SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
CBTการพัฒนาศักยภาพทางการแข่ งขันของการท่ องเที่ ยวชุมชน
ในจังหวัดเชียงใหม่ และลาพูน ในการรองรั บการเข้ าสู่ ประชาคมอาเซียน
29 กรกฎาคม 2559
ดร.กรวรรณ สังขกร
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Tourists arrival in Thailand (1997 – 2015)
Nationalities Number %Share
1. China 7,934,791 26.55
2. Malaysia 3,423,397 11.46
3. Japan 1,381,690 4.62
4. Korea 1,372,995 4.59
5. Laos 1,233,138 4.13
6. India 1,069,149 3.58
7. United Kingdom 946,919 3.17
8. Singapore 937,311 3.14
9. Russia 884,085 2.96
10. USA 867,520 2.90
Grand Total 29,881,091 100.00
Top 10 International Arrivals from nationalities to Thailand in
2015
นักท่องเที่ยวไทย เที่ยวภาคเหนือ
2557 2558 %
ภาคเหนือ 17 จว. 19,715,759 21,494,788 + 9.02
เชียงใหม่ 6,928,155 7,425,772 + 7.18
ลาพูน 274,308 304,371 + 10.96
นักทัศนาจรไทย เที่ยวภาคเหนือ
2557 2558 %
ภาคเหนือ 17 จว. 22,965,683 25,310,681 + 10.21
เชียงใหม่ 6,064,177 6,451,283 + 6.38
ลาพูน 925,827 1,012,809 + 9.40
อ้างอิง: กรมการท่องเที่ยว, 2559
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
(COMMUNITY - BASED TOURISM)
คือการท่องเที่ยวที่คานึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
สังคม และวัฒนธรรม กาหนดทิศทางโดยชุมชน
จัดการโดยชุมชนเพื่อชุมชนและชุมชนมีบทบาทเป็นเจ้าของ
มีสิทธิในการจัดการดูแลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้แก่ผูู้มาเยือน
องค์ประกอบของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาติ
และวัฒนธรรม
องค์กรชุมชนการจัดการ
การเรียนรู้
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และวัฒนธรรม
•ชุมชนมีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์
•มีวิถีการผูลิตที่พึ่งพา
•ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
•ชุมชนมีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น
ทรัพยากรธ
รรมชาติ
และ
วัฒนธรรม
ด้านองค์กรชุมชน
• ชุมชนมีระบบสังคมที่เข้าใจกัน
• มีปราชญ์ หรือผูู้มีความรู้ และทักษะในเรื่องต่าง ๆ หลากหลาย
• ชุมชนรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา
องค์กร
ชุมชน
ด้านการจัดการ
•มีกฎ-กติกาในการจัดการสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
•มีองค์กรหรือกลไกในการทางานเพื่อจัดการการท่องเที่ยว และสามารถ
เชี่อมโยงการท่องเที่ยวกับการพัฒนาชุมชนโดยรวมได้
•มีการกระจายผูลประโยชน์ที่เป็นธรรม
•มีกองทุนที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน
การ
จัดการ
ด้านการเรียนรู้
• ลักษณะของกิจกรรมการท่องเที่ยวสามารถสร้างการรับรู้ และความเข้าใจ
ในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
•มีระบบจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างชาวบ้านกับผูู้มาเยือน
•สร้างจิตสานึกเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม ทั้งใน
ส่วนของชาวบ้านและผูู้มาเยือน
การ
เรียนรู้
กาเนิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
• ปี 2535 ช่วงที่โลกตื่นตัวเรื่องการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนและหาทางเลือกใหม่ของการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิง
นิเวศ (Ecotourism) เข้ามาเป็นกระแสใหม่และกระแสใหญ่ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย ในขณะที่การ
ท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community Based Tourism - CBT) เริ่มก่อตัวขึ้นเติบโตคู่ขนานไป
กับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ชื่อที่เรียกขานการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่ มีหลากหลายชื่อ อาทิ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การ
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวสีเขียว
• หลังวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 รัฐบาลไทยใช้การท่องเที่ยวเป็นตัวกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยประกาศให้ปี 2541-2542 เป็นปี
ส่งเสริมการท่องเที่ยวไทย (Amazing Thailand) ในปี 2544 มีโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผูลิตภัณฑ์
(One Tambon One Product -OTOP) หลังปี 2545 การท่องเที่ยวลงไปในชนบทหลากหลายรูปแบบ
ในปี 2547 มีการให้มาตรฐานโฮมสเตย์ ปัจจุบัน การท่องเที่ยวโดยชุมชนเริ่มเป็นที่ยอมรับว่าเป็นการท่องเที่ยวรูปแบบหนึ่ง
ซึ่งชุมชนเข้ามาบริหารจัดการการท่องเที่ยวด้วยตนเอง
CBT :
เครื่องมือในการพัฒนาชุมชน
CBT เป็นเครื่องมือสร้างความเข้มแข็งขององค์กรชาวบ้านในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และวัฒนธรรม โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการกาหนด
ทิศทางการพัฒนาและได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว
ในขณะเดียวกันในภาพรวมของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวโดยชุมชนได้เข้าไปมี
บทบาทในการสร้างคุณภาพใหม่ของการท่องเที่ยวให้มีความหมายมากกว่าการพักผู่อน ความ
สนุกสนาน และความบันเทิง หากได้เปิดมิติของการท่องเที่ยวเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเคารพ
คนในท้องถิ่น
หลักการของการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
1. ชุมชนเป็นเจ้าของ
2. ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางและตัดสินใจ
3. ส่งเสริมความภาคภูมิใจในตนเอง
4. ยกระดับคุณภาพชีวิต
5. มีความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม
6. คงเอกลักษณ์และวัฒนธรรมท้องถิ่น
7. ก่อให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างคนต่างวัฒนธรรม
8. เคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่างและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
9. เกิดผูลตอบแทนที่เป็นธรรมแก่คนท้องถิ่น
10. มีการกระจายรายได้สู่สาธารณประโยชน์ของชุมชน
รูปแบบการท่องเที่ยว CBT
1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นโปรแกรมการท่องเที่ยวปกติของชุมชน
2. ศึกษาดูงาน เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งมีทั้งการบรรยาย แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น เพื่อให้ผูู้มาศึกษาดูงานได้เข้าใจและนาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบท
หรือวัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน
3. จิตอาสา เป็นกิจกรรมเพิ่มเติมสาหรับอาสาสมัครที่ต้องการทากิจกรรมบาเพ็ญ
ประโยชน์ที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน
กระบวนการพัฒนา CBT
CBT เป็นผูลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวที่มีแนวคิดชัดเจน เป็นการท่องเที่ยวที่จัดการโดย
ชุมชน เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
จุดเด่น ของ CBT คือ แต่ละชุมชนจะมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น นักท่องเที่ยวจะได้
สัมผูัสกับความเป็นท้องถิ่นดั้งเดิม เป็นการท่องเที่ยวที่เห็นการมีส่วนร่วมของคนใน
ชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักท่องเที่ยวกับชาวบ้าน นักท่องเที่ยวสามารถ
เห็นความสัมพันธ์ระหว่างคนกับธรรมชาติ
กระบวนการพัฒนา CBT
การท่องเที่ยวที่ไปเยี่ยมชุมชนมีการนาเสนอจุดขายที่เหมือน ๆ กัน ทั้งที่พักและอาหาร
ท้องถิ่น กิจกรรมนาเที่ยวก็คล้าย ๆ กัน แต่สิ่งที่การท่องเที่ยวโดยชุมชนแตกต่างจากการท่องเที่ยว
รูปแบบอื่น คือ ระดับการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ความรู้สึกเป็นเจ้าของ และ
รูปธรรมที่จับต้องได้ว่าการท่องเที่ยวส่งผลประโยชน์ต่อชุมชนโดยภาพรวม
อย่างไร ทั้งเรื่องการพัฒนาชุมชนและดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นักท่องเที่ยวจะได้
สัมผูัสถึงการต้อนรับที่อบอุ่น มีอัธยาศัยไมตรี มีโอกาสพบปะกับคนที่หลากหลายในชุมชน โดยที่ทุก
คนรู้สึกว่าตนเองเป็นเจ้าบ้านพร้อมต้อนรับแขกผูู้มาเยือน ได้สัมผูัสความเป็นชุมชนในการดาเนินวิถี
ชีวิตที่เป็นปกติ
กระบวนการพัฒนา CBT
ความรู้สึกเป็นเจ้าของการท่องเที่ยวโดยชุมชน สร้างแรงจูงใจให้สมาชิกกลุ่ม
ท่องเที่ยว เข้ามาควบคุมผูลกระทบจากการท่องเที่ยว ผูู้มาเยือนสามารถรับรู้ถึงความ
ตั้งใจจริงนั้นได้จาก “กองทุนชุมชน” ที่ตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชน แม้ว่าสมาชิก
ในชุมชนอาจไม่ได้รับรายได้โดยตรงจากการท่องเที่ยว แต่ผูลการดาเนินกิจกรรมการ
ท่องเที่ยว ได้ตัดรายได้ส่วนหนึ่งเข้ากองทุนเพื่อให้ส่วนรวมได้ร่วมรับประโยชน์ รวมทั้งการ
มีกฎกติกาเพื่อให้นักท่องเที่ยวปฏิบัติตนที่เคารพคนท้องถิ่น และไม่ทาการใด ๆ ที่ผูิดจารีต
ประเพณีของชุมชน ขณะที่พักในหมู่บ้าน
Cr.: CBT-I สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน
สิ่งที่นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้จากการท่องเที่ยวCBT
ค้นหา สารวจความงามที่เรียบง่ายของหมู่บ้านในชนบท และมีส่วนร่วมในวิถีชีวิตของคนในชุมชน
เรียนรู้ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชนที่มีความหลากหลายแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น
แลกเปลี่ยน ด้วยความอ่อนน้อม เคารพในวัฒนธรรมที่แตกต่าง
พักอาศัย ในบ้านกับครอบครัวคนท้องถิ่น รับประทานอาหารพื้นบ้าน และแลกเปลี่ยนเรื่องราว ที่เปี่ยมไปด้วย รอยยิ้ม ความมี
ชีวิตชีวาและเสียงหัวเราะของสมาชิกในครอบครัว
เดินป่า กับคนท้องถิ่น ในเส้นทางที่สวยงามและมีความหมาย สอดแทรกเรื่องราวภูมิปัญญาท้องถิ่น ตานานพื้นบ้านจากอดีต
จวบจนปัจจุบัน
เก็บเกี่ยว ผูลไม้สด สมุนไพร และผูักจากสวนของครอบครัวคุณก่อนที่จะเรียนรู้สูตรอาหาร และมีส่วนร่วมในการทาอาหารกับ
คนท้องถิ่น
ดาน้า ดูความงามใต้ท้องทะเลสีคราม หรือใช้ชีวิตล่องเรือไปหาปลากับชาวประมงพื้นบ้าน
เลือก เรียนรู้และกิจกรรมได้ตามความสนใจ
ชุมชนบ้านแม่กาปอง
ม.3 ต.ห้วยแก้ว อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่
จุดเด่นด้านการท่องเที่ยวของชุมชน / สถานที่เด่น
1. น้าตก มีน้าตกหนึ่งแห่ง คือ น้าตกแม่กาปอง น้าตกใสสะอาด มีต้นเฟิร์น และตะไคร่
น้าขึ้นอยู่ทั่วไป ซึ่งมีความสูงลดหลั่นกันถึง 7 ชั้น
2. เส้นทางเดินป่าเลาะลาห้วย สัมผูัสธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และชมนก
หลายชนิด เส้นทางนี้ผู่านสวนเมี่ยง สวนกาแฟ และสวนป่าสมุนไพร
3. ดอยม่อนล้าน เป็นจุดที่สูงที่สุดของภูเขาใน อ.แม่ออน ซึ่งสามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์
ได้รอบทิศ มีสวนสนร่มรื่น สวนสมเด็จย่า จุดพักของหน่วย ปลูกป่าต้นน้าแม่ลายแม่ออน
บ้านรับรองและพื้นที่ว่างสาหรับตั้งแคมป์ ปิ้ง
4. ซากุระบาน สัมผูัสบรรยากาศและธรรมชาติฤดูหนาว และชมซากุระบานในเดือน
ธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
5. ดอกไม้ประจาถิ่น มี 2 ชนิด ให้ดอกสวยงาม บานนานประมาณ 2 เดือน ได้แก่ ดอก
เอื้องดิน และ ดอกเอื้องหงส์ทอง
6. วิถีชีวิตชุมชน ศึกษาวิถีชีวิตและวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของชุมชนบ้านแม่กาปอง
ชุมชนหัวทุ่ง
ต.เชียงดาว อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
วัฒนธรรมประเพณี
1. มีการทาบุญเลี้ยงผูีขุนน้า ในเดือนมิถุนายนของทุกปี
2. การแสดงพื้นเมืองของเด็กและเยาวชน
3. การเก็บของป่าในแต่ละเดือนไม่เหมือนกันตามฤดูกาล
กิจกรรมการท่องเที่ยวในชุมชน
1. ดูการจัดการดูแลการรักษาป่าชุมชน (ป่าต้นน้า)
2. วิถีชีวิตของชาวบ้านหัวทุ่ง
3. การปลูกป่าไม้ไผู่เศรษฐกิจเพื่อใช้ในการจักสานเป็น
อาชีพเสริม
4. การแสดงออกของเด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน
ชุมชนบ้านแม่กลางหลวง
ม.17 ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่
จุดเด่นด้านการท่องเที่ยวของชุมชน / สถานที่เด่น
1. นาขั้นบันได ชมการทานาขั้นบันไดเป็นการแสดงให้เห็นภูมิปัญญาของชาวบ้านในการ
ใช้พื้นที่และการจัดการน้า
2. ไร่กาแฟอินทรีย์ เป็นการทาไร่กาแฟแบบผูสมผูสานกับไม้ป่าอื่นๆเพื่อไม่ทาลายป่าและ
ไม่ใช้ยาฆ่าแมลง
3. บ่อเพาะพันธุ์ปลาเรนโบว์เท ดูแลบ่อปลาเรนโบว์เทร้าของโครงการหลวง ซึ่งตั้งอยู่ใน
พื้นที่บ้านแม่กลางหลวง
4. กุ้งนาข้าว เป็นกุ้งก้ามกรามที่ถูกเลี้ยงในนาข้าวแบบธรรมชาติที่แม่กลางหลวง
5. ดอยหัวเสือ จากจุดชมวิวดอยหัวเสือ จะมองเห็นวิวที่สวยงามและไกลจนถึงลาพูน
ตลอดเส้นทางได้สัมผูัสกับธรรมชาติ พันธุ์ไม้และสัตว์ป่า
6. น้าตกผูาดอกเสี้ยว เดินท่องป่าเข้าไปยังน้าตกผูาดอกเสี้ยว หรือน้าตก “รักจัง” เป็นแหล่งทรัพยากรที่มีค่า และยังคงความสมบูรณ์ของเป็นธรรมชาติ
7. พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านและศูนย์วัฒนธรรมปกาเกอะญอ รวบรวมศิลปวัตถุและเรื่องราวของชาวปกาเกอะญอลุ่มน้ากลาง อาทิ เครื่องจักสาน ผู้า
ทอ เครื่องมือเครื่องใช้โบราญของชนเผู่า เครื่องดนตรี รวมทั้งีการสาธิตการใช้ชีวิตตามแบบดั้งเดิม การทอผู้า การอื่อทา การละเล่น/แสดง และการ
เตรียมข้าวสาร เป็นต้น
TOURISM INSPIRE AWARD FOR BEST
COMMUNITY-BASED TOURISM
INITIATIVE IN ASIA PACIFIC
สถานการณ์การท่องเที่ยวชุมชน
จากการสารวจชุมชนในปี 2553 ของสถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน พบว่า มีชุมชนกว่า 150 แห่งที่มีการ
ดาเนินการเรื่องการท่องเที่ยว และมีแนวโน้มเติบโตขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งการพัฒนาศักยภาพและการเพิ่มขีด
ความสามารถของชุมชนให้มีมาตรฐานจะสามารถสร้างการยอมรับเรื่อง CBT แก่ผูู้ประกอบการด้านการ
ท่องเที่ยว รวมทั้งนักท่องเที่ยวอิสระ (Independent Traveller) ที่สามารถหาข้อมูลการ
ท่องเที่ยวและเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ได้ด้วยตนเองเกิดความมั่นใจในแหล่งท่องเที่ยวชุมชน
ในการสารวจสถานการณ์การท่องเที่ยวโดยชุมชนของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่า มีการ
ดาเนินการเรื่องการท่องเที่ยวโดยชุมชนอยู่ถึง 8 ประเทศ (ยกเว้น สิงคโปร์และบรูไน)
ปัจจัยสู่ความสาเร็จ
• การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทาง
เศรษฐกิจระดับอาเซียนและระดับโลก มีความ
จาเป็นอย่างยิ่งที่การท่องเที่ยวโดยชุมชนจะต้อง
สร้างการยอมรับในด้านคุณภาพและมีการเติบโต
ด้านการตลาดของการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่าง
ต่อเนื่อง
• ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิถีไทยคาดว่าจะได้รับ
ความนิยมจากนักท่องเที่ยวมากขึ้น เพราะ
สอดคล้องกับ Trend การท่องเที่ยวปัจจุบัน ที่
สนใจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการท่องเที่ยว
ชุมชน
•ในทางการตลาด การท่องเที่ยวโดย
ชุมชนยังขาดความสามารถในการ
แข่งขันและทาให้นักท่องเที่ยวเห็นว่ามี
คุณค่าและแตกต่างจากรูปแบบการ
ท่องเที่ยวทั่วไปอย่างไร
TOURISM SRI CMU
Tourism.sri.cmu@gmail.co
m

More Related Content

What's hot

7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติKorawan Sangkakorn
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุKorawan Sangkakorn
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาKorawan Sangkakorn
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9Nurat Puankhamma
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)Manisa Piuchan
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวamornsrivisan
 

What's hot (20)

7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติอนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
อนาคตภาคเหนือ สู่ศูนย์กลาง Long Stay ระดับนานาชาติ
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
Tourist Behavior
Tourist BehaviorTourist Behavior
Tourist Behavior
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุการท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
การท่องเที่ยวแบบ Slow Tourism สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
Lanna longstay
Lanna longstayLanna longstay
Lanna longstay
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เส้นทางอารยธรรมล้านนา
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
 
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
 

Viewers also liked

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ Korawan Sangkakorn
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนKorawan Sangkakorn
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayKorawan Sangkakorn
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotKorawan Sangkakorn
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กKorawan Sangkakorn
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่Korawan Sangkakorn
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiKorawan Sangkakorn
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนKorawan Sangkakorn
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ HomestayKorawan Sangkakorn
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green TourismKorawan Sangkakorn
 

Viewers also liked (19)

การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
การท่องเที่ยวเพื่อผู้สูงอายุ ลู่ทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการ
 
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหนผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
ผู้สูงอายุชอบท่องเที่ยวแบบไหน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stayการศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
การศึกษาโอกาส และศักยภาพการแข่งขันด้านธุรกิจ Long stay
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta ElliotPublishing Research by Dr.Marta Elliot
Publishing Research by Dr.Marta Elliot
 
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็กการพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาการท่องเที่ยวที่้แสวงประโยชน์ทางเพศจากเด็ก
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
LPB city plan
LPB city planLPB city plan
LPB city plan
 
CNX Tourism Situation
CNX Tourism SituationCNX Tourism Situation
CNX Tourism Situation
 
LPB Tourism Situation
LPB Tourism SituationLPB Tourism Situation
LPB Tourism Situation
 
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่การท่องเที่ยวตลาดใหม่
การท่องเที่ยวตลาดใหม่
 
Tourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPBTourism Behavior in LPB
Tourism Behavior in LPB
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
Chinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang maiChinese tourist behavior in chiang mai
Chinese tourist behavior in chiang mai
 
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชนการถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
การถอดบทเรียนจากการทำงานร่วมกับชุมชน
 
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestayความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
ความรู้พื้นฐาน มาตรฐานการจัดการ Homestay
 
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourismการจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
การจัดการท่องเที่ยวสีเขียว Green Tourism
 

Similar to CBT in Chiang Mai & Lamphoon

TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017Zabitan
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือnattatira
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...สถาบันราชบุรีศึกษา
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
TAT TOURISM JOURNAL 4/2013
TAT TOURISM JOURNAL 4/2013TAT TOURISM JOURNAL 4/2013
TAT TOURISM JOURNAL 4/2013Zabitan
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศSaran Yuwanna
 
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...Ramnarong Nilgumheang
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenriikiki96
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554Zabitan
 
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...Dr.Choen Krainara
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยKorawan Sangkakorn
 

Similar to CBT in Chiang Mai & Lamphoon (15)

TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017TAT Review Magazine 1/2017
TAT Review Magazine 1/2017
 
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทิศทางการตลาดท่องเที่ยวภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อการศึกษาศิลปวัฒนธรรมในอู่อารยธรรม ...
 
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
TAT TOURISM JOURNAL 4/2013
TAT TOURISM JOURNAL 4/2013TAT TOURISM JOURNAL 4/2013
TAT TOURISM JOURNAL 4/2013
 
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
4 การตลาดธุรกิจท่องเที่ยว
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศ
 
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
การรับรู้ทุนทางวัฒนธรรมของแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา ผ่านมุมมองของนัก...
 
Traveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaenTraveling In KhonKaen
Traveling In KhonKaen
 
eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554eTAT journal 2/2554
eTAT journal 2/2554
 
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
ภาพประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร Tourism Management in BIMP-EAGA, GMS and IMT-GT:E...
 
TAT The Journey
TAT The JourneyTAT The Journey
TAT The Journey
 
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
ยกระดับคุณภาพอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย
 

CBT in Chiang Mai & Lamphoon