โดยมีระยะเวลาในการดํารงตําแหนงที่แนนอน เชน ตาม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กําหนดวาระในการดํารงตําแหนง 4 ป สําหรับสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรและ 6 ป สําหรับสมาชิกวุฒิสภา
ในประเทศประชาธิปไตยสวนใหญที่ไดยึดถือหลักการแบงแยกอํานาจอธิปไตยออกเปน 3 ฝายคือ
1. อํานาจนิติบัญญัติ
2. อํานาจบริหาร
3. อํานาจตุลาการ
การเลือกตั้งผูแทนมักใชเพื่ออํานาจในสองประการแรก คืออํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร เชนตัวอยาง
ประเทศไทย อยางไรก็ตาม ประชาธิปไตยแบบตัวแทนดังกลาวนี้ มีปญหาพื้นฐานพอที่จะกลาวถึงไดใน 2 ประการ
ประกอบดวย
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2
บทที่ 2

More Related Content

Viewers also liked

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาSmile Suputtra
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 

Viewers also liked (16)

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
2
22
2
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 
Lesson 1 religion
Lesson 1 religionLesson 1 religion
Lesson 1 religion
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 ประวัติศาสตรการเมืองการปกครอง ยุคโบราณ คําวา ประชาธิปไตย ปรากฏขึ้นเปนครั้งแรกในแนวคิดทางการเมืองและทางปรัชญาชวงยุคกรีซ โบราณ นักปราชญเพลโต เปรียบเทียบประชาธิปไตย ซึ่งเขาเรียกวาเปน "การปกครองโดยผูถูกปกครอง" วาเปน รูปแบบทางเลือกสําหรับระบอบราชาธิปไตย คณาธิปไตยและเศรษฐยาธิปไตยถึงแมวาประชาธิปไตยแบบเอเธนสจะ ถือวาเปนการปกครองในรูปแบบประชาธิปไตยทางตรง แตเดิมแลวประชาธิปไตยแบบเอเธนสมีลักษณะเดนอยูสอง ประการ คือ ไดมีการคัดเลือกพลเมืองธรรมดาจํานวนมากเขาสูระบบรัฐการและศาลและมีการชุมนุมกันของพลเมือง ทุกชนชั้น พลเมืองทุกคนจะไดรับสิทธิใหอภิปรายและลงมติในสภา ซึ่งเปนที่ออกกฎหมายของนครรัฐ หากทวา ความ เปนพลเมืองชาวเอเธนสนั้นรวมเฉพาะแตชายทุกคนซึ่งเกิดจากบิดาที่เปนพลเมืองเทานั้น และผูที่กําลัง "รับราชการ ทหาร" ระหวางอายุ 18-20 ปเทานั้น ซึ่งไมรวมไปถึงผูหญิง ทาส คนตางชาติ และชายผูมีอายุต่ํากวา 20 ปบริบูรณ จากจํานวนผูอยูอาศัยกวา 250,000 คน มีผูไดรับสถานะพลเมืองเพียง 30,000 คน และมีเพียง 5,000 คนเทานั้นที่ มักจะไปปรากฏตัวในสมัชชาประชาชน เจาพนักงานและผูพิพากษาของรัฐบาลจํานวนมากเปนการกําหนดเลือก มี เพียงเหลานายพลและเจาพนักงานเพียงสวนนอยเทานั้นที่มาจากการเลือกตั้ง เกาะอารวัด (ปจจุบันคือ ประเทศซีเรีย) ซึ่งถูกกอตั้งขึ้นเมื่อคริสตสหัสวรรษที่ 2 กอนคริสตกาล โดยชาว ฟนิเซียน ถูกอางวาเปนหนึ่งในตัวอยางของระบอบประชาธิปไตยที่พบในโลกซึ่งที่นั่น ประชาชนจะถืออํานาจอธิปไตย ของตน และอีกตัวอยางหนึ่งที่นาจะมีความเปนไปได คือ ประชาธิปไตยยุคเริ่มแรกอาจมาจากนครรัฐสุเมเรียน สวน ทางดานเวสาลี ซึ่งปจจุบันคือรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เปนหนึ่งในรัฐบาลแรกของโลกที่มีองคประกอบที่สามารถ พิจารณาไดวามีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเปนแหงแรกของโลก (แตก็มีบางคนที่ออกมาโตแยงวาการ ปกครองของเวสาลีนั้นไมเปนราชาธิปไตยก็จริง แตนาจะมีลักษณะเปนคณาธิปไตยมากกวาประชาธิปไตย) และยัง ปรากฏวามีการปกครองที่คลายคลึงกับประชาธิปไตยหรือคณาธิปไตยเกิดขึ้นชั่วคราวโดยชาวเมเดส ชวง คริสตศตวรรษที่ 6 กอนคริสตกาล แตถึงคราวสิ้นสุดเมื่อมาถึงรัชสมัยของพระเจาดาไรอัสมหาราชแหงราชวงศอารเค เมนิด ผูทรงประกาศวา ระบอบราชาธิปไตยที่ดีนั้นยอมเหนือกวาระบอบคณาธิปไตยและระบอบประชาธิปไตยในทุก รูปแบบ นอกจากนั้น ยังไดมีการกลาวอางถึงสถาบันทางประชาธิปไตยในยุคเริ่มแรก โดยถือวาเปน "สาธารณรัฐ" อิสระในประเทศอินเดีย อยางเชน พระสงฆ ซึ่งเริ่มตนตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 6 กอนคริสตกาล จนถึงคริสตศตวรรษที่ 4 แตหลักฐานที่พบนั้นเลื่อนลอยและไมสามารถหาแหลงอางอิงทางประวัติศาสตรไดอยางแนชัด นอกจากนั้น
  • 2. 22 Deodorius ซึ่งเปนนักปราชญชาวกรีกในรัชสมัยของพระเจา Alexzander กลาวถึงรัฐอิสระซึ่งมีการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยในอินเดีย แตทวาไมไดใหรายละเอียดเพิ่มเติมแตอยางใด อยางไรก็ตาม นักวิชาการสมัยใหม กลาววา คําวาประชาธิปไตย ในสมัยคริสตศตวรรษที่ 3 กอนคริสตกาลไดถูกลดความนาเชื่อถือลง และอาจหมายถึง รัฐอิสระซึ่งไมเกี่ยวของกับการปกครองของประชาชนเลยแมแตนอย ถึงแมวาในยุคของสาธารณรัฐโรมัน จะไดมีการสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อยางเชน การ ออกกฎหมาย ทวาก็มิไดเปนประชาธิปไตยอยางสมบูรณ ชาวโรมันมีการเลือกผูแทนตนเขาสูสภาก็จริง แตไมรวมถึง สตรี ทาสและคนตางดาวจํานวนมหาศาล และยังมอบน้ําหนักใหกับเหลาเศรษฐีและเจาหนาที่ระดับสูง ซึ่งการจะเขา มาเปนสมาชิกของสภาซีเนทมักจะมาจากครอบครัวที่มีชื่อเสียงและร่ํารวยจํานวนนอยเทานั้น ยุคกลาง ระหวางชวงยุคกลาง ไดมีรูปแบบหลายอยางที่เกี่ยวของกับการเลือกตั้งหรือสมัชชา ถึงแมวาบอยครั้ง จะเปดโอกาสใหกับประชาชนเพียงสวนนอยเทานั้น อยางเชน เครือจักรภพโปแลนด-ลิทัวเนีย ในนครรัฐ เวนิซ ชวงอิตาลียุคกลาง รัฐในไทรอล เยอรมันและสวิตเซอรแลนด รวมไปถึงนครพอคาอิสระ ซะไก ในชวง คริสตศตวรรษที่ 16 ในญี่ปุน เนื่องจากการปกครองรูปแบบตาง ๆ ที่กลาวมานั้นประชาชนมีสวนรวมเพียงสวนนอย เทานั้น จึงมักจะถูกจัดวาเปนคณาธิปไตยมากกวา และดินแดนยุโรปในสมัยนั้นยังคงปกครองภายใตนักบวชและขุน นางในยุคศักดินาเปนสวนมาก รูปแบบการปกครองซึ่งมีความใกลเคียงกับลักษณะระบบประชาธิปไตยสมัยใหมยิ่งขึ้นไปอีก คือ ระบบของ กลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คในยูเครนระหวางคริสตศัตวรรษที่ 16-17 คอสแซ็ค เฮ็ตมันนาเตและซาโปริเซียน ซิค โดย เปดโอกาสใหผูแทนจากตําบลตาง ๆ ของเคานตีเลือกตําแหนงสูงสุด ซึ่งเรียกวา "เฮ็ตมัน" (Hetman) แตดวยความที่ กลุมสาธารณรัฐคอสแซ็คเปนรัฐทางการทหารอยางเต็มตัว สิทธิของผูรวมในการเลือก "เฮ็ตมัน" จึงมักจะจํากัดอยูแต เพียงผูที่รับราชการในกองทหารคอสแซ็คเทานั้น และตอมาก็ยิ่งจํากัดเพิ่มขึ้นไปอีกเปนแตเฉพาะนายทหารระดับสูง มหากฎบัตรของอังกฤษ ทางดานรัฐสภาแหงอังกฤษ มีรากฐานของการจํากัดพระราชอํานาจของกษัตริยมาจากมหากฎบัตรซึ่งสมาชิก รัฐสภาชุดแรกที่มาจากการเลือกตั้ง ไดแก รัฐสภาของเดอ มงตฟอรต ในป ค.ศ. 1265 แตอันที่จริงแลว มีเพียง ประชาชนกลุมนอยเทานั้นที่ออกมาแสดงความคิดเห็น โดยรัฐสภาไดรับการคัดเลือกจากประชาชนคิดเปนนอยกวา 3% ในป ค.ศ. 1780 และยังไดเกิดปญหากับรูปแบบการปกครองดังกลาว ที่เรียกวา "เขตเลือกตั้งเนา" (rotten boroughs) โดยอํานาจในการจัดตั้งรัฐสภานั้นขึ้นอยูกับความพึงพอใจของกษัตริย หลังจากการปฏิวัติอันรุงโรจน ใน ป ค.ศ. 1688 และการบังคับใชพระราชบัญญัติสิทธิ ในป ค.ศ. 1689 ซึ่งไดมีการประมวลหลักสิทธิและเพิ่มพูน อิทธิพลของรัฐสภา หลังจากนั้นสิทธิในการเลือกสมาชิกรัฐสภาก็เพิ่มมากขึ้นทีละนอย จนกระทั่งกษัตริยทรงเปน เพียงประมุขแตในนามเทานั้น
  • 3. 23 รูปแบบประชาธิปไตยยังไดปรากฏในการปกครองระบบชนเผา อยางเชน สหพันธไอโรโควอิส (Iroquois Confederacy) อยางไรก็ตาม ตองเปนสมาชิกเพศชายของชนเผาเทานั้นจึงจะสามารถขึ้นเปนผูนําได และบางคนยัง ถูกยกเวนอีกดวย มีเพียงสตรีที่อาวุโสที่สุดในชนเผาเดียวกันเทานั้นที่สามารถเลือกและถอดถอนหัวหนาชนเผาได ซึ่ง เปนการกีดกันประชากรจํานวนมาก รายละเอียดที่นาสนใจไดกลาววาการตัดสินใจแตละครั้งนั้นใชความคิดเห็นอัน เปนเอกฉันทของเหลาผูนํา มิใชการสนับสนุนของเสียงสวนใหญจากการลงคะแนนเสียงของสมาชิกชนเผา ในสังคมระดับกลุม อยางเชน บุชแมน ซึ่งมักจะประกอบดวยคนจํานวน 20-50 คนในแตละกลุม ไมคอยจะมี หัวหนาเทาใดหนักและทําการตัดสินใจตาง ๆ โดยอาศัยความเห็นชอบจากคนสวนใหญมากกวาในเมลานีเซีย แตเดิม ประชาคมหมูบานกสิกรรมมีความเทาเทียมกัน และมีการปกครองแบบเอกาธิปไตยที่แข็งกราวจํานวนนอย ถึงแมวา อาจมีคนใดคนหนึ่งที่มีอิทธิพลเหนือกวาผูอื่น ซึ่งอิทธิพลดังกลาวมีผลตอการแสดงทักษะความเปนผูนําอยางตอเนื่อง และความประสงคของประชาคม ทุกคนถูกคาดหวังที่จะแบงปนหนาที่ในประชาคม และใหสิทธิรวมการตัดสินใจของ ประชาคม อยางไรก็ตาม แรงกดดันอยางหนักของสังคมกระตุนใหเกิดความลงรอยกันและลดการตัดสินใจเพียงลําพัง คริสตศตวรรษที่ 18-19 แมวาจะไมมีคําจํากัดความของคําวาประชาธิปไตย แตวาเหลาผูกอตั้งสหรัฐอเมริกาไดกําหนด รากฐานของแนวปฏิบัติของอเมริกันเกี่ยวกับอิสรภาพตามธรรมชาติและความเทาเทียมรัฐธรรมนูญแหง สหรัฐอเมริกา ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตป ค.ศ. 1788 เปนตนมา ไดกําหนดใหมีรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง รวมไปถึง การปกปองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน แตในชวงแรก ไดครอบคลุมเฉพาะบางกลุมเทานั้น อยางไรก็ตาม ในยุคอาณานิคมกอนหนาป ค.ศ. 1776 และบางชวงเวลาหลังจากนั้น มีเพียงเหลาบุรุษเจาของ ที่ดินผิวขาวเทานั้นที่มีสิทธิ์เลือกตั้ง ในขณะที่ทาสผิวดํา อิสรชนผิวดําและสตรียังไมไดรับอนุญาตใหเลือกตั้ง ใน วิทยานิพนธเทอรเนอร ประชาธิปไตยไดกลายเปนวิถีชีวิต และความเทาเทียมทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองอยาง กวางขวาง อยางไรก็ตาม ทาสไดเปนสถาบันทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสิบเอ็ดรัฐทางใตของ สหรัฐอเมริกา ซึ่งองคกรจํานวนมากถูกกอตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนใหคนผิวดําจากสหรัฐอเมริกาไปยังสถานที่อื่นซึ่งพวก เขาจะไดรับอิสรภาพและความเทาเทียมที่เพิ่มขึ้น โดยในชวงคริสตทศวรรษ 1820-1830 สมาคมการอพยพ อเมริกัน ไดสงคนผิวดําจํานวนมากไปยังไลบีเรีย เมื่อถึงคริสตทศวรรษ 1840 การจํากัดทรัพยสินทั้งหมดก็ยุติลง และพลเมืองชายผิวขาวเกือบทุกคนก็สามารถ เลือกตั้งไดแลว ซึ่งโดยเฉลี่ยแลว มีผูใชสิทธิ์ไปเลือกตั้งระดับทองถิ่น ระดับรัฐ และระดับชาติอยูระหวาง 60-80% หลังจากนั้น ระบบการปกครองไดเปลี่ยนแปลงจากประชาธิปไตยแบบเจฟเฟอรสันเปนประชาธิปไตยแบบแจ็กสัน อยางชา ๆ เมื่อป ค.ศ. 1860 จํานวนทาสผิวดําในสหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นเปน 4 ลานคน และเมื่อปลายคริสตทศวรรษ 1860 ระหวางการสรางสหรัฐอเมริกาใหม ภายหลังสงครามกลางเมืองอเมริกัน ทาสชายที่ไดรับการปลดปลอยให
  • 4. 24 เปนอิสระก็กลายเปนพลเมืองและมีสิทธิในการเลือกตั้งตามกฎหมาย แตกวาที่พวกเขาจะไดรับการสิทธิอยางมั่นคงก็ ตองรอจนถึง ค.ศ. 1965 ในป ค.ศ. 1789 ภายหลังจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ไดมีการประกาศใชคําประกาศวาดวยสิทธิมนุษยชนและ สิทธิพลเมือง และถึงแมวาจะมีผลในเวลาอันสั้น แตการเลือกตั้งสมัชชาแหงชาติฝรั่งเศสของบุรุษทุกคน เมื่อป ค.ศ. 1792 ก็นับเปนกาวสําคัญในการพัฒนาประชาธิปไตย การใชสิทธิเลือกตั้งโดยคนทั้งชาติไดนําไปสูการกอ ตั้ง ฝรั่งเศส ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1848 ซึ่งเปนยุคตื่นตัวหลังจากการปฏิวัติฝรั่งเศสในป ค.ศ. 1848 ประชาธิปไตยเสรียังคงมีอายุสั้นในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 19 และหลายประเทศมักจะกลาวอางวาตนได ใหสิทธิการเลือกตั้งกับพลเมืองทั้งหมดแลว ในอาณานิคมออสเตรเลียไดเปลี่ยนเปนประชาธิปไตยเมื่อกลาง คริสตศตวรรษที่ 19 ในขณะที่ออสเตรเลียใตเปนรัฐบาลแหงแรกของโลกที่ใหสิทธิการเลือกตั้งโดยสตรีทั้งชาติในป ค.ศ. 1861 สวนในนิวซีแลนด ไดใหสิทธิการเลือกตั้งกับชาวมาวรีพื้นเมืองในป ค.ศ. 1867 ชายผิวขาวในป ค.ศ. 1876 และผูหญิงในป ค.ศ. 1893 ซึ่งนับเปนประเทศแรกที่ใหใหสิทธิการเลือกตั้งกับพลเมืองทั้งหมด แมวาสตรีจะยัง ไมไดรับอนุญาตใหสมัครรับเลือกตั้งไดจนกระทั่งป ค.ศ. 1919 ก็ตาม คริสตศตวรรษที่ 20 ในชวงคริสตศตวรรษที่ 20 ไดมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองเปนระบอบประชาธิปไตยที่เคารพสิทธิ ของเสียงขางนอยจํานวนมาก จนทําใหเกิด "กระแสประชาธิปไตย" ซึ่งประสบความสําเร็จในหลายพื้นที่ของโลก ซึ่ง มักเปนผลมาจากสงครามการปฏิวัติ การปลดปลอยอาณานิคม และสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและศาสนา ภายหลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และการลมสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและ จักรวรรดิออตโตมัน ทําใหเกิดรัฐชาติจํานวนมากในทวีปยุโรป ซึ่งสวนใหญมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในชวงคริสตทศวรรษ 1920 ระบอบประชาธิปไตยไดมีการเจริญขึ้น แตผลของภาวะเศรษฐกิจตกต่ําครั้งใหญ ไดทํา ใหความเจริญดังกลาวหยุดชะงักลง และประเทศในแถบยุโรป ละตินอเมริกา และเอเชีย ไดเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปสู การปกครองในระบอบเผด็จการมากขึ้น ทําใหเกิดเปนฟาสซิสตใน นาซี เยอรมนี อิตาลี สเปนและโปรตุเกส รวมไปถึงรัฐเผด็จการในแถบคาบสมุทรบอลติก คาบสมุทร บอล ขาน บราซิล คิวบา สาธารณรัฐจีนและญี่ปุน เปนตน ทวาภายหลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง ทําใหเกิดผลกระทบในดานตรงกันขามในทวีปยุโรป ตะวันตก ความสําเร็จในการสรางระบอบประชาธิปไตยในเขตยึดครองเยอรมนีของสหรัฐอเมริกา อังกฤษและ ฝรั่งเศส ออสเตรียอิตาลี และญี่ปุนสมัยยึดครอง ซึ่งไดเปนตนแบบของทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง อยางไรก็ตาม กลุมประเทศในยุโรปตะวันออก รวมไปถึงเขตยึดครองของโซเวียตในเยอรมนี ซึ่งถูกบังคับใหมี การเปลี่ยนแปลงไปสูการปกครองในระบอบคอมมิวนิสตตามคายตะวันออก หลังจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้ง ที่สองยังสงผลใหเกิดการปลดปลอยอาณานิคม และประเทศเอกราชใหมสวนใหญจะสนับสนุนใหมีการปกครองใน
  • 5. 25 ระบอบประชาธิปไตย และอินเดียไดกลายมาเปนประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีจํานวนประชากร มากที่สุดในโลก และดําเนินตอไปอยางไมหยุดยั้ง ในชวงหนึ่งทศวรรษภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ชาติตะวันตกที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยสวนใหญ ไดมีระบบเศรษฐกิจแบบผสม และดําเนินการตามรูปแบบรัฐสวัสดิการ สะทอนใหเห็นถึงความสอดคลองกันระหวาง ราษฎรกับพรรคการเมือง ในชวงคริสตทศวรรษ 1950 และ 1960 เศรษฐกิจทั้งในกลุมประเทศตะวันตกและกลุม ประเทศคอมมิวนิสต ในภายหลังเศรษฐกิจที่อยูภายใตการควบคุมของรัฐบาลไดลดลง เมื่อถึงป ค.ศ. 1960 รัฐชาติ สวนใหญไดมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ถึงแมวาประชากรสวนใหญ ของโลกจะยังคงมีการจัดการ เลือกตั้งแบบตบตา และการปกครองในรูปแบบอื่น ๆ อยู กระแสของการเปลี่ยนแปลงไปสูระบอบประชาธิปไตย นําไปสูความเจริญกาวหนาของรูปแบบประชาธิปไตย ที่เคารพสิทธิของเสียงขางนอยในหลายรัฐชาติ เริ่มจากสเปน โปรตุเกส ในป ค.ศ. 1974 รวมไปถึงอีกหลายประเทศ ในทวีปอเมริกาใต เมื่อถึงปลายคริสตทศวรรษ 1970 และตนคริสตทศวรรษ 1980 ซึ่งไดเปลี่ยนแปลงมาจากระบอบ เผด็จการทหาร มาเปนรัฐบาลพลเรือน ตามดวยประเทศในเอเชียตะวันออกและ เอเชียใต ระหวางชวงตนถึง กลางคริสตทศวรรษ 1980 และเนื่องจากความเสื่อมถอยทางเศรษฐกิจของสหภาพ โซเวียต รวมไปถึง ความขัดแยงภายใน ทําใหสหภาพโซเวียตลมสลาย และนําไปสูจุดสิ้นสุดของ สงครามเย็น ตามมาดวย การเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองภายในกลุมประเทศยุโรปตะวันออกในคายตะวันออกเดิม นอกเหนือจากนั้น กระแสของระบอบประชาธิปไตยไดแพรขยายไปถึงบางสวนของทวีปแอฟริกา ในชวง คริสตทศวรรษ 1990 โดยเฉพาะอยางยิ่งในแอฟริกาใต ความพยายามบางประการในการเปลี่ยนแปลงระบอบ การปกครองยังพบเห็นอยูในอินโดนีเซีย ยูโกสลาเวีย จอรเจีย ยูเครนเลบานอนและคีรกีซสถาน จนถึงปจจุบันนี้ ทั่วโลกไดมีประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยจํานวน 123 ประเทศ (ค.ศ. 2007) และกําลังมีจํานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งไดมีการคาดเดากันวา กระแสดังกลาวจะเกิดขึ้นตอไปในอนาคต ที่ซึ่ง ประชาธิปไตยที่เคารพสิทธิของเสียงขางนอยจะกลายเปนมาตรฐานสากลสําหรับสังคมมนุษยชาติ สมมุติฐานดังกลาว เปนหัวใจหลักของทฤษฎี "จุดสิ้นสุดของประวัติศาสตร" โดยฟรานซิส ฟุกุยะมะ ซึ่งทฤษฎีดังกลาวเปนการ วิพากษวิจารณบรรดาผูที่เกรงกลัววาจะมีวิวัฒนาการของประชาธิปไตยที่เคารพสิทธิของเสียงขางมากไปยัง ยุคหลัง ประชาธิปไตย และผูที่ชี้ใหเห็นถึงประชาธิปไตยเสรี เพลโตและอริสโตเติล สําหรับทั้งเพลโตและอริสโตเติลแลว นักปราชญทั้งสองนี้ไมเห็นดวยกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย เพลโตไดแสดงความเห็นถึงผูนําของรัฐในอุดมคติในหนังสืออุตมรัฐ วา "ผูนําของรัฐ ควรจะเปนผูนํากลุมนอยที่ทรง ภูมิความรูและเปยมดวยคุณธรรม อุทิศตนเองใหกับรัฐ เมื่อรัฐมีผูนําที่มีคุณภาพเชนนี้ รัฐนั้น ก็เจริญกาวหนา มี ระบบการบริหารที่ดี ประชาชนจะมีชีวิตที่เปนสุข"โดยเขาเห็นวานักปราชญและนักปกครองเปนผูนําที่ดี โดยถือวา
  • 6. 26 การปกครองแบบอภิชนาธิปไตยเปนรูปแบบการปกครองที่ดีที่สุด เนื่องจากเพลโตขมขื่นจากการตัดสินของกลุมคนที่ ใหประหารโสเครติส สวนทางดานอริสโตเติลไดเปรียบเทียบแบงรูปแบบการปกครองออกเปนสามรูปแบบ ไดแก การปกครองโดย บุคคลเพียงคนเดียว (สมบูรณาญาสิทธิราช/ทรราช) การปกครองโดยคณะบุคคลสวนนอย (อภิชนาธิปไตย/ คณาธิปไตย) และการปกครองโดยคนสวนใหญ (โพลิตี/ประชาธิปไตย) ซึ่งรูปแบบที่กลาวมานั้น อริสโตเติล ได จัดแบงรูปแบบการปกครองออกเปนรูปแบบที่ดีและเลวตามลําดับ และเขาไดพิจารณาวาระบอบประชาธิปไตยเปน การปกครองที่ไมดีเมื่อเทียบกับการปกครองโดยชนชั้นกลาง เขาเชื่อวารากฐานของระบอบประชาธิปไตยนั้นมาจากเสรีภาพ ซึ่งมีเพียงการปกครองแบบดังกลาวเทานั้นที่ พลเมืองสามารถแบงปนเสรีภาพรวมกันได ซึ่งเขาก็ไดโตแยงวานี่เปนวัตถุประสงคของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย โดยทิศทางหลักของเสรีภาพ ประกอบดวย ภาวะผูนําและภาวะผูตามที่ดี เนื่องจากทุกคนมีความเทา เทียมกัน โดยไมมีการเหลื่อมล้ําทางฐานะ ความสามารถ ชาติกําเนิด และสามารถอาศัยอยูรวมกันได "เดี๋ยวนี้หลักการมูลฐานพื้นฐานของรัฐธรรมนูญแบบประชาธิปไตย คือ เสรีภาพ นั่นคือ สิ่งที่ถูกยืนยัน ตามปกติ โดยบอกเปนนัยวา ภายใตรัฐธรรมนูญฉบับนี้เทานั้นที่มนุษยจะเปนสวนในเสรีภาพ เพราะพวกเขายืนยัน เสรีภาพนี้วาเปนเปาหมายของทุกประชาธิปไตย แตปจจัยหนึ่งของเสรีภาพ คือ การปกครองและการถูกปกครองใน ขณะเดียวกัน เพราะหลักความยุติธรรมที่ไดรับความนิยมคือ ความเทาเทียมกันตามจํานวน มิใชความมั่งมี และหาก นี่เปนหลักความยุติธรรมที่แพรหลาย มหาชนจําตองเปนผูมีอํานาจสูงสุดและการตัดสินใจของเสียงขางมากนั้นตอง เปนที่สุดและตองกอปรดวยความยุตธรรม เพราะพวกเขาวา พลเมืองแตละคนควรมีสวนแบงเทาเทียมกัน เพื่อที่มัน จะสงผลใหในประชาธิปไตย คนจนทรงอํานาจกวาคนรวย เพราะมีคนจนมากวาและอะไรก็ตามที่เสียงขางมากตัดสิน นั้นตองอยูสูงสุด จากนั้น นี่เปนเครื่องหมายหนึ่งของเสรีภาพซึ่งนักประชาธิปไตยตัดสินวาเปนหลักของรัฐธรรมนูญ หนึ่ง คือ ความเปนอิสระของมนุษยที่จะดําเนินชีวิตตามใจชอบ เพราะเขาวาเปนการทําหนาที่ของเสรีภาพ เพราะ การดําเนินชีวิตอยางที่มนุษยคนหนึ่งไมชอบนั้นเปนชีวิตของชายที่ตกเปนทาส นี่เปนหลักประชาธิปไตยขอสอง และ จากขอนี้ เนื่องจากมีการกลาวอางวาจะตองไมถูกปกครองโดยบุคคลใด ๆ ก็ตาม หรือการปกครองและถูกปกครอง ในเวลาเดียวกันนั้นไมเปนผล และนี่จะเปนวิถีที่หลักขอสองสนับสนุนเสรีภาพสมภาค" ทฤษฎีรูปแบบอื่น สําหรับนักทฤษฎีการเมืองแลว ไดมีการเสนอรูปแบบของประชาธิปไตยอีกเปนจํานวนมาก อันประกอบดวย ประชาธิปไตยแบบรวมกัน (Agregative Democracy) ซึ่งเปนกระบวนการประชาธิปไตยที่โอนเอียงเขาหา ขอเรียกรองของพลเมือง จากนั้นจึงนําขอเรียกรองดังกลาวเพื่อมาตัดสินรูปแบบนโยบายทางสังคมที่สมควรนําไป ปฏิบัติ ฝายผูไมเห็นดวยไดแสดงความคิดเห็นวา การมีสวนรวมในการปกครองรูปแบบประชาธิปไตยนั้นควรจะเนน
  • 7. 27 ไปยังการเลือกตั้งอันเปนสิทธิพื้นฐาน ซึ่งนโยบายที่มีผูสนับสนุนเปนจํานวนมากก็จะไดรับการนําไปปฏิบัติ ซึ่ง สามารถแบงออกไดเปนหลายรูปแบบ ตามแนวคิดจุลนิยมแลว ประชาธิปไตย คือ รูปแบบการปกครอง ซึ่งประชาชนไดมอบสิทธิในการใชอํานาจ ใหกับผูนําทางการเมืองตามระยะเวลาการเลือกตั้งคราวหนึ่ง ตามแนวคิดจุลนิยม ประชาชนไมสามารถและไมมีสิทธิ ในการปกครอง เนื่องจากความขัดแยงที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลาสวนใหญของมนุษยชาตินั้นไมมีวิสัยทัศนหรือถามีก็ เลว ซึ่งโจเซฟ ชุมเปเตอรไดเสนอมุมมองของเขาในหนังสือเรื่อง Capitalism, Socialism, and Democracy อัน โดงดังของเขา โดยมีผูสนับสนุน ไดแก วิลเลียม เอช. ไรเกอร อดัม ปรเซวอรสกี อีกฝายหนึ่ง แนวคิดประชาธิปไตยทางตรง ยึดมั่นในแนวคิดที่วาประชาชนควรมีสวนรวมในกระบวนการการ รางกฎหมายและนโยบายของรัฐอยางเต็มที่ โดยไมตองใชอํานาจผานผูแทนราษฎร ผูสนับสนุนประชาธิปไตย ทางตรงไดยกเหตุผลสนับสนุนระบอบดังกลาวอยูหลายขอ จากการดําเนินกิจกรรมทางการเมืองจะเปนประโยชนแก พลเมืองของรัฐ เนื่องจากจะนําไปสูการสรางชุมชนและการศึกษา การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน ยังจะ เปนการตรวจสอบการทํางานของรัฐบาล และเหตุผลที่สําคัญที่สุด พลเมืองมิไดปกครองตนเองนอกเหนือจากการ ตัดสินใจรางกฎหมายและรางนโยบายโดยตรงเทานั้น รัฐบาลมักออกกฎหมายและนโยบายซึ่งใกลเคียงกับแนวคิดสายกลาง ซึ่งแทจริงแลว ผลกระทบอัน พึงปรารถนาเมื่อแสดงใหเห็นถึงผลประโยชนสวนตนและการกระทําที่ปลอยปละละเลย เพื่อใหไดมาซึ่งคะแนนเสียง ของประชาชน ซึ่งแอนโทนี ดาวนสไดเสนอวาควรจะมีการจัดตั้งพรรคการเมืองในอุดมคติขึ้นเพื่อเปนสื่อกลาง ระหวางปจเจกบุคคลกับรัฐบาล โดยเขาไดแสดงแนวคิดของเขาในหนังสือ An Economic Theory of Democracy ใน ค.ศ. 1957 Dahl ไดโตแยงวาหลักการพื้นฐานของประชาธิปไตยนั้น เมื่อเปนการตัดสินใจรวมกันอยางผูกมัดแลว พลเมืองแตละคนในชุมชนก็สมควรจะไดรับประโยชนตามที่ตนไดกําหนดไวใหเปนการพิจารณาอยางเทาเทียมกัน จึง ไมจําเปนที่ประชากรทุกคนจะมีความพึงพอใจอยางเสมอกันในการตัดสินใจของสวนรวมนั้น เขาไดใชคําวา poliarchy เพื่อใชแทนสังคม ซึ่งมีรูปแบบขนบธรรมเนียมและการปฏิบัติ อันจะนําไปสูความเปนประชาธิปไตยที่ ถูกตอง แตสิ่งแรกที่จะตองมากอนขนบธรรมเนียมปฏิบัติเหลานี้ คือ การเลือกตั้งที่เสรีและยุติธรรม เพื่อเลือกผูแทน ซึ่งจะทําหนาที่บริหารนโยบายสวนรวมทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดของสังคม อยางไรก็ดี ระบบดังกลาวอาจมิไดสราง ใหเกิดรูปแบบประชาธิปไตยอันสมบูรณได เชน ความยากจนขัดสนซึ่งขัดขวางประชาธิปไตย และยังมีคนบางกลุมที่ มองเห็นถึงปญหาที่เหลาเศรษฐีกําลังมีอิทธิพลมากขึ้นเรื่อย ๆ และยังตอตานการรณรงคปฏิรูปเศรษฐกิจ บางคนวา การกําหนดนโยบายโดยใชเสียงสวนใหญนั้นเปนการปกครองที่ตรงกันขามกับการปกครองโดยประชาชนทั้งหมด โดย เหตุผลดังกลาวสามารถยกไปอางเพื่ออํานาจที่มีสวนรวมทางการเมือง เชน การบังคับเลือกตั้ง หรือสําหรับการ
  • 8. 28 กระทําที่อดทนกวานั้น โดยการอดทนขัดขวางอํานาจของรัฐบาล จนกระทั่งประชาชนสวนใหญสมัครใจจะพูดในสิ่งที่ ตนคิดออกมา - ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (deliberative democracy) ตั้งอยูบนแนวความคิดที่วาประชาธิปไตย เปนการปกครองโดยการอภิปราย ผูสนับสนุนยืนยันวากฎหมายและนโยบายควรจะตั้งอยูบนพื้นฐานของเหตุผลซึ่ง ประชาชนทุกคนสามารถรับได และในสนามการเมืองควรจะเปนสถานที่ซึ่งผูนําและพลเมืองสามารถถกเถียง รับ ฟง และเปลี่ยนแปลงความคิดเห็นของตนได - ประชาธิปไตยมูลฐาน (radical democracy) ตั้งอยูบนพื้นฐานของแนวความคิดที่วา มีการแบงชนชั้นและ การกดขี่เกิดขึ้นในสังคม บทบาทของประชาธิปไตยควรจะเปดเผยและทาทายตอความสัมพันธดังกลาว โดยการเปด โอกาสใหความแตกตางทางความคิดเพื่อนํามาใชประกอบในการตัดสินใจ สาธารณรัฐ ในอีกแงมุมหนึ่ง คําวา ประชาธิปไตย หมายถึง รัฐบาลที่ไดรับเลือกเขามาจากประชาชน โดยอาจเปน ประชาธิปไตยทางตรงหรือทางออมก็ไดสวนคําวา สาธารณรัฐ สามารถตีความไดหลายความหมาย แตในปจจุบันนี้ คําวา สาธารณรัฐ หมายถึง ประชาธิปไตยทางออมซึ่งสามารถเลือกตั้งประมุขแหงรัฐไดโดยตรง โดยมีระยะเวลา บริหารประเทศที่จํากัด ซึ่งตรงกันขามกับรัฐที่ปกครองโดยราชวงศซึ่งสืบทอดตําแหนงโดยสายเลือด แมวารัฐเหลานี้ จะมีสวนของประชาธิปไตยทางออม ซึ่งมีการเลือกหรือแตงตั้งหัวหนารัฐบาล คือ นายกรัฐมนตรี เหลาบิดาผูกอตั้งประเทศสหรัฐอเมริกา ไดใหการยกยองประชาธิปไตยนอยครั้ง แตวิพากษวิจารณ ประชาธิปไตยบอยครั้ง เนื่องจากแนวคิดประชาธิปไตยในสมัยนั้น หมายความถึง ประชาธิปไตยทางตรง เจมส เมดิสัน ไดโตแยง โดยเฉพาะอยางยิ่งใน สหพันธรัฐนิยมหมายเลข 10 วาสิ่งใดที่เปนความแตกตางระหวาง ประชาธิปไตยแตกตางจากสาธารณรัฐ นั่นคือ ประชาธิปไตยจะคอย ๆ ออนแอลงเมื่อมีพลเมืองมากขึ้น และจะไดรับ ความเสียหายเพิ่มขึ้นจากการแบงฝกฝาย ตรงกันขามกับสาธารณรัฐ ซึ่งจะแข็งแกรงขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อมีพลเมืองมากขึ้น และตอกรกับฝกฝายอื่น ๆ โดยใชโครงสรางสาธารณรัฐ ราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญและสภาสูง นับตั้งแตการปฏิวัติฝรั่งเศสและการปฏิวัติอเมริกาแลว คําถามตอมา คือ ประชาธิปไตยจะมีวิธีการอยางไรใน การควบคุมเสียงสวนใหญใหอยูในขอบเขต อันไดนําไปสูแนวคิดของสภาสูง โดยสมาชิกอาจเลือกสมาชิกสภาสูงเขา มาผูมีความรูความสามารถ หรือเปนขุนนางมาตลอดชีวิต หรือควรจะมีการจํากัดอํานาจของกษัตริยใหอยูภายใต รัฐธรรมนูญ ระบอบราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญในบางประเทศนั้น ไดมาจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองจาก สมบูรณาญาสิทธิราช มาเปนราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ หรือคอย ๆ เปลี่ยนแปลงฐานะทางการเมืองของกษัตริย ใหเหลือเพียงสัญลักษณหรือศูนยรวมจิตใจเทานั้น แตสวนใหญแลว สถาบันกษัตริยมักจะถูกลมลางลง พรอม ๆ กับ
  • 9. 29 เหลาชนชั้นสูง และบางประเทศซึ่งขุนนางชั้นสูงไดสูญเสียอํานาจลงไป หรืออาจเปลี่ยนแปลงไป ใชระบบการ เลือกตั้งแทน ระบอบการปกครองพื้นฐาน ระบอบการปกครอง (Form of government) หมายถึง สถาบันทางการเมืองซึ่งรัฐบาลของรัฐไดจัดตั้งขึ้น เพื่อใชอํานาจในการปกครองประเทศ คํานี้ยังนิยามรวมไปถึงรัฐบาลที่ไมประสบความสําเร็จในการใชอํานาจปกครอง ประเทศดวย ระบอบการปกครอง แบงตามโครงสรางอํานาจ รัฐเดี่ยว (unitary state) เปนรัฐซึ่งปกครองเปนหนวยเดี่ยว โดยรัฐบาลกลางอยูในระดับสูงสุด และเขตการ บริหารใด ๆ (ซึ่งเปนหนวยงานบริหารระดับยอยของรัฐ) สามารถใชอํานาจไดเฉพาะตามที่รัฐบาลกลางเลือกจะ มอบหมายใหทําการแทนเทานั้น รัฐจํานวนมากในโลกมีรูปแบบรัฐเปนรัฐเดี่ยวรัฐเดี่ยวตรงขามกับรัฐสหพันธ (หรือ สหพันธรัฐ) ในรัฐเดี่ยว รัฐบาลกลางอาจจัดตั้งหรือยุบหนวยงานบริหารระดับยอยของรัฐ และอํานาจของหนวยงาน เหลานี้อาจถูกขยายเพิ่มเติมหรือยอลงได แมอํานาจทางการเมืองในรัฐเดี่ยวอาจมีการมอบหมายใหทําการแทนผาน การมอบอํานาจปกครองสูรัฐบาลทองถิ่นโดยบทกฎหมาย หากรัฐบาลกลางยังอยูในระดับสูงสุด ซึ่งอาจยกเลิก นิติ กรรมของรัฐบาลที่ไดรับมอบอํานาจหรือตัดทอนอํานาจของรัฐบาลทองถิ่นก็ได สหราชอาณาจักรเปนตัวอยางหนึ่งของรัฐเดี่ยว สกอตแลนด เวลส และไอรแลนดเหนือ ซึ่ง รวมกับแควน อังกฤษ เปนสี่ประเทศอันประกอบขึ้นเปนสหราชอาณาจักร มีอํานาจที่ไดรับมอบซึ่งปกครองตนเองระดับหนึ่ง โดย ทั้งสกอตแลนด เวลสและไอรแลนดเหนือ ตางมีฝายบริหารและนิติบัญญัติของตนเอง แตอํานาจที่ไดรับมอบทั้งหมด ลวนแตเปนที่รัฐบาลกลางของอังกฤษมอบหมายใหทําการแทนทั้งสิ้น ยิ่งไปกวานั้น รัฐบาลที่ไดรับมอบอํานาจไมอาจ คัดคานการเห็นชอบตามรัฐธรรมนูญของพระราชบัญญัติที่รัฐสภาออก และอํานาจของรัฐบาลที่ไดรับมอบอํานาจนั้น รัฐบาลกลาง (หมายถึง รัฐสภาพรอมดวยรัฐบาลอันประกอบดวยคณะรัฐมนตรี ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเปนหัวหนา) สามารถเพิกถอนหรือลดยอลงได ตัวอยางเชน รัฐสภาไอรแลนดเหนือเคยถูกพักไว สี่ครั้ง โดยอํานาจไดถายโอนไป ยังสํานักไอรแลนดเหนือของรัฐบาลกลาง ยูเครนเปนอีกตัวอยางหนึ่งของรัฐเดี่ยว สาธารณรัฐไครเมียในประเทศมีระดับการปกครองตนเองและมี คณะรัฐมนตรีและสภานิติบัญญัติปกครอง ในตนคริสตทศวรรษ 1990 สาธารณรัฐดังกลาวยังไดมีตําแหนง ประธานาธิบดีซึ่งถูกยุบไปเพราะการโนมเอียงแบงแยกซึ่งเจตนาจะโอนไครเมียใหแกรัสเซีย ระบอบสหพันธรัฐ (Federalism) เปนแนวคิดการเมืองซึ่งกลุมสมาชิกผูกมัดเขาดวยกันโดยขอตกลงรวมกัน โดยมีหัวหนาที่เปนตัวแทนซึ่งมีสิทธิปกครอง คําวา "ระบอบสหพันธรัฐ" ยังใชอธิบายระบบของรัฐบาลซึ่งรัฐธรรมนูญ
  • 10. 30 ไดแบงแยกอํานาจอธิปไตยระหวางฝายปกครองสวนกลางกับหนวยการเมืองที่เปนองประกอบ (เชน รัฐหรือมณฑล) ระบอบสหพันธรัฐเปนระบบซึ่งตั้งอยูบนการปกครองแบบประชาธิปไตยและสถาบันซึ่งอํานาจในการปครองนั้นแบง ออกเปนของรัฐบาลแหงชาติและรัฐบาลระดับมณฑลหรือรัฐ กอใหเกิดเปนสิ่งที่มักเรียกวา สหพันธรัฐ ผูเสนอมักถูก เรียกวา ผูสนับสนุนสหพันธ (federalist) ในยุโรป "ผูสนับสนุนสหพันธ" บางใชอธิบายผูที่นิยมรัฐบาลสหพันธรวม โดยมีอํานาจกระจายสูระดับภูมิภาค ชาติและเหนือชาติ ผูสนับสนุนสหพันธยุโรปสวนมากตองการพัฒนาการนี้ใหดําเนินตอไปภายในสหภาพ ยุโรป ระบอบสหพันธรัฐยุโรปถือกําเนิดขึ้นในยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หนึ่งในการริเริ่มที่สําคัญกวา คือ สุนทรพจนของวินสตัน เชอรชิลลในซูริค เมื่อ ค.ศ. 1946 ระบอบสหพันธรัฐอาจรวมหนวยงานบริหารภายในนอยเพียงสองหรือสามหนวยเทานั้น ดังเชนในกรณีของ เบลเยียมหรือบอสเนียและเฮอรเซโกวีนา โดยทั่วไป ระบอบสหพันธรัฐสามารถจําแนกไดเปนสองขั้วที่สุดโตง ขั้วหนึ่ง รัฐสหพันธนั้นแทบจะเปนรัฐเดี่ยวอยางสมบูรณ ขณะที่อีกขั้วหนึ่ง รัฐสหพันธนั้นแตเพียงในนาม แตเปนสหภาพ สมาพันธในทางปฏิบัติ สมาพันธรัฐ (confederation) เปนศัพทการเมืองสมัยใหม หมายถึง การรวมกันของหนวยการเมืองเปนการ ถาวรเพื่อใหมีการเคลื่อนไหวรวมกันตามหนวยอื่นสมาพันธรัฐตามปกติกอตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญา แตภายหลังมักกอตั้ง ขึ้นจากการเห็นชอบรัฐธรรมนูญรวมกัน สมาพันธรัฐมีแนวโนมสถาปนาขึ้นเพื่อจัดการกับปญหารายแรง เชน การ ปองกัน การระหวางประเทศหรือสกุลเงินรวม โดยมีรัฐบาลกลางที่ถูกกําหนดใหจัดหาการสนับสนุนแกสมาชิก ทั้งหมด ธรรมชาติความสัมพันธระหวางรัฐซึ่งประกอบขึ้นเปนสมาพันธรัฐนั้นแตกตางกันมาก เชนเดียวกับ ความสัมพันธรหวางรัฐสมาชิก รัฐบาลกลางและการกระจายอํานาจใหรัฐตาง ๆ ก็มีแตกตางกันเชนกัน สมาพันธรัฐ อยางหลวมบางแหงคลายคลึงกับองคการระหวางรัฐบาล ขณะที่สมาพันธรัฐอยางเขมอาจเหมือนสหพันธรัฐ ระบอบการปกครอง แบงตามที่มาของอํานาจ อภิชนาธิปไตย (aristocracy) เปนระบอบการปกครองซึ่งมีพลเมืองอภิชนจํานวนนอยเปนผูปกครอง คําวา aristocracy มาจากภาษากรีก aristokratia หมายถึง "การปกครองโดยคนที่ดีที่สุด" (rule of the best) มีกําเนิด ในกรีซโบราณ อภิชนาธิปไตยเขาใจวาเปนการปกครองโดยพลเมืองเบื้องสูงจากมุมมองทางปญหาและศีลธรรม และ ขัดแยงกับราชาธิปไตย ในสมัยหลัง "ความดีเลิศ" โดยปกติมักถูกมองวาขึ้นอยูกับมุมมองสวนบุคคล และ อภิ ชนาธิปไตยโดยปกติมักถูกมองวาเปนการปกครองโดยคนกลุมนอยที่มีเอกสิทธิ์ (ชนชั้นสูง)จากประชาชน ราชาธิปไตย (monarchy) เปนรูปแบบการปกครองที่ตําแหนงประมุขแหงรัฐโดยปกติถืออยูกระทั่งสวรรคต หรือสละราชสมบัติ โดยมากมักไดอํานาจมาโดยการสืบราชสมบัติ และโดยปกติมักใหแกพระบรมวงศานุวงศแหง ราชวงศที่ปกครองอยูกอนอยางเปนทางการ พระมหาษัตริยมักมีฐานันดรศักดิ์เปนพระราชาหรือ พระราชินี
  • 11. 31 อยางไรก็ดี จักรพรรดิ/จักรพรรดินี, แกรนดดยุก/แกรนดดัชเชส, เจาชาย/เจาหญิง และคําอื่น ถูกใชเพื่อระบุ ตําแหนงพระมหากษัตริยดวย แมคําวา "monarch" จะมาจากคําวา "ผูปกครองคนเดียว" แตโดยประเพณี ประมุข แหงรัฐที่มีตําแหนงประธานาธิบดีหรือผูนํา (premier) ไมถูกพิจารณาวาเปนพระมหากษัตริยอยางเปนทางการ ลักษณะที่ทําใหระบอบราชาธิปไตยแตกตางจากระบอบสาธารณรัฐคือ พระมหากษัตริยทรงครองแผนดินเปนประมุข ตลอดพระชนมชีพ และสืบราชสันตติวงศใหกับรัชทายาทเมื่อพระองคเสด็จสวรรคต แมจะมีบางที่มีการเลือกตั้งผูสืบ ทอดตําแหนงพระมหากษัตริย สวนในสาธารณรัฐ ประมุขของรัฐ (ซึ่งมักเรียกวาประธานาธิบดี) โดยปกติแลวมีที่มา จากการเลือกตั้ง และทําหนาที่อยูในชวงในเวลาที่แนนอน เชน 4 ป 6 ป เปนตน ราชาธิปไตยเปนหนึ่งในระบอบการปกครองที่เกาแกที่สุด อาจถือกําเนิดขึ้นจากระบบการปกครองแบบ หัวหนาเผา (tribal kingship) หรือสมณเพศหลวง (royal priesthood) ในอดีต บางประเทศเชื่อวาพระมหากษัตริย ทรงไดเทวสิทธิ์ใหมาปกครองประเทศตามความปรารถนาของพระเจา หรือบางประเทศอาจเชื่อวาพระมหากษัตริย มาจากพระเจา ตําแหนงพระมหากษัตริยนี้มักจะสืบตกทอดแกลูกหลาน จึงสงผลใหเกิดราชวงศขึ้น พระมหากษัตริย ยังอาจมาจากพฤติการณรุนแรงของกลุมรุกรานตอชุมชนทองถิ่น ซึ่งแยงชิงสิทธิของชุมชนเหนือประเพณี ผูนําของ กลุมที่แยงชิงสิทธินั้นมักสถาปนาตนเปนพระมหากษัตริย สถานะพระมหากษัตริย กลาวกันวาเปนผลซึ่งเผยถึง ความสัมพันธระหวางทรัพยากร ชุมชน พระมหากษัตริยและตําแหนงของพระองค ราชาธิปไตยเคยเปนระบอบการปกครองที่แพรหลายที่สุดจนถึงคริสตศตวรรษที่ 19 แตปจจุบันมิได แพรหลายอีกตอไป อยางนอยก็ในระดับชาติ ประเทศซึ่งยังปกครองแบบราชาธิปไตยอยู ปจจุบันมักพบในรูปของ ราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ โดยพระมหากษัตริยทรงถือบทบาททางกฎหมายและพิธีกรรมเปนเอกลักษณ แตไม ทรงใชหรือใชอํานาจทางการเมืองอยางจํากัดตามรัฐธรรมนูญหรือประเพณีซึ่งจัดสรรรฝายปกครองที่อื่น พระมหากษัตริยทรงเปนศูนยรวมจิตใจ แตอํานาจอธิปไตยอยูที่ประชาชน (ปรมิตตาญาสิทธิราชย) พระมหากษัตริย หลายพระองคถูกสถาปนาขึ้นตามจารีตประเพณีหรือตามประมวลกฎหมายเพื่อไมใหมีอํานาจ ทางการเมืองอยาง แทจริง บางประเทศ พระมหากษัตริยอาจทรงมีอํานาจอยูบาง แตก็ถูกจํากัดไวดวยความเห็นชอบของประชาชนหรือ บรรทัดฐานของพระมหากษัตริยพระองคกอน ปจจุบันมี 44 รัฐอธิปไตยในโลกที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขแหงรัฐ โดย 16 รัฐเปนเครือจักรภพ แหงชาติ ซึ่งยอมรับวาสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แหงสหราชอาณาจักรเปนประมุขแหงรัฐของตน ประเทศ ราชาธิปไตยทุกประเทศในยุโรปเปนแบบภายใตรัฐธรรมนูญ ยกเวนนครรัฐวาติกัน แตพระมหากษัตริยในรัฐเล็ก ๆ มักมีอิทธิพลทางการเมืองมากกวาในรัฐใหญ ๆ พระมหาษัตริยกัมพูชา ญี่ปุน จอรแดน มาเลเซียและโมร็อกโก "ครองราชย แตไมปกครอง" แมจะมีความแตกตางกันบางในอํานาจที่พระมหากษัตริยในประเทศเหลานี้ทรงถือ แม พระมหากษัตริยจะทรงปกครองภายใตรัฐธรรมนูญ แตพระมหากษัตริยบรูไน โอมาน กาตาร ซาอุดิอาระเบียและ
  • 12. 32 สวาซิแลนดดูเหมือนวาจะทรงมีอิทธิพลทางการเมืองเหนือแหลงแหงอํานาจหนาที่แหลงหนึ่งแหลงใดในชาตินั้นตอไป ไมวาจะโดยอํานาจตามรัฐธรรมนูญหรือโดยประเพณี คณาธิปไตย (oligarchy) เปนรูปแบบโครงสรางอํานาจซึ่งอํานาจอยูกับกลุมบุคคลจํานวนนอยอยางชะงัด บุคคลเหลานี้อาจมีเชื้อเจา มั่งมี มีความสัมพันธทางครอบครัว หมูคณะหรือควบคุมทางทหาร รัฐเชนนี้มักถูกควบคุม โดยไมกี่ตระกูลที่มีชื่อเสียงซึ่งสงผานอิทธิพลของตระกูลจากรุนสูรุน ตลอดประวัติศาสตร คณาธิปไตยในบางประเทศ ไดเปนทรราช ตองอาศัยภาระจํายอมของสาธารณะจึงจะอยูได แมคณาธิปไตยในประเทศอื่นจะคอนขางผอน ปรน อริสโตเติลริเริ่มการใชคํานี้เปนคําไวพจนของการปกครองโดยคนรวย ซึ่งคําที่ถูกตอง คือ ธนาธิป ไตย (plutocracy) แตคณาธิปไตยไมจําเปนตองเปนการปกครองดวยความมั่งมีเสมอไป ดวยผูปกครองในระบอบ คณาธิปไตยเปนกลุมมีเอกสิทธิไดงาย ๆ และไมจําเปนตองเชื่อมโยงทางสายเลือดดังเชนใน ราชาธิป ไตย บางนครรัฐในสมัยกรีกโบราณปกครองแบบคณาธิปไตย ระบอบการปกครองจากรัฐธรรมนูญ ราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ(constitutional monarchy) เปนระบอบการปกครองอยางหนึ่ง โดยมี พระมหากษัตริยเปนประมุขแหงรัฐ ไมวาจะมาจากการสืบเชื้อสายพระราชบัลลังกหรือการเลือกตั้ง โดยมีพระราช อํานาจถูกจํากัดอยูภายใตรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริยไมทรงเปนประมุขของฝายบริหาร เพราะฝายบริหารมี นายกรัฐมนตรีจากประชาชนเปนหัวหนาหรือประมุขอยูแลว การปกครองแบบนี้เรียกอีกชื่อวา ปริมิตาญาสิทธิ ราชย (limited monarchy) ซึ่งไมเหมือนกับราชาธิปไตยโดยสมบูรณ ซึ่งพระมหากษัตริยมีพระราชอํานาจทาง การเมืองเบ็ดเสร็จและไมทรงอยูภายใตรัฐธรรมนูญ ปจจุบัน รัฐแบบราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญสวนใหญมักปกครองดวยระบบรัฐสภา อาทิ ออสเตรเลีย เบลเยียม กัมพูชา แคนาดา เดนมารก ญี่ปุน มาเลเซีย เนเธอรแลนด นิวซีแลนด นอรเวย สเปน สวีเดน ไทย สหราช อาณาจักร และภูฏาน โดยภูฏานเปนประเทศลาสุดที่เปลี่ยนแปลงจากสมบูรณาญาสิทธิราชมาเปนราชาธิปไตย ภายใตรัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตยเปนระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งบริหารอํานาจรัฐมาจากเสียงขางมากของพลเมือ ผูเปน เจาของอํานาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใชอํานาจของตนโดยตรงหรือผานผูแทนที่ตนเลือกไปใชอํานาจแทนก็ได ประชาธิปไตยยังเปนอุดมคติที่วาพลเมืองทุกคนในชาติรวมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และ กําหนดใหพลเมืองทุกคนมีโอกาสเทาเทียมกันในการแสดงความยินยอมและเจตนาของตน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณชวงศตวรรษที่ 5 กอนคริสตกาล โดยเฉพาะอยางยิ่ง ใน เอเธนสหลังการกอการกําเริบเมื่อ 508 ปกอนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกวา ประชาธิปไตยทางตรงซึ่ง พลเมืองเขาไปเกี่ยวของในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แตประชาธิปไตยในปจจุบันเปนประชาธิปไตยแบบมี
  • 13. 33 ผูแทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเปนผูแทนตนในรัฐสภาจากนั้น สมาชิกสภาจ เปนผูตัดสินใจดวยเสียงขางมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยูในระดับทองถิ่นหลายประเทศ เชน การเลือกตั้ง สมาชิกเทศบาล อยางไรก็ดี ในระดับชาติ ความเปนประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออก กฎหมายและการถอดถอนผูไดรับเลือกตั้ง แมในปจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไมมีนิยามที่ไดรับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แตความเสมอภาคและ อิสรภาพไดถูกระบุวาเปนคุณลักษณะสําคัญของประชาธิปไตยนับแตโบราณกาลหลักการดังกลาวถูกสะทอนออกมา ผานความเสมอภาคทางกฎหมายของพลเมืองทุกคน และมีสิทธิเขาถึงกระบวนการทางกฎหมายโดย เทาเทียม กัน ตัวอยางเชน ในประชาธิปไตยแบบมีผูแทน ทุกเสียงมีน้ําหนักเทากันทั้งสิ้น และไมมีการจํากัดอยางไรเหตุผลใช บังคับกับทุกคนที่ปรารถนาจะเปนผูแทน สวนอิสรภาพไดมาจากสิทธิและเสรีภาพตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่ง โดยทั่วไปไดรับการคุมครองโดยรัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตยถือกําเนิดขึ้นอยางเปนทางการในกรีซโบราณแตวิธีปฏิบัติแบบประชาธิปไตยปรากฏในสังคมอยู กอนแลว รวมทั้งเมโสโปเตเมีย ฟนีเซียและอินเดียวัฒนธรรมอื่นหลังกรีซไดมีสวนสําคัญตอวิวัฒนาการของ ประชาธิปไตย เชน โรมันโบราณ ยุโรปและอเมริกาเหนือและใต มโนทัศนประชาธิปไตยแบบมีผูแทนเกิดขึ้นสวนใหญ จากแนวคิดและสถาบันซึ่งไดถูกพัฒนาระหวางยุคกลางของยุโรปและยุคภูมิธรรมในการปฏิวัติอเมริกาและการปฏิวัติ ฝรั่งเศส ประชาธิปไตยไดถูกเรียกวา "ระบอบการปกครองสุดทาย" และไดแพรหลายอยางมากไปทั่วโลกสิทธิในการ ออกเสียงลงมติในหลายประเทศไดขยายวงกวางขึ้นเมื่อเวลาผานไปจากกลุมคอนขางแคบ (เชน ชายมั่งมีในกลุมชาติ พันธุหนึ่ง ๆ) โดยนิวซีแลนดเปนชาติแรกที่ใหสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปแกพลเมืองทุกคนใน ค.ศ. 1893 ประชาธิปไตยมักถูกเขาใจสับสนกับระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ ในบางนิยาม "สาธารณรัฐ" เปน ประชาธิปไตยรูปแบบหนึ่ง แตนิยามอื่นทําให "สาธารณรัฐ" เปนคําที่มีความหมายตางหาก ไมเกี่ยวของกันอยางไรก็ดี แมการดําเนินการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยแมจะไดรับความนิยมมากในปจจุบัน แตตองเผชิญกับปญหา หลายประการที่เกิดขึ้นในปจจุบัน อยางเชน ขอพิพาทเกี่ยวกับดินแดน การอพยพเขาเมือง และ การกีดกันกลุม ประชากรบางชาติพันธุเปนตน องคการสหประชาชาติไดประกาศกําหนดใหวันที่ 15 กันยายน ของทุกป เปนวันประชาธิปไตยสากล ประชาธิปไตยทางตรงหรือประชาธิปไตยบริสุทธิ์ เปนรูปแบบการปกครองซึ่งประชาชนออกเสียงในการริเริ่ม นโยบายตาง ๆ โดยตรง ซึ่งขัดกับประชาธิปไตยแบบมีผูแทนตรงที่ประชาชนออกเสียงเลือกผูแทนไปทําหนาที่ออก เสียงการริเริ่มนโยบายออกทอดหนึ่ง ประชาธิปไตยทางตรงอาจนํามาซึ่งการผานการตัดสินใจบริหาร, เสนอกฎหมาย , เลือกตั้งหรือถอดถอนเจาหนาที่และดําเนินการไตสวน ประชาธิปไตยทางตรงหลัก ๆ สองรูปแบบมีประชาธิปไตย แบบมีสวนรวมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ
  • 14. 34 หลายประเทศซึ่งปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผูแทนอนุญาตรูปแบบการปฏิบัติทางการเมืองสาม รูปแบบซึ่งใหประชาธิปไตยทางตรงอยางจํากัด ไดแก การลงประชามติ, การริเริ่มออกกฎหมาย และการถอดถอนผู ไดรับเลือกตั้ง การลงประชามติอาจรวมความสามารถที่จะจัดการออกเสียงมีผลผูกมัดวากฎหมายฉบับหนึ่ง ๆ ควร ถูกปฏิเสธหรือไม ดวยวิธีการนี้จึงเปนการใหสิทธิแกประชากรซึ่งจัดการออกเสียงเลือกตั้งวีโต กฎหมายซึ่งผูไดรับ เลือกตั้งลงมติยอมรับ ประเทศหนึ่งที่ใชระบบนี้คือ สวิตเซอรแลนดการริเริ่มออกกฎหมาย ซึ่งตามปกติแลวสมาชิก สาธารณะทั่วไปเปนผูเสนอ ผลักดันการพิจารณากฎหมาย (โดยปกติในการลงประชามติตามมา) โดย ปราศจากการปรึกษากับผูแทนที่ไดรับเลือกตั้ง หรือแมจะขัดกับการคัดคานที่แสดงออกของพวกเขา การ ถอดถอนผูไดรับเลือกตั้งใหอํานาจแกสาธารณะในการถอดถอนเจาหนาที่จากตําแหนงกอนสิ้นสุดวาระ แมกรณี นี้จะหายากมากในประชาธิปไตยสมัยใหม ผูเขียนซึ่งสนับสนุนอนาธิปไตยไดแยงวา ประชาธิปไตยทางตรงไมยอมรับ องคกรกลางที่เขมแข็ง เพราะอํานาจการตัดสินใจสามารถอยูไดระดับเดียวเทานั้น คือ อยูกับประชาชนหรือกับ องคกรกลาง ระบอบการปกครอง แบบมีผูแทน ประชาธิปไตยแบบมีผูแทน (Representative democracy) โดยทั่วไปมักเรียกวาเปนรูปแบบหนึ่งของ ระบอบประชาธิปไตยที่มีลักษณะตรงขามกับ หรือเปนประชาธิปไตยแบบทางตรงประชาธิปไตยแบบทางออม (Indirect Democracy) ประชาธิปไตยแบบมีผูแทนเปนระบอบการเมืองที่ใหประชาชนเลือกผูแทนของตนเขาไปบริหารและตัดสินใจ แทนตน เปนระบอบการปกครองที่ประชาชนมอบอํานาจอธิปไตยใหผูแทนที่เขาเลือกตั้งเขาไปตามกฎหมายวาดวย การเลือกตั้งของรัฐ เปนผูใชอํานาจดังกลาวแทน โดยมีระยะเวลาในการดํารงตําแหนงที่แนนอน เชน ตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 กําหนดวาระในการดํารงตําแหนง 4 ป สําหรับสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรและ 6 ป สําหรับสมาชิกวุฒิสภา ในประเทศประชาธิปไตยสวนใหญที่ไดยึดถือหลักการแบงแยกอํานาจอธิปไตยออกเปน 3 ฝายคือ 1. อํานาจนิติบัญญัติ 2. อํานาจบริหาร 3. อํานาจตุลาการ การเลือกตั้งผูแทนมักใชเพื่ออํานาจในสองประการแรก คืออํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร เชนตัวอยาง ประเทศไทย อยางไรก็ตาม ประชาธิปไตยแบบตัวแทนดังกลาวนี้ มีปญหาพื้นฐานพอที่จะกลาวถึงไดใน 2 ประการ ประกอบดวย